\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา ดร.วิชิต ชี้เชิญ วันเดือนปีเกิด : วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๔๘๗ ภูมิลำเนา : ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม การศึกษา : ปริญญาตรี กศ.บ. สาขาพลศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ประถมาภรณ์ช้างเผือก ปี ๒๕๔๖ เกียรติคุณที่ได้รับการยกย่องจากหน่วยงานต่าง ๆ: ได้รับประกาศเกียรติคุณจากคุรุสภาว่า \"เป็นผู้อยู่ในมาตรฐานคุณธรรมและความรู้ ความสามารถในการประกอบ วิชาชีพครู\" ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้รับรางวัล “ครูผู้อุทิศตน และผู้อยู่ในมาตรฐานวิชาชีพ” พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับรางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น ของกรมพลศึกษา ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับรางวัล \"เข็มคุรุสดุดี\" ของคุรุสภา ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเกียรติบัตร จากกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ปฏิบัติงานด้านความอุตสาหะ ไม่ได้ลาป่วย ลากิจ และมาสาย ติดต่อกันเป็นเวลา ๓ ปี ในปี ๒๕๓๕ ได้รับยกย่องเป็นนัก “นันทนาการดีเด่นสายนโยบาย” ของสมาคมสุขศึกษา พลศึกษาและ สันทนาการแห่ง ประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้รับเกียรติบัตรจากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ประเทศอังกฤษ “ GRADUATE TO FELLOW CATEGORY OF THE SOCIETY OF MARTLAL ARTS MANCHESTER METROPLITAN UNIVERSITY 1998 ENGLAND ” ได้รับปริญญาศิลปกรรมศาสตร์ดุษฏีบัณฑิตกิติมศักดิ์ สาขามวยไทยศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับคัดเลือกจากสภาการศึกษาแห่งชาติให้เป็น“ครูภูมิปัญญาไทย” สาขา ศิลปกรรม (ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว) ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ผลงานด้านการต่อสู้ป้องกันตัว ผลงานด้านเอกสารวิชาการ : หนังสือ “ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่า” เขียนเอกสารการสอนของกรมการศึกษานอกโรงเรียนเรื่อง “ ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว” พ.ศ. ๒๕๓๘ หนังสือ “การฝึกกายบริหารชุดแม่ไม้มวยไทย สำหรับนักเรียนประถมศึกษา” หนังสือ “การฝึกกายบริหารชุดแม่ไม้มวยไทย” (ฉบับปรับปรุง ) หนังสือ “มวยไทยให้คุณ” พ.ศ. ๒๕๔๓ หนังสือ “แต่งไม้งามด้วยหนามคม” พ.ศ. ๒๕๔๔ เขียนบทความในวารสารวิชาการ “กระบี่กระบองมุมมองที่ไม่ล้าสมัย” “มวยไทย...ความภาคภูมิใจของคนไทย” “จริยธรรมกับการกีฬา” “ กีฬาพื้นเมืองไทยและมวยไทย” “กายบริหารชุดแม่ไม้มวยไทย” เขียนบทความในหนังสือพิมพ์บ้านเมือง คอลัมน์ สปอร์ตเดย์ และกีฬาเป็นยาวิเศษ ตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๓๙ ถึง กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ ดังนี้ “คนไทยได้อะไรจากกีฬาโอลิมปิก” , กระบี่กระบองกีฬาที่คนไทยควรรู้”, “พลศึกษาวิชาที่ถูกลืม”, “สมาธิกับกีฬา” “แม่ไม้มวยไทยท่ากายบริหาร” “ความเป็นมวยไทย ๑ - ๓ “ และ “อย่างไรที่จะเรียกว่าออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ” หนังสือ More Than Sport หน้า ๔๘
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา ดร.วิชิต ชี้เชิญ ผลงานด้านการจัดกิจกรรม : เป็นประธานโครงการและวิทยากรหลักโครงการฝึกอบรมครูผู้สอนวิชากระบี่กระบอง ของหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมพลศึกษา ได้รับเชิญเป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครูกระบี่กระบองของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสถาบันการพลศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ จนถึงปัจจุบัน ได้รับเชิญเป็นผู้กำกับและฝึกซ้อมการแสดงกิจกรรมศิลปะป้องกันตัวและการแสดงพื้น เมืองให้แก่โครงการชุมนุมเด็ก แห่งภูมิภาคเอเซียแปซิฟิค พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นประธานจัดการแข่งขันและตัดสินกระบี่กระบองนักเรียนกรมพลศึกษาและกีฬาวิทยาลัยพลศึกษาแห่ง ประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นประธานคณะกรรมการฝ่ายการแสดงด้านศิลปวัฒนธรรมในหมู่บ้านนักกีฬา งานเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ ๘ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ เป็นประธานโครงการและเป็นวิทยากรหลักในโครงการ “การฝึกอบรมมวยไทยและกระบี่กระบองนานาชาติ” พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๘ เป็นผู้ริเริ่มจัดโครงการอบรมครูกีฬาภูมิปัญญาไทยและเป็นวิทยากรหลักให้แก่หน่วยงาน ต่าง ๆ เช่น โรงเรียนในสังกัด กรุงเทพมหานคร โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันการพลศึกษา ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ จนถึงปัจจุบัน ผลงานด้านการเป็นวิทยากร : วิทยากรให้การอบรมครูผู้สอนวิชากระบี่กระบองในสถาบันการศึกษาต่างๆ และเผยแพร่ ในต่างประเทศแถบยุโรป วิทยากร“กีฬาพื้นเมืองและกายบริหารชุดแม่ไม้มวยไทย”ในการอบรมครูอาสาสมัครสอน ภาษาไทยและวัฒนธรรม ไทยในต่างประเทศของ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๕๔ วิทยากรในการผลิตสื่อโทรทัศน์ของกรมการศึกษานอกโรงเรียนกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การสอนกระบี่กระบอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรการบริหารกายในหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานคณะ กรรมการข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๕๓ ริเริ่มการบริหารกายโดยใช้ท่าแม่ไม้มวยไทย เป็นวิทยากรหลักในการอบรมมวยไทยและกระบี่กระบองให้แก่ครูตำรวจตระเวนชายแดนทั่วประเทศ หน้า ๔๙
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา ดร.วิชิต ชี้เชิญ ผลงานอื่น ๆ : ได้รับเชิญเป็นอนุกรรมการเฉพาะกิจผลิตรายการโทรทัศน์อาเซียนเรื่อง “กีฬาที่เป็นศิลปะ วัฒนธรรม” เป็นที่ปรึกษาร่วมและผู้ทรงคุณวุฒิตรวจเครื่องมือวิจัยและกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ระดับดุษฏีบัณฑิตและ มหาบัณฑิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ทำวิทยานิพนธ์ทางด้านศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ได้รับเชิญเป็นวิทยากรกิจกรรมบริหารกายและบริหารจิต ในการอบรมผู้บริหารชั้นต้นของกรมพลศึกษา รุ่นที่ ๑ - ๓ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจหนังสืออ่านประกอบกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (รับผิดชอบวิชา พลศึกษา) พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นประธานหลักสูตรประกาศนียบัตรมวยไทย ของมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ปีการศึกษา ๒๕๔๗ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษประจำชมรมการต่อสู้ป้องกันตัวของโรงเรียนรุ่งอรุณ ปีการศึกษา ๒๕๔๗ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษประจำสถาบันอาศรมศิลป์และ หัวหน้าศูนย์สุขภาพวิถีไทยสถาบันอาศรม ศิลป์ พ.ศ. ๒๕๔๘ – ปัจจุบัน อุปนายกสมาคมกีฬาไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในแผนส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้า ๕๐
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา ดร.วิชิต ชี้เชิญ หน้า ๕๑
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต วันเดือนปีเกิด : วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๔๘๗ การศึกษา : พ.ศ. ๒๕๑๐ ครุศาสตรบัณฑิต (พลศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๑๕ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (พลศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๖ Ph.D. (Measurement & Research Design) (Major Area: Measurement and Research Design, Interested area: Sports Psychology) Oregon State University, USA. พ.ศ. ๒๕๔๔ Cert., National Course Director in Sport Administration Program International Olympic Committee (IOC) พ.ศ. ๒๕๔๘ Cert., International Sessions for Director of National Olympic Committee International Olympic Academy (IOA) พ.ศ. ๒๕๕๕ Cert., International Program for Director in Advanced Sport Management Course International Olympic Committee (IOC) and Olympic Solidarity (OS) พ.ศ. ๒๕๕๘ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการกีฬา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) พ.ศ.๒๕๔๕ ตำแหน่งปัจจุบัน : ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา รองประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสตรีกับกีฬา คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยฯ ผู้อำนวยการสถาบันวิทยากรโอลิมปิคไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยฯ ที่ปรึกษากรรมาธิการกีฬา วุฒิสภา คณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงาน มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารการกีฬาแห่งประเทศไทย (ก.ก.ม.ท.) นายกสมาคมสตรีกับกีฬาแห่งประเทศไทย นายกสมาคมจิตวิทยาการกีฬาแห่งประเทศไทย ที่ปรึกษาสมาคมจิตวิทยาการกีฬาประยุกต์ ที่ปรึกษาสมาคมสุขศึกษา พลศึกษา และนันทนาการแห่งประเทศไทย ที่ปรึกษาสมาคมวิทยาศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย หน้า ๕๒
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต ตำแหน่งปัจจุบัน (ต่อ) : Executive Member, Asian Society of Physical Education and Sport Asian Women and Sport Working Group (AWG) Vice President, Asian Association of Sport Management (AASM) Executive Member, Asiania South Pacific Association of Sport Psychology(ASPASP) Executive Member; Olympic Council of Asia (OCA) Women and Sport Committee Chairman, ASEAN Women and Sport Commission, OCA Women and Sport Committee Executive Board; Asian Council of Exercise and Sport Science and Sport Science: ACESS Member of Women and Sport Commission, The Association of National Olympic Committees (ANOC) ประวัติการทำงานราชการ: พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๒ อาจารย์ภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๑๒ อาจารย์ภาควิชาพลศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๓ - ๒๕๑๙ เลขานุการภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๒๘ รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๐ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๒ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๓๔ หัวหน้าภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๔๓ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๑ ผู้ริเริ่มและประธานคณะกรรมการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา ภาคพิเศษ วิทยาเขตสุพรรณบุรี โดยร่วมมือกับ วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ผู้ริเริ่มและประธานคณะกรรมการจัดทำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาเขตกระบี่ โดยร่วมมือกับวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดกระบี่ โดยเน้นการผลิตนักวิทยาศาสตร์การกีฬาที่มีความเชี่ยวชาญด้านกีฬาทางน้ำและการท่องเที่ยว ทางทะเลในแถบอันดามัน พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๗ รักษาการรองอธิการบดีวิทยาเขตกระบี่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๘ ประธานเครือข่ายสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา/เวชศาสตร์การกีฬาในการพัฒนากำลังคนสาขา ขาดแคลน สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ผู้ริเริ่มและเตรียมการในการจัดตั้งและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้รับอนุมัติให้จัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๘ หน้า ๕๓
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต ประวัติการทำงานราชการ (ต่อ): พ.ศ. ๒๕๔๗ ประธานคณะกรรมการจัดทำหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๘ รักษาการคณบดีคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๙ - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณบดี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๙ ประธานคณะกรรมการดำเนินงานโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา (ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ปัจจุบัน ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการทำงานด้านการกีฬาในระดับชาติและนานาชาติ : เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาวิชาการ ด้านการกีฬาในระดับชาติและนานาชาติ โดยมีผลงานที่สำคัญ อาทิ คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนากีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ ฉบับที่ ๒ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๔๙) และฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ประธานคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ คณะกรรมการบริหารกีฬา มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ก.ก.ม.ท.) (พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๔ และ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓) Executive Member, Asian Society of Physical Education and Sport: ASPES (พ.ศ. ๒๕๔๓ – ปัจจุบัน) Executive Member; Olympic Council of Asia: OCA, Women and Sport Commission (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ปัจจุบัน) Executive Member, Asiania South Pacific Association of Sport Psychology : ASPASP (พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๕) Vice President, Asian Association of Sport Management (AASM) (พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๕) ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสตรีกับกีฬา คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ. ๒๕๔๔ – ปัจจุบัน) และได้รับการเลือกตั้งให้เป็นคณะกรรมาธิการฝ่ายสตรีกับกีฬา ของสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Women and Sport Commission, Olympic Council of Asia: OCA) ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ – ปัจจุบัน และต่อมาก็ได้รับการแต่งตั้ง จากคณะกรรมาธิการฝ่ายสตรีกับกีฬา สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย ให้ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสตรีกับกีฬา ของอาเซียน (ASEAN Women and Sport Commission, OCA) ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๘ Executive Board; Asian Council of Exercise and Sport Science and Sport Science: ACESS (พ.ศ. ๒๕๔๘ – ปัจจุบัน) นักวิชาการ คณะกรรมาธิการการกีฬา วุฒิสภา (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๕๗) คณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๐) หัวหน้า และรองหัวหน้านักกีฬาทีมชาติไทย ในการแข่งขัน SEA Games, Asian Games และ Olympic Games (พ.ศ. ๒๕๔๖ – ปัจจุบัน) กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันการพลศึกษา (พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๓) ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการประทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (ฯพณฯ สุวิทย์ ยอดมณี) ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา (พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๑) ได้รับการเลือกตั้งให้เป็นคณะกรรมการบริหารของสมาคมจิตวิทยาการกีฬาแห่งเอเชียแปซิฟิกตอนใต้ (Asiania South Pacific Association of Sports Psychology : ASPASP) ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ – ปัจจุบัน ได้รับการเลือกตั้งให้เป็นอุปนายกสมาคมในคณะกรรมการบริหารของ Asia Council of Exercise Science and Sport Science: ACESS ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๖ หน้า ๕๔
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต ประวัติการทำงานด้านการกีฬาในระดับชาติและนานาชาติ (ต่อ) : ได้รับการเลือกตั้งให้เป็นคณะกรรมการบริหารของ Asia Society of Physical Education and Sport: ASPES ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๓ – ปัจจุบัน ได้รับการเลือกตั้งเป็นอุปนายกสมาคมการจัดการการกีฬาแห่งเอเชีย (Asia Association of Sport Management: AASM) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๕๒ และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของสมาคม ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปัจจุบัน ได้รับการเลือกตั้งเป็นคณะกรรมการสตรีกับกีฬาแห่งเอเชีย (Asian Women and Sport Working Group: AWG) ซึ่งอยู่ภายใต้องค์กรสตรีกับกีฬานานาชาติ (International Women and Sport Working Group: IWG) ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๔ – ปัจจุบัน และได้รับรางวัล IOC Women and Sport Trophy จาก IOC Women and Sport Commission ได้รับการเลือกตั้งให้เป็นคณะกรรมาธิการฝ่ายการศึกษา ในสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยนานาชาติ (Commission for the Studies of University Sport, International University Sport Federation: FISU/CESU) ในระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๘ นับเป็นสตรีคนแรกของประเทศไทย และเป็นคนที่ ๒ จากทวีปเอเชีย คณะอนุกรรมการการศึกษาโครงสร้างพื้นฐานกรุงเทพมหานคร เพื่อการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิค ณ กรุงเทพมหานคร ปี ๒๐๐๘ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมาธิการฝ่ายสตรีกับกีฬา ของสหพันธ์คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (Women and Sport Commission, The Association of the National Olympic Committees: ANOC) ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปัจจุบัน คณะกรรมการบรรณาธิการ จัดทำ Text Book เรื่อง International Encyclopedia of Women and Sports ของ Macmillan Reference. U.S.A. (พ.ศ.๒๕๔๔) และมีบทความตีพิมพ์ในหนังสือเล่มนี้เรื่อง “Women and Sports in Thailand” ผู้แทนจากประเทศไทยในการเข้าประชุม Fourth International Conference of Ministers and Senior officials Responsibility for Physical Education and Sport (MINEPS IV) ในหัวข้อ “Women and Sport” ของ UNESCO ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีช (๖ – ๘ ธันวาคม ๒๕๔๗) ผู้แทนจากประเทศไทยเข้าร่วมประชุม The 3rd Asian Conference on Women and Sport และเป็นผู้บรรยาย พิเศษในหัวข้อเรื่อง “The Importance of Leadership, Training and Promotion of Women’s Competence Program in Sports” ณ เมือง Sanaa ประเทศ Yemen (๑๐ – ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๘) คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณาอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการใช้สารกระตุ้นในนักกีฬาของยูเนสโก (พ.ศ. ๒๕๔๗) คณะกรรมการฝ่ายวิชาการในคณะกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยโลก (Member of the Committee for the Study of University Sport: CESU, International University Sports Federation (FISU) (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๘) ประธานคณะกรรมการจัดทำรายงานการแข่งขัน กีฬาเอเชี่ยนมาเชี่ยลอาร์ท ครั้งที่ ๑ (1st Asian Martial Art Games Official Report) ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (พ.ศ. ๒๕๕๒) คณะทำงานการกีฬาและนันทนาการ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗) คณะกรรมกรรมาธิการฝ่ายสตรีกับกีฬา (Member of Women and Sport Commission) ของ The Association of National Olympic Committees (ANOC) (พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๗) หน้า ๕๕
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต ประวัติการทำงานด้านการกีฬาในระดับชาติและนานาชาติ (ต่อ) : ประธานคณะทำงานศึกษาและนำเสนอผลการศึกษาต่อคณะรัฐมนตรี เรื่อง“การพัฒนานันทนาการ ของประเทศไทย” คณะทำงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฝ่ายกีฬาและนันทนาการ (พ.ศ. ๒๕๕๔) ประธานคณะทำงานศึกษาและนำเสนอผลการศึกษาต่อคณะรัฐมนตรี เรื่อง “ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม ของจังหวัดเจ้าภาพกีฬาระดับชาติ” คณะทำงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฝ่ายกีฬาและ นันทนาการ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ประธานคณะทำงานศึกษาและนำเสนอผลการศึกษาต่อคณะรัฐมนตรี เรื่อง “การจัดตั้งมหาวิทยาลัยกีฬาแห่งชาติ” คณะทำงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฝ่ายกีฬาและนันทนาการ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ประธานคณะทำงานและนำเสนอโครงการ “อุตสาหกรรมกีฬากับการสร้างมูลค่าเพิ่มสำหรับประเทศไทย” สภาที่ปรึกษา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติต่อไป (พ.ศ. ๒๕๕๖) ประธานคณะทำงาน โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา แผนงานวิจัย และแผนพัฒนาศักยภาพนักกีฬา ทีมชาติไทย สู่ ริโอ เดอจาเนโร โอลิมปิกเกมส์ ๒๐๑๖ ของการกีฬาแห่งประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๕๖) ประธานคณะทำงานในโครงการ “จัดทำแนวทางในการปฏิรูปการกีฬาของประเทศไทย” กระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา (พ.ศ. ๒๕๕๗) ประธานคณะทำงานในโครงการ “ศึกษาขีดความสามารถของไทยเพื่อส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการกีฬาของภูมิภาค อาเซียน” กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (พ.ศ. ๒๕๕๗) ผู้แทนของ South East Asia Women and Sport Society ใน OCA Women and Sport Commission ได้จัดทำ South East Asia Women and Sport Survey และได้นำเสนอในการประชุม Afro – Asia Women and Sport Seminar ณ ประเทศคูเวต (พ.ศ. ๒๕๕๖) หัวหน้าคณะทำงานในการศึกษา วัด และปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย สำหรับเด็กไทย ระดับอายุ ๔ – ๑๘ ปี ประชาชนไทย อายุ ๑๙ - ๕๙ ปี และผู้สูงอายุ อายุ ๖๐ - ๘๙ ปี ของสำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรม พลศึกษา (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๖) ประธานคณะทำงาน จัดทำตัวชี้วัดสมรรถภาพทางกายของประชาชนอาเซียน (ASEAN Physical Fitness Indicators (APFI) โดยมีผู้แทนจากประเทศสมาชิกอาเซียนเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน (พ.ศ. ๒๕๖๑) คณะกรรมการจัดทำเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเยาวชนและประชาชนไทย อายุ ๗ - ๗๔ ปี ของกรมพลศึกษา โดยใช้รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายของอาเซียน (The ASEAN Physical Fitness Indicators) (พ.ศ. ๒๕๖๔) หน้า ๕๖
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต ประวัติการทำงานด้านการกีฬาในระดับชาติและนานาชาติ (ต่อ) : ทำหน้าที่เป็นประธาน รองประธาน กรรมการและ เลขานุการ ในการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติของหน่วยงานต่างๆ จำนวนมาก อาทิ การจัดอบรมหลักสูตรการเป็นผู้ฝึกกีฬา โดยคณะกรรมการฝ่ายวิชาการและวิจัยของสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย ร่วมกับ United State Sport Academy: USSA ประเทศสหรัฐอเมริกา และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๓๕ การประชุมวิชาการ 18th SEA Games Scientific Congress เรื่อง “Theories to Practice” ณ จังหวัดเชียงใหม่ ในโอกาสของการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ ๑๘ ณ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๓๘ การประชุมวิชาการ 13th Asian Games Scientific Congress เรื่อง “Modern Way of Sports” ในโอกาสของ การแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ ๑๓ ณ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๓๔ การประชุมวิชาการในหลักสูตร Sport Administration Course ในโครงการของคณะกรรมการโอลิมปิคแห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ Olympic Solidarity โดยดำเนินการโครงการนี้มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๓ การประชุม World University President Summit ในหัวข้อเรื่อง “Reflections on Diversity and Harmonization” และการประชุม 3rd FISU Rectors Forum 2006 ณ กรุงเทพมหานคร ในโครงการของสหพันธ์กีฬา มหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๔๙) การประชุมวิชาการ International Conference on Sport and Education 2005 ณ กรุงเทพมหานคร จัดโดย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศ ในโครงการขององค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) (พ.ศ. ๒๕๔๙) การประชุมวิชาการ “Universiade Bangkok 2007 FISU Conference” ในหัวข้อเรื่อง “University Sport: Sport Creates Man… Man Develops Nationhoods” จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการ ในโครงการของสหพันธ์กีฬา มหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) จัดขึ้นในโอกาสของการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อนครั้งที่ ๒๔ ณ กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๕๐) การประชุมวิชาการ Joint Congress 2007 SEA Games & ASEAN Para Games Scientific Congress and 5th ASPASP International Congress on Sport Psychology ในหัวข้อเรื่อง “From West to East: Bridge in Sport Sciences for Better Performance and Well-Being” ณ กรุงเทพมหานคร จัดโดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (พ.ศ. ๒๕๕๑) การประชุมวิชาการ “2009 Winter Universiade Sport Science Conference” โครงการของสหพันธ์กีฬา มหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับ Harbin Engineering University ในโอกาสของการแข่งขันกีฬา มหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว ครั้งที่ ๒๔ ณ เมืองฮาบิน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (พ.ศ. ๒๕๕๒) การประชุมวิชาการ 1st International Conference on Sports and Exercise Science ในหัวข้อเรื่อง “Sport and Healthy Lifestyle during Global Crisis” ณ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการประชุมวิชาการระดับ นานาชาติด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาประจำปีของประเทศไทย โดยมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่มีคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ผลัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพหลัก (พ.ศ. ๒๕๕๒) หน้า ๕๗
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต ประวัติการทำงานด้านการกีฬาในระดับชาติและนานาชาติ (ต่อ) : การประชุมวิชาการ FISU Conference 2009 ในหัวข้อเรื่อง “The Role of University Sports in Education and Society- A Platform for Change” ในโครงการของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับ Faculty of Sport and Physical Education, University of Belgrade จัดขึ้น ณ เมืองเบลเกรด ประเทศเซอร์เบีย จัดขึ้นในโอกาสของการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อนครั้งที่ ๒๕ (พ.ศ. ๒๕๕๒) การประชุมวิชาการ 9th FISU Forum 2009 ในหัวข้อเรื่อง “University Sport: Root, Strength and Challenges” ในโครงการของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับ Ministry of Sport and Tourism of the Republic of Poland ณ เมือง Krakow ประเทศโปแลนด์ (พ.ศ. ๒๕๕๒) การประชุมวิชาการ 10th FISU Forum 2010 ในหัวข้อเรื่อง “University Sport: A Platform for Change” ในโครงการของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับ City of Vigo ณ เมือง Vigo ประเทศสเปน (พ.ศ. ๒๕๕๓) การประชุมวิชาการ FISU Conference Shenzhen 2011 ในหัวข้อเรื่อง “From culture of the “How” to Culture of the “Why”- The Future Starts Here” ในโครงการของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับ Shenzhen University จัดขึ้นในโอกาสของการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ครั้งที่ ๒๖ ณ เมือง Shenzhen ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (พ.ศ. ๒๕๕๔) การฝึกอบรมในหลักสูตร “Advance Sport Management Course” ณ กรุงเทพมหานคร ในโครงการของสถาบัน วิทยาการโอลิมปิคไทย ร่วมกับ Olympic Solidarity ปัจจุบันได้ดำเนินการมาแล้วจำนวน ๗ รุ่น (พ.ศ. ๒๕๕๔) การประชุมวิชาการ 11th FISU Forum 2012 ในหัวข้อเรื่อง “University Sport – A Platform for Sustainable Development” ในโครงการของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับ Chinese Taipei University Sports Federation (CTUSF) ณ เมือง Taipei ประเทศไต้หวัน (พ.ศ. ๒๕๕๕) การจัด “Sport Sponsorship Workshop 2012: Managing Sport Sponsor for ASEAN Economic Community 2015” ในโครงการของคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสมาคมการจัดการกีฬา แห่งประเทศไทย ณ กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๕๕) การประชุมวิชาการ FISU Conference 2013 ในหัวข้อเรื่อง “University and Olympic Sport: Two Models-One Goal” ในโครงการของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับ Kazan City จัดขึ้นในโอกาส ของการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ครั้งที่ ๒๗ ณ เมืองคาซาน ประเทศรัสเซีย (พ.ศ. ๒๕๕๕) การประชุมวิชาการ FISU Conference Gwangju 2015 ในหัวข้อเรื่อง “The Impact of University Sports on the Global Community” ในโครงการของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ (FISU) ร่วมกับเมืองกวางจู จัดขึ้นในโอกาสของการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ครั้งที่ ๒๘ ณ เมืองกวางจู ประเทศเกาหลีใต้ (พ.ศ. ๒๕๕๗) หน้า ๕๘
\"รางวัลพระพลบดี\" ผู้ทำคุณประโยชน์ด้านการพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สาขาการเรียนการสอนพลศึกษาและการกีฬา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหิโต รางวัลเกียรติยศที่ได้รับ: Honor Society: The Honor Society of Education: Phi Kappa Phi (รางวัลสำหรับผู้มีผลการเรียนเป็นที่ ๑ ของรุ่น) จาก Oregon State University, U.S.A. ค.ศ. ๑๙๘๔ รางวัล “นักบริหารพลศึกษาดีเด่น” จากสมาคมสุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๓๕ รางวัล “ครุศาสตร์-ปราชญ์จุฬา” จากสมาคมนิสิตเก่า คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ รางวัลเกียติยศ “เสมาคุณูปการ” จากกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๕ รางวัล“The Women and Sport Achievement Award” จาก The International Olympic Committee (IOC) พ.ศ. ๒๕๔๕ รางวัล “Golden Beaver Award” จากสมาคม Oregon State University Thai Alumni Association พ.ศ. ๒๕๔๘ “โล่ศิษย์เก่าดีเด่น” จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๐ “ผู้บริหารทางการกีฬาดีเด่น” จากสถาบันการพลศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ “นักวิชาการดีเด่น” จากการกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ รางวัล “ผลงานวิจัยดีเด่น” เรื่อง “การสร้างแบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับ สุขภาพ สำหรับเด็กไทยอายุ ๗ - ๑๘ ปี” จากคณะกรรมการจัดประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกำแพงแสน พ.ศ. ๒๕๕๐ “บุคลากรดีเด่น” จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ “Public Good” จาก Council of Graduate School ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๕๑ “ผู้ทรงคุณค่าในวงการกีฬา” จากสมาคมผู้สื่อข่าวกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๕ รับพระราชทานโล่รางวัลรางวัล “วิริยะเมธีกิตติคุณ” ของมูลนิธิ ดร.สุขภุคยาภรณ์ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๙ หน้า ๕๙
รางวัลเชิดชูเกียรติ ผู้ประสบความสำเร็จในวิชาชีพพลศึกษา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" ผู้ประสบความสำเร็จในวิชาชีพพลศึกษา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ดร.ชาญวิทย์ ผลชีวิน วันเดือนปีเกิด : วันที่ ๒ สิงหาคม ๒๔๙๘ ภูมิลำเนา : จังหวัดชลบุรี ครอบครัว : สมรสกับ นางสุชาภา ผลชีวิน มีบุตร - บุตรสาว จำนวน ๔ คน ได้แก่ ๑. นางสาวอมลกานต์ ผลชีวิน ๒. นางสาวอุรุรัตน์ ผลชีวิน ๓. นายท่าน ผลชีวิน ๔. เด็กหญิงเวลา ผลชีวิน การศึกษา : มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประกาศนียบัตรชั้นต้น วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา ประกาศนียบัตรชั้นสูง วิทยาลัยพลศึกษาชลบุรี การศึกษาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะพลศึกษา มหาบัณฑิต พลศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดุษฎีบัณฑิต รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม การทำงานและดำรงตำแหน่ง : ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาบุคลากรการพลศึกษาและการกีฬา กรมพลศึกษา ผู้อำนวยการสำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา รองอธิบดีกรมพลศึกษา ผู้ตรวจราชการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โฆษกกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (๕ ธ.ค. ๒๕๒๘) ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (๕ ธ.ค. ๒๕๓๐) ตริตาภรณ์ช้างเผือก (๕ ธ.ค. ๒๕๓๔) ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (๕ ธ.ค. ๒๕๔๑) ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (๕ ธ.ค. ๒๕๔๕) เหรียญจักรพรรดิมาลา (๕ ธ.ค. ๒๕๔๙) ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (๕ ธ.ค. ๒๕๕๓) ประถมาภรณ์ช้างเผือก (๕ ธ.ค. ๒๕๕๖) มหาวชิรมงกุฎ (๕ ธ.ค. ๒๕๕๘) มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (๒๘ ก.ค. ๒๕๖๓) หน้า ๖๑
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" ผู้ประสบความสำเร็จในวิชาชีพพลศึกษา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ดร.ชาญวิทย์ ผลชีวิน ผลงานด้านการพลศึกษาและการกีฬา : ด้านการเป็นนักกีฬาฟุตบอล พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๔ นักฟุตบอล ทีมโรงเรียนศรีราชา พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๑๘ นักฟุตบอล ทีมวิทยาลัยพลศึกษาชลบุรี และ วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๕๐ นักฟุตบอลทีมชาติไทย ชนะเลิศ F.A. Cup ถ้วย ก. สโมสรกีฬาราชประชามหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๑๙ นักฟุตบอล ทีมชาติไทยชุดบี ผลงานด้านการพลศึกษาและการกีฬา : ด้านการเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล พ.ศ. ๒๕๑๕ - ปัจจุบัน หัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมนักเรียนไทย อายุไม่เกิน ๑๘ ปี กรมพลศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๖ - ๒๕๒๘ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ชนะเลิศเหรียญทอง ฟุตบอลซีเกมส์ ครั้งที่ ๑๒ - ๑๓ พ.ศ. ๒๕๓๑ พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๖ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล กรมพลศึกษา ชนะเลิศฟุตบอลนักเรียนชิงแชมป์เอเชีย ฯลฯ พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๔๓ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอลทีมธนาคารกสิกรไทย พ.ศ. ๒๕๓๓ พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ศ. ๒๕๔๓ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล ชนะเลิศฟุตบอลถ้วยพระราชทานประเภท ก. สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๓๗ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล สหพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ชนะเลิศสโมสรเอเชีย พ.ศ. ๒๕๓๗ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล สหพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ชนะเลิศฟุตบอลระหว่าง ๒ ทวีปเอเชีย-แอฟริกา-แอฟโร่เอเชี่ยน คัพ พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๓๙ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ชนะเลิศถ้วยพระราชทานควีนส์คัพ พ.ศ. ๒๕๓๗ รางวัลโค้ชยอดเยี่ยมคนแรกของเอเชีย (AFC) สหพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) พ.ศ. ๒๕๓๘ รางวัลโค้ชยอดเยี่ยมของสมาคม ผู้สื่อข่าวแห่งประเทศไทย สมาคมผู้สื่อข่าวแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๓๙ รางวัลโค้ชยอดเยี่ยมของการกีฬาแห่งประเทศไทย การกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการ ด้านเทคนิคของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) สามารถนำหลักสูตร ผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอลนานาชาติมาอบรมในประเทศไทยได้ พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๓ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์กรรมาธิการการกีฬา สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ ครอบครัวอื่น ๆ ครอบครัวประชาธิปไตยตัวอย่าง จากสำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๒ หัวหน้าผู้ฝึกสอนชุดประวัติศาสตร์ฟุตบอลโลกอายุไม่เกิน ๑๖ ปี (เยาวชนโลก) สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ เผยแพร่การเล่นฟุตบอลที่ถูกต้องถูกวิธี รายการเสาอากาศทองคำ (รายการสอนฟุตบอลทาง TV) คณะกรรมการสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทย หน้า ๖๒
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" ผู้ประสบความสำเร็จในวิชาชีพพลศึกษา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ดร.ชาญวิทย์ ผลชีวิน ผลงานด้านการพลศึกษาและการกีฬา : ด้านการเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล (ต่อ) พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นแบบอย่างที่ดีในการให้ความสำคัญกับเยาวชน รางวัลส่งเสริมกีฬาเยาวชนดีเด่นวันเยาวชนแห่งชาติ สำนักงานส่งเสริมเยาวชน พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๔๘ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เหรียญทองซีเกมส์ ที่ประเทศฟิลิปปินส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ชนะเลิศถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ พ.ศ. ๒๕๔๙ ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยมของสมาคมผู้สื่อข่าวกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการยกร่าง พ.ร.บ. การกีฬา แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอล สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ชนะเลิศซีเกมส์ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ หัวหน้าวิทยากรสหพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ประจำประเทศไทย ส่งเสริมและพัฒนา หลักสูตรผู้ฝึกสอน ฟุตบอลนานาชาติ นำมาใช้กับประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยมเอเชีย สหพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ชนะเลิศฟุตบอลนักเรียนอายุ ๑๘ ปี เอเชีย ครั้งที่ ๓๘ ณ เมืองม็อคโป ประเทศเกาหลีใต้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ประธานฝ่ายพัฒนาเทคนิคสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ชนะเลิศซีเกมส์ ๓ ครั้ง ประสบการณ์หลังเกษียณราชการ : สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ที่ปรึกษาด้านนโยบายการกีฬา สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ สมาชิกวุฒิสภา หน้า ๖๓
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" ผู้ประสบความสำเร็จในวิชาชีพพลศึกษา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นายอรพงค์ จินทรักษา วันเดือนปีเกิด : วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๐๒ สถานที่ติดต่อ : บริษัท เอส.เจ สกรูไทยจำกัด ๑๑๘ หมู่ ๘ ต.ท่าเสา อ.กระทุ่มแบน จ. สมุทรสาคร ๗๔๑๑๐ การศึกษา : ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชา กศบ. (คณะพลศึกษา) การทำงานและการดำรงตำแหน่ง : CEO บริษัท เอส.เจ สกรูไทย จํากัด ประวัติการทำงานด้านการกีฬา : นักกีฬาเทนนิส มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วุฒิบัตร รางวัลเกียรติยศ โล่ และประกาศนียบัตรที่ได้รับ : ผู้จัดการทีมเทนนิสกีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน ครั้งที่ ๒๐ พ.ศ. ๒๕๖๕ หน้า ๖๔
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" ผู้ประสบความสำเร็จในวิชาชีพพลศึกษา ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นายโสภณ เสือพันธ์ วันเดือนปีเกิด : วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๔๙๓ ภูมิลำเนา : ตำบลอ่าวลึกใต้ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ การศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จบการศึกษาที่โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จบการศึกษาที่โรงเรียนผดุงศิษย์พิทยา ระดับปริญญาตรี จบการศึกษาที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (พลศึกษา) (การศึกษาบัณฑิต พลศึกษา) ระดับปริญญาโท จบการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต พัฒนาสังคม) ประวัติการประกอบอาชีพในอดีต อาจารย์ประจำโรงเรียนการช่างอินทราชัย และอาจารย์สอนวิชาพลศึกษาที่วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้ลาออกจากราชการเพื่อลงสมัครสมาชิก ผู้แทนราษฎรได้รับ ชนะเลือกตั้ง ส.ส. จังหวัดกระบี่ เขต ๒ วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๙ และไม่ได้กลับไปรับราชการอีกเลย ผู้ชำนาญการประจำกรรมาธิการการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เขียนตำราเรียนวิชาความปลอดภัย วิชาพลศึกษาและสุขศึกษาเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนและจำหน่ายใน สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประวัติการประกอบอาชีพในปัจจุบัน เป็นผู้บริหารของบริษัท เอมพันธ์กรุ๊ป จำกัด ซึ่งประกอบไปด้วย บริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด ผู้ผลิตตำราเรียนและสื่อการเรียนการสอนตาม หลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการทุกระดับชั้น เช่น ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บริษัท เอมพันธ์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด เป็นผู้จำหน่ายหนังสือเรียนในระดับอาชีวศึกษา บริษัท เอมพันธ์ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด เป็นผู้จำหน่ายหนังสือเรียนในระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา บริษัท เอมพันธ์มีเดีย จำกัด เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล เช่น Image Processing หุ่นยนต์ โดรน และอื่น ๆ บริษัท เอมพันธ์สปอร์ต จำกัด เป็นสนามกีฬาแบบครบวงจรเพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนให้คนมาออกกำลังกาย ซึ่งประกอบไปด้วย สนามฟุตบอล สนาม ฟุตบอลคนตาบอด ลู่วิ่ง สนามแบดมินตัน สระว่ายน้ำ ฟิตเนส และอื่น ๆ ซึ่งจะดำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ บริษัท เอมพันธ์ การ์เด้นท์ จำกัด เป็นตลาดต้นไม้ พรรณไม้นานาชนิด เพื่อส่ง เสริมให้บุคคล ทั่วไปได้มาเช่า สถานที่เพื่อประอาชีพทางด้านการเกษตร อาทิเช่น พรรณไม้ต่าง ๆ อุปกรณ์ทางการเกษตร และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งจะดำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ หน้า ๖๕
รางวัลเชิดชูเกียรติ นักกีฬานักเรียนยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" นักกีฬานักเรียนยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นายภูริพล บุญสอน วันเดือนปีเกิด : วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙ ครอบครัว : บิดา นายสมควร บุญสอน มารดา : นางสาวสุภาวดี มรรคผล การศึกษา : ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๔ โรงเรียนเซนต์ราฟาเอล ปัจจุบันศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔ แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ เอก วิศวกรรมศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ สมุทรปราการ ประวัติและรางวัลด้านกีฬา : พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒ เหรียญทองกรีฑาเครือ ๘๐,๑๐๐ เมตรรุ่นอายุ ๑๐ ปี ชาย ๒ เหรียญทองกรีฑาสมุทรปราการ ๘๐,๑๐๐ เมตรรุ่นอายุ ๑๐ ปี ชาย ๕ เหรียญทอง ๑ เหรียญเงิน กรีฑากรมพลศึกษา ๖๐,๘๐,๑๐๐,๒๐๐,๘x๕๐,๔x๑๐๐ เมตร รุ่นอายุ ๑๐ ปี ชาย พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒ เหรียญทอง ชิงแชมป์จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๐,๒๐๐ เมตรรุ่นอายุ ๑๒ ปี ชาย พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒ เหรียญทอง วิ่ง ๑๐๐ เมตร ๑๑.๙๙ วินาที และวิ่ง ๒๐๐ เมตร ๒๔.๘๕ วินาที รุ่นอายุ ๑๒ ปี การแข่งขันกรีฑา Sport Hero แห่งชาติ ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๒ ชนะเลิศอันดับที่ ๑ กีฬากรมพลศึกษา ประเภทกรีฑา วิ่งผลัด ๔x๑๐๐ เมตร วิ่งผลัดผสมชาย และวิ่ง ๑๐๐ เมตร รุ่นอายุไม่เกิน ๑๔ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ชนะเลิศอันดับที่ ๑ กีฬากรมพลศึกษา ประเภทกรีฑา วิ่ง ๑๐๐ เมตร ๑๐.๖๓ วินาที และวิ่งผลัด ๔x๑๐๐ เมตร รุ่นอายุไม่เกิน ๑๖ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ชนะเลิศอันดับที่ ๑ วิ่ง ๑๐๐ เมตร เวลา ๑๐.๒๔ วินาที และ ๒๐๐ เมตร ๒๐.๗๐ วินาที จากการแข่งกรีฑา ชิงแชมป์มุ่งสู่เอเซี่ยน ๒๕๖๕ รองชนะเลิษอันดับที่ ๓ วิ่ง ๑๐๐ เมตร ๑๐.๘๐ วินาทีกรีฑาชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย เพื่อเก็บคะแนน Qualirly แข่งขันโอลิมปิก ประจำาปี ๒๕๖๔ ชนะเลิศอันดับที่ ๑ วิ่ง ๒๐๐ เมตร ๒๑.๘๗ วินาทร และ วิ่ง ๑๐๐ เมตร ๑๐.๔๔ วินาที จากการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ ๔๗ รอบคัดเลือกตัวแทนภาค ๑ หน้า ๖๗
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" นักกีฬานักเรียนยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นายภูริพล บุญสอน ประวัติและรางวัลด้านกีฬา (ต่อ) : พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒ เหรียญทองการแข่งขันวิ่ง ๑๐๐ เมตรเวลา ๑๐.๑๙ วินาที และ ๒๐๐ เมตร เวลา ๒๐.๕๘ วินาที ทำลายสถิติประเทศไทย ในรอบ ๒๔ ปี จากการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ ๔๗ “ศรีสะเกษเกมส์์” นักกีฬายอดเยี่ยม ประเภทลู่ จากการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ ๔๗ “ศรีสะเกษเกมส์์” ๒๕๖๕ ๓ เหรียญทอง การแข่งวิ่ง จากแข่งขัน วิ่ง ๑๐๐ เมตร ๑๐.๔๔ วินาที วิ่ง ๒๐๐ เมตร. ๒๐.๓๗ วินาทีและ ๔x๑๐๐ เมตร ๓๘.๕๙ วินาที จากการแข่งขันมหกรรมกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ ๓๑ ณ กรุงฮานอย เวียดนาม อันดับ ๔ การแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลก วิ่ง ๑๐๐ เมตรชาย รุ่นอายุไม่กิน ๒๐ ปีที่เมืองคาลี ประเทศ โคลอมเบีย สถิติเวลา ๑๐.๑๒ วินาที ๒ เหรียญทอง การแข่งขันวิ่ง ๑๐๐ เมตร และ ๒๐๐ เมตร ซึ่งในการแข่งขัน ๑๐๐ เมตร ได้ ทำลายสถิติ ในรอบ ๗ ปีของนักวิ่งชาว ฮ่องกงที่ทำาไว้ ๑๐.๔๘ วินาทีด้วยเวลา ๑๐.๓๓ วินาที ในรายการ Asian Youth Athletics ระหว่างวันที่ ๑๓ - ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ ณ ประเทศ คูเวต ๑ เหรียญเงิน กาารแข่งขันวิ่งผลัดผสม ๓๐๐ เมตร รายการ Asian Youth Athletics ระหว่างวันที่ ๑๓ - ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ ณ ประเทศ คูเวต สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (IAAF) ได้ประกาศยืนยันว่าสถิติ ๑๐.๑๙ วินาทีของ บิว ภูริพล บุญสอน ลมกรดดาวรุ่งชาวไทยในรอบรองชนะเลิศ เป็นสถิติที่ดีที่สุดในโลกของนักวิ่ง ที่มีอายุไม่เกิน ๑๘ ปี หน้า ๖๘
รางวัลเชิดชูเกียรติ นักกีฬาผู้สูงอายุยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕
\"รางวัลเชิดชูเกียรติ\" นักกีฬาผู้สูงอายุยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นางสมสง่า บุญนอก วันเดือนปีเกิด : วันที่ ๗ มีนาคม ๒๔๙๘ ภูมิลำเนา : อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู ครอบครัว : มีบุตร ธิดา ๓ คน การศึกษา : ปริญญาตรี (ค.บ.) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.ม.) การทำงานและดำรงตำแหน่ง : พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๕๘ รับราชการครูตำแหน่งครู ๒ โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร เกษียณยุราชการครู ค.ศ. ๔ (๓) ชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ปัจจุบัน ข้าราชการบำนาญ ผลงานด้านการพลศึกษาและการกีฬา : พ.ศ. ๒๕๑๖ - ๒๕๑๙ เป็นตัวแทนเขต ๔ เข้าแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๗ เข้าร่วมแข่งขันกรีฑาผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับรางวัลจากสมาคมกรีฑาผู้สูงอายุไทย คัดเลือกเป็นตัวแทนทีมชาติไทย ผู้สูงอายุเข้าแข่งขัน ชิงแชมป์เอเชีย ได้แชมป์เอเชียทุกรายการที่ลงแข่งขัน พ.ศ. ๒๕๔๘ - ปัจจุบัน เข้าร่วมแข่งขันกรีฑาผู้สูงอายุ ได้เหรียญทองทุกรายการที่เข้าร่วมแข่งขัน และสามารถ ทำลายสถิติเอเชียได้ พ.ศ. ๒๕๖๕ ในการแข่งขันขันกรีฑาสูงอายุชิงแชมป์โลกที่ประเทศฟินแลนด์ ได้ ๑ เหรียญทอง จากกระโดดไกล ได้ ๒ เหรียญเงิน จาก วิ่งข้ามรั่ว และเขย่งก้าวกระโดด หน้า ๗๐
Search