Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ อำเภอกุดชุม

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ อำเภอกุดชุม

Description: ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ อำเภอกุดชุม

Search

Read the Text Version

ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ อำเภอกดุ ชมุ จังหวดั ยโสธร เรยี บเรยี ง...ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอกดุ ชุม ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอกดุ ชมุ จงั หวัดยโธร

คานา ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ อาเภอกดุ ชมุ จังหวัดยโสธร เลม่ น้ีไดร้ วบรวมเกี่ยวกับ แหลง่ เรยี นรใู้ นอาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยประกอบไปด้วยแหลง่ เรยี นรู้ท้ังหมด ๙ ตาบล ในเขตอาเภอกุดชุม ตาบลกุดชมุ ตาบลหนองหมี ตาบลหว้ ยแกง้ ตาบล นาโส่ ตาบลโนนเปือย ตาบลกาแมดตาบลคานา้ สร้าง ตาบลโพนงาน และตาบล หนองแหน แหลง่ ขอ้ มลู ทัง้ หมดทจ่ี ัดทา ทาเนียบแหลง่ เรียนรู้ อาเภอกุดชุม จังหวัด ยโสธร นนั้ ผู้เรียบเรียงไดห้ าขอ้ มลู จากแหล่งความร้ทู หี่ ลากหลายและได้รวบรวมไว้ ในทาเนยี บแหลง่ เรียนรู้ อาเภอกดุ ชมุ น้ี เพ่ือให้ผู้สนใจได้ศกึ ษาค้นคว้า กศน.อาเภอกดุ ชุม

สารบัญ เรื่อง หนา้ ประวัตอิ าเภอกดุ ชุม ๑ ตาบลกดุ ชมุ ๕ ตาบลหนองหมี ๙ ตาบลห้วยแก้ง ๑๔ ตาบลโนนเปอื ย ๑๗ ตาบลกาแมด ๑๙ ตาบลนาโส่ ๒๒ ตาบลคาน้าสร้าง ๒๙ ตาบลโพนงาม ๓๒ ตาบลหนองแหน ๓๖

๑ ประวัติอาเภอกดุ ชมุ กุดชุม เป็นอาเภอหน่ึงของจังหวัดยโสธร ต้ังอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด ห่างจากตัว จังหวัด 37 กิโลเมตร เป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 -ของจังหวัดยโสธร รองจากอาเภอเมืองยโสธร อาเภอเลิงนกทา และอาเภอคาเขื่อนแก้ว อีกท้ังยังมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2169 (ถนนวารี ราชเดช) ตัดผ่านตัวอาเภอ ซ่ึงถูกกาหนดให้เป็นทางหลวงสายเอเชีย และเป็นเส้นทางเชื่อมไปยัง ประเทศลาว เวียดนาม และจีนตอนใตอ้ กี ดว้ ย ปี พ.ศ. 2501 ร.ต.ท.พวง ศรีบุญลือ นายอาเภอยโสธรในสมัยนั้นดาริเห็นว่าท้องที่ตาบล โนนเปือย ตาบลโพนงาม ตาบลกาแมด และตาบลไผ่ อยู่ห่างไกลจากอาเภอยโสธร หนทาง ทุรกันดาร ลาบากแก่ราษฎรในการไปมาติดต่อราชการ ณ ท่ีว่าการอาเภอยโสธร ประกอบกับ เจตนารมณ์อนั แรงกลา้ ของราษฎรท้ัง 4 ตาบลดังกล่าวท่ีมีความต้องการให้ทางราชการยกฐานะ 4 ตาบลเป็นกิ่งอาเภอ โดยราษฎรยินดีจะสร้างอาคารสถานที่ราชการให้ โดยไม่ต้องรบกวน งบประมาณของทางราชการแต่อย่างใด เพื่อสนองเจตนาอันแน่วแน่ของประชาชนและเพ่ือความ เจริญของบ้านเมืองในอนาคต ร.ต.ท.พวง ศรีบุญลือ จึงประชุมกานันท้ัง 4 ตาบล ซึ่งได้แก่ นาย สงค์ วงษ์ไกร กานันตาบลโนนเปือย นายสาย จันทพาล กานันตาบลโพนงาม นายวรรณทอง ยา วะโนภาส กานันตาบลกาแมด และนายหา ยาวะโนภาส กานันตาบลไผ่ มีมติเป็นเอกฉันท์คัดเลือก ชัยภูมิซงึ่ ไดแ้ กพ่ น้ื ที่บางส่วนของ \"ดงเย็น\" เปน็ ท่ีดอนและตั้งอยู่ใกล้ชิดกับหมู่บ้าน กุดชุม ตาบลโนน เปอื ย เป็นท่ตี ้งั กง่ิ อาเภอกดุ ชมุ ปี พ.ศ. 2503 ก็ไดล้ งมือสรา้ งกันอยา่ งจรงิ จงั โดยกานันท้ัง 4 ตาบลดังกล่าว เป็นผู้นาท่ี เข้มแข็งรับอาสาชักชวนราษฎรสละตอไม้และแรงงานในการปราบพ้ืนท่ีตั้งกิ่งอาเภอฯ ในอาณา บริเวณประมาณ 70 ไร่ และได้ตั้งปลัดอาเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอยโสธร ผลดั เปล่ียนกันออกมาดาเนินการกากบั ดแู ลการก่อสรา้ งและข้าราชการผู้เป็นกาลังอันสาคัญยิ่งที่มี ส่วนผลักดันให้งานนี้เป็นผลสาเร็จก็คือ นายพิสุทธิ์ ฟ๎งเสนาะ ปลัดอาเภอโท อาเภอยโสธร ซึ่ง นอกจากจะมากากับดูแลการก่อสร้างเป็นประจาแล้วยังได้รับภารกิจพิเศษให้เป็นหัวหน้าคณะ ร่วมกับนายอ่วม นามสละ ที่ดินอาเภอยโสธร นายบุญชู ดีหนองยาง ครูใหญ่ ออกดาเนินการ เรี่ยไรข้าวเปลือกจากราษฎรทั้ง 4 ตาบล เพ่ือรวบรวมขายเอาเงินมาเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับค่า ช่างฝีมอื และวัสดสุ าคัญในการกอ่ สรา้ ง ผลปรากฏว่าไดเ้ งินจากการขายข้าวเปลอื กเพียงพอแก่การ ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ในท่ีสุดผลแห่งการร่วมมือร่วมใจของประชาชนและ ข้าราชการก็เสร็จส้ินลงในราวเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2504 มีสถานที่ราชการและบ้านพักซึ่งสร้าง ด้วยน้าพักนา้ แรงของราษฎรสาเรจ็ เรียบร้อย

๒ ประวตั ิอาเภอกดุ ชมุ อน่งึ ผู้มีสว่ นสาคญั ยิง่ อกี ทา่ นหนงึ่ ในการสนับสนนุ เปน็ กาลังใจใหก้ ารก่อสร้าง กิ่งอาเภอกดุ ชมุ เป็นผลสาเร็จคือ พระครปู ลัดปาเรสโก (ผน่ั ปาเรสโก) ลกู ศษิ ยท์ ่าน พระอาจารย์ม่นั ภูริทตั โต เจ้าอาวาสวดั บา้ นหนองหนิ ตาบลหนองหิน อาเภอยโสธร และทา่ นเป็นผู้ริเริม่ กอ่ สร้างวัดประชาชุมพลขึน้ มาพรอ้ มๆ กบั การสร้างกง่ิ อาเภอฯ และ ในระยะเวลาต่อมาหลงั จากสร้างกงิ่ อาเภอกดุ ชมุ แล้วเสรจ็ ไมน่ าน ทา่ นก็เป็น ผดู้ าเนินการตง้ั หลกั เมอื งใหเ้ ปน็ ศกั ดิศ์ รแี กก่ ง่ิ อาเภอด้วย เม่ือสรา้ งก่ิงอาเภอกดุ ชุม เสรจ็ แลว้ ร.ต.ท.พวง ศรีบญุ ลอื นายอาเภอยโสธร กร็ ายงาน ผลไปยงั กระทรวงมหาดไทย ขอแยกตาบลโนนเปอื ย ตาบลโพนงาม ตาบลกาแมด และ ตาบลไผ่ จากอาเภอยโสธร ตงั้ ขน้ึ เป็นกิง่ อาเภอกดุ ชุมตามนามหม่บู า้ นกดุ ชมุ ซง่ึ สถานที่ ทีต่ ง้ั ก่ิงอาเภอฯ อย่ใู กลท้ ่สี ดุ ในทีส่ ดุ ได้มปี ระกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะขนึ้ เปน็ กง่ิ อาเภอกุดชมุ เมือ่ วนั ที่ 1 สิงหาคม 2504 โดยทางราชการได้แตง่ ต้ังนายพสิ ทุ ธิ์ ฟง๎ เสนาะ ปลดั อาเภอโทอาเภอยโสธรมาดารงตาแหนง่ ปลัดอาเภอโท ผู้เป็นหวั หนา้ ประจากิง่ อาเภอกดุ ชุมคนแรก และเรม่ิ เปดิ สถานทร่ี าชการติดตอ่ กับประชาชน เมอื่ วนั ท่ี 21 สงิ หาคม พ.ศ. 2504 โดยผู้วา่ ราชการจงั หวัดอุบลราชธานี (นายกาจัด ผาตสิ ุวัณ) เป็น ประธานกระทาพิธีเปดิ กงิ่ อาเภอกุดชมุ ตอ่ มาเมอื่ วันท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ได้มี พระราชกฤษฎกี ายกฐานะจากกงิ่ อาเภอกดุ ชุมขึ้นเปน็ อาเภอกดุ ชุม และต่อคณะปฏวิ ัติได้ ประกาศยกฐานะอาเภอยโสธรข้นึ เปน็ จงั หวัดยโสธร อาเภอกดุ ชมุ จึงเปน็ อาเภอหน่ึง ข้ึนอยกู่ ับจงั หวดั ยโสธรต้งั แต่นั้นมา ต่อมาเม่ือวนั ท่ี 22 กรกฎาคม 2521 กระทรวงมหาดไทยได้โอนตาบลไผ่ อาเภอกดุ ชมุ ไปข้นึ กบั กง่ิ อาเภอทรายมลู (ปจ๎ จุบนั เปน็ ตาบลไผ่ อาเภอทรายมูล) อาเภอเมืองยโสธร ในขณะน้ัน เนอื่ งจากทอ้ งทีต่ าบลไผ่ อยใู่ กลก้ ับอาเภอทรายมูลมากกว่าอาเภอกดุ ชมุ ท่ตี งั้ และอาณาเขต อาเภอกุดชมุ ตั้งอย่ทู างทิศเหนอื ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกบั เขตการปกครอง ข้างเคยี งดงั ต่อไปนี้ ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั อาเภอหนองพอก (จังหวดั ร้อยเอ็ด) และอาเภอเลิงนกทา ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอไทยเจริญ ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอปา่ ต้ิว อาเภอทรายมลู และ อาเภอเมืองยโสธร ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับอาเภอทรายมูล และอาเภอเสลภูมิ (จงั หวัดรอ้ ยเอด็ )

๓ ประวัตอิ าเภอกุดชมุ

๔ ประวตั ิอาเภอกุดชุม การปกครองส่วนภมู ภิ าค อาเภอกดุ ชุมแบ่งพน้ื ที่การปกครองออกเปน็ 9 ตาบล 128 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่ 1.กดุ ชุม (Kut Chum) 6.หนองหมี (Nong Mi) 2.โนนเปอื ย (Non Pueai) 7.โพนงาม (Phon Ngam) 3.กาแมด (Kammaet) 8.คานา้ สรา้ ง (Kham Nam Sang) 4.นาโส่ (Na So) 9.หนองแหน (Nong Nae) 5.หว้ ยแกง้ (Huai Kaeng) การปกครองส่วนท้องถน่ิ ท้องทอ่ี าเภอกุดชุมประกอบด้วยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ 10 แห่ง ได้แกเ่ ทศบาล ตาบลกดุ ชุมพัฒนา ครอบคลมุ พื้นทีบ่ างส่วนของตาบลกุดชุมและบางสว่ นของตาบลโนน เปอื ย องค์การบรหิ ารส่วนตาบลกุดชมุ ครอบคลมุ พนื้ ทต่ี าบลกุดชมุ (เฉพาะนอกเขตเทศบาล ตาบลกุดชมุ พัฒนา) องค์การบริหารสว่ นตาบลโนนเปือย ครอบคลุมพนื้ ที่ตาบลโนนเปือย (เฉพาะนอกเขต เทศบาลตาบลกดุ ชมุ พัฒนา) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลกาแมด ครอบคลุมพ้ืนทต่ี าบลกาแมดทั้งตาบล องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลนาโส่ ครอบคลุมพนื้ ท่ตี าบลนาโส่ทัง้ ตาบล องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลห้วยแก้ง ครอบคลุมพื้นทต่ี าบลห้วยแก้งทั้งตาบล องค์การบริหารส่วนตาบลหนองหมี ครอบคลุมพน้ื ท่ีตาบลหนองหมที ้ังตาบล องค์การบริหารส่วนตาบลโพนงาม ครอบคลมุ พ้ืนท่ีตาบลโพนงามท้ังตาบล องค์การบริหารสว่ นตาบลคาน้าสร้าง ครอบคลุมพ้นื ท่ีตาบลคานา้ สร้างทงั้ ตาบล องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองแหน ครอบคลมุ พื้นที่ตาบลหนองแหนท้งั ตาบล วัดในเขตเทศบาบตาบลกุดชมุ พัฒนา วัดกุดชมุ ใน วดั วินจิ ธรรมาราม วดั ประชาชมุ พล วัดสามัคคีวนาราม

๕ ตาบลกดุ ชุม ประวัติและข้อมลู สภาพทั่วไป ลกั ษณะทตี่ งั้ และขนาดพื้นที่ มีเสน้ ทางติดต่อกบั อาเภอกุดชมุ ไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ มีเส้นทางลักษณะเป็นทาง ลาดยางมะตอย ระยะทาง ๔ กโิ ลเมตร จากพ้นื ท่ีตาบลกุดชุม ๗๓.๐๓ ตารางกิโลเมตร หรือ ๔๕,๖๔๓.๗๕ ไร่ จาแนกลักษณะการ ใช้ประโยชน์ท่ีดินป๎จจุบันได้ดังน้ี คือ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ประมาณร้อยละ ๗๕.๒๔ (ทานาประมาณ ๒๕,๔๓๗.๓ ไร่ พืชไร่จาพวก อ้อย มันสาปะหลัง ประมาณ ๕,๖๒๓.๓ ไร่ ทาสวนยางพารา ยคู าลิปตสั มะขามหวาน ลาไย และไม้ยืนต้น ประมาณ ๓,๒๘๑.๘ ไร่) รองลงมา เปน็ ท่งุ หญ้า ไมพ้ ่มุ ปา่ ละเมาะ และท่รี กร้าง ประมาณร้อยละ ๑๓.๑๖ พื้นที่ป่าไม้ ประมาณร้อยละ ๘.๓๓ แหล่งน้า ประมาณร้อยละ ๒.๐๗ และพ้ืนที่ชุมชน ประมาณร้อยละ ๑.๑๕ (ท่ีอยู่อาศัย ๑๖๒.๕ ไร่ พาณิชยกรรม ๒๒.๕ ไร่ อุตสาหกรรม ๔๖.๙ ไร่ คลังสินค้า ๘.๓ ไร่ ที่อยู่อาศัยก่ึง พาณิชยกรรม ๑๐๕.๐ ไร่ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ สถาบันราชการ ๕๕.๐๑ ไร่ สถาบันการศึกษา ๔๙.๕๖ ไร่ สถาบันศาสนา ๗๓.๖๓ ไร่) จากสภาพการณ์ป๎จจุบันพบว่าการใช้ ที่ดินประเภทเกษตรกรรม คือ การทานา ทาไร่ และการใช้ที่ดิน ประเภทพื้นที่ชุมชนมีแนวโน้ม เพิ่มข้ึน ส่วนพื้นที่ป่าไม้ และท่ีโล่ง มีแนวโน้มลดลง เน่ืองจากมีการขยายตัวของประชากรและ ชุมชนเพิม่ มากขึ้น ส่งผลใหม้ คี วามต้องการพื้นทอี่ ยู่อาศัยและแหล่งผลติ เพิ่มมากขึ้น อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดกบั เขต อบต.คาเตย อ.ไทยเจริญ ทศิ ใต้ ตดิ กับเขต อบต.ห้วยแก้งและอบต.นาโส่ ทิศตะวันออก ตดิ กับเขต อบต.โนนเปอื ย, อ.ไทยเจริญ และ อ.เลิงนกทา ทิศตะวนั ตก ตดิ กับเขต อบต.คาน้าสร้าง, อบต.หนองหม,ี อบต.หว้ ยแกง้ , อบต.หนอง แหน ลักษณะภูมิประเทศ - สว่ นใหญเ่ ป็นที่ราบ ๓๐ % จะพบในหมูท่ ี่ ๓, ๔, ๕, ๖ - ท่ีดอน ๖๕ % จะพบในหมูท่ ่ี ๑,๒,๓,๗,๑๐,๑๑,๑๒,๑๓,๑๕,๑๖,๑๘,๑๙,๒๐,๒๑ - แหล่งลาน้า ๕ % จะพบในหมู่ที่ ๓ , ๕, ๖,ซึ่งมีความสาคัญทางการเกษตรนอกจากน้ียังมีลา ห้วยไหลผ่าน ได้แก่ ลาห้วยสีดา ลาห้วยแคน ลาห้วยโพงโพด ลาห้วยหนองเม็ก ลาห้วย กลาง และลาห้วยโพง - ภูเขา จะพบทางตะวันตก รอยต่อระหวา่ งตาบลหนองแหน กบั ตาบลคาน้าสรา้ ง

๖ ลักษณะภมู ิอากาศ เป็นแบบมรสุม มี ๓ ฤดู คอื - ฤดูรอ้ น เร่ิมต้งั แต่ มนี าคม - เมษายน - ฤดฝู น เร่ิมต้งั แต่ พฤษภาคม - กันยายน - ฤดูหนาว เริ่มต้งั แต่ ตุลาคม - กมุ ภาพันธ์ เขตการปกครอง ตาบลกุดชุมแบ่งการการปกครองออกเป็น ๒๑ หมู่บ้าน อยู่ในเขตเทศบาลตาบล กดุ ชุมพฒั นา ๔ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๘ บ้านกุดชุมพัฒนา หมู่ท่ี ๙ บ้านโคกสูง หมู่ท่ี ๑๔ บ้านกุดชุมพัฒนา และหมู่ที่ ๑๗ บ้านกุดชุมพัฒนา และอยู่ในเขตพื้นท่ีของ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลกดุ ชมุ ๑๗ หมบู่ า้ น ได้แก่ หมูท่ ่ี ๑ บา้ นหนองบอน หมู่ท่ี ๒ บ้านหนองเรือ หมู่ท่ี ๓ บ้านเหล่าตาแย หมู่ท่ี ๔ บ้านกุดชุมใน หมู่ท่ี ๕ บ้านสองคร หมู่ท่ี ๖ บ้านหนองมาลา หมู่ที่ ๗ บ้านหนองแก หมู่ที่ ๑๐ บ้านหนองเมืองกลาง หมู่ท่ี ๑๑ บ้านเหล่าฝา้ ย หมู่ที่ ๑๒ บ้านเอราวัณ หมู่ท่ี ๑๓ บ้านคากลาง หมู่ท่ี ๑๕ บ้านทอง สัมฤทธิ์ หมู่ที่ ๑๖ บ้านนามน หมู่ที่ ๑๘ บ้านหนองบอน หมู่ท่ี ๑๙ บ้านเหล่าตาแย หม่ทู ่ี ๒๐ บ้านหนองบวั และหมทู่ ่ี ๒๑ บา้ นหนองเมอื งกลาง ตาบลกุดชุมตั้งอยู่บนเสน้ รุ้งที่ ๖๙-๘๕ และเส้นแวงที่ ๒๖-๓๒ สูงจากระดับน้าที่ ๑๔๐-๒๐๐ การปกครอง ประกอบด้วยจานวนหมู่บ้านท่ีอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตาบลกุดชุมมีทั้งหมด ๑๗ หมบู่ ้าน

๓ แหล่งเรยี นรูต้ าบลกุดชมุ

๗ วัดภหู นิ ปูน วัดป่าพุทธสถานภูหินปูน หรือวัดภููหินปูน ตั้งอยู่บนภูสูง นอกจากเป็นสถานที่ สาหรบั การปฏบิ ัติธรรม ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาธรรมชาติและชมวิวช้ันดี เพราะมี กลุ่มหินทรายรูปทรงประหลาดตาจานวนมากมายกระจัดกระจายบนลานหิน แวดล้อมด้วยต้นไม้น้อยใหญ่สมบูรณ์ นักท่องเที่ยวสามารถเดินเที่ยวชมได้ตาม อัธยาศัย พร้อมมองเห็นวิวอาเภอกุดชุมกว้างไกลสุดสายตา ป๎จจุบันทางวัดกาลัง สร้างอาคารต่างๆ รวมถึงพระอุโบสถ ลานธรรม ซึ่งในอนาคตจะเป็นสถานที่ ท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ศาสนา และธรรมชาติท่ีสาคัญของยโสธร การเดินทาง สะดวกรถยนตท์ กุ ชนดิ สามารถขนึ้ ถงึ ดา้ นบนไดเ้ ลย ทีต่ ัง้ : บา้ นนามน ต.กุดชมุ อ.กดุ ชุม จ.ยโสธร เขา้ จากถนน ทล.2169 ไปประมาณ 13 กโิ ลเมตร

๕ วดั ภหู มากพรกิ ภูหมากพริกเป็นป่าชุมชน ในเขตตาบลกุดชุม อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร อดีต พ้ืนที่บนภูสวนหน่ึงเคยเป็นแหล่งทาสวนพริกจนมีสภาพทรุดโทรม ต่อมาจึงได้รับการ ฟื้นฟูปลูกป่าให้กลับมาเขียวขจีอีกคร้ัง หลังมีการดูแลอย่างจริงจังจากสานักสงฆ์ภู หมากพริก ซึ่งพัฒนากลายเป็นวัดภูหมากพริกในเวลาต่อมา และป๎จจุบันวัดกาลังอยู่ ในระหว่างสร้างพระอุโบสถครึ่งไม้คร่ึงปูนหลังใหม่ท่ามกลางความร่มรื่นของธรรมชาติ คาดวา่ เม่อื เสร็จสนิ้ จะมีความสวยงามอยา่ งมาก บนวัดภูหมากพริกมีความสงบร่มเย็น เป็นสถานท่ีปฏิบัติธรรมที่ร่มร่ืน นอกจากน้ียังมีจุดชมวิวเล็กๆ ซึ่งผู้ท่ีข้ึนไปเย่ียมชมวัด สามารถแวะไปไดอ้ กี ด้วย ทางเข้าจดุ ชมวิวอาจมองลาบากสกั นิด สามารถสอบถามทาง ได้จากพระสงฆภ์ ายในวัด อยู่ท่ีบ้านทองสัมฤทธิ์ ต.กุดชุม อ.กุดชุม จ.ยโสธร เข้าจากถนน ทล.2169 ไปประมาณ 15 กิโลเมตร

๘ วดั ภูถา่ สมิ วดั ภถู า่ สิมเปน็ สถานทไี่ หวพ้ ระทาบญุ หรือทา่ นที่ประสงค์จะปฏบิ ัติธรรมทางวัด ก็มีสถานท่ีไว้ให้ ซ่ึงร่มรื่นและสงบมาก อยู่บนยอดภูเขาการเดินทาง : จากตัวเมือง ยโสธรมุ่งหน้าไปทางมุกดาหาร ประมาน 37 กิโลถึงอาเภอกุดชุม ผ่านหน้าท่ีว่าการ อาเภอกดุ ชมุ ตรงไปอีกประมาน 5 กิโล ถึงทางโค้งบ้านเอราวัณ ให้เลี้ยวซ้าย ขับตรง ไปตามถนนลาดยางประมาน 10 กโิ ลไป บา้ นทองสัมฤทธิ์ ตรงไปประมาน 3 กิโลก็จะ ถึงภูถา้ สิมภูถ้าสิม ทีต่ ัง้ : ภูถ้าสิม บ้านทองสัมฤทธิ์ อาเภอกดุ ชมุ ต.กดุ ชมุ อ.กดุ ชุม จ.ยโสธร

๙ ตาบลหนองหมี ประวตั แิ ละขอ้ มลู สภาพทวั่ ไป ลักษณะทตี่ งั้ และขนาดพื้นท่ี ตาบลหนองหมี อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ต้ังอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด ยโสธรและอยู่ทางทิศตะวันตกของอาเภอกุดชุม ห่างจากจังหวัดยโสธรประมาณ 47 กโิ ลเมตร และห่างจาก อาเภอกดุ ชุมประมาณ 10 กโิ ลเมตร ประชากร ตาบลหนองหมีมีประชากรทั้งสิ้น 4,624 คน แยกเป็นชาย 2,359 คน หญิง 2,265 คน มีความหนาแน่นโดยเฉลย่ี 88 คน/ตารางกิโลเมตร ขนาดพ้นื ที่ ตาบลหนองหมี มีพืน้ ทีท่ ัง้ หมด 52 ตารางกิโลเมตร หรอื 16,382 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ โดยท่ัวไปเป็นที่ราบสูง มีป่าไม้อยู่ทั่วไป ประเภทของป่าไม้เป็นป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย ลาธารและลาห้วยเล็กๆ อาศัยน้าฝน ในการเพาะปลกู ลกั ษณะภมู อิ ากาศ เปน็ แถบมรสุม มี 3 ฤดูกาล คือ ฤดูร้อน เริ่มต้งั แตเ่ ดือนมีนาคม - เดอื นพฤษภาคม ฤดูฝน เริม่ ต้งั แต่เดือนมถิ นุ ายน – เดือนตลุ าคม ฤดูหนาว เร่ิมตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน – เ ดื อ น กุ ม ภ า พั น ธ์ อาชีพ ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณ 99% ประกอบอาชพี ทานาเปน็ อาชพี หลัก และมี อาชีพเสรมิ เก่ียวกับเกษตรกรรม ได้แก่ การทาไร่ การเลี้ยงสตั วแ์ ละการปลูกพชื ผัก สวนครัวซงึ่ มพี น้ื ท่ที าการเกษตร จานวนประมาณ 13,607 ไร่ พชื เศรษฐกจิ พืชเศรษฐกจิ ทสี่ าคญั ในตาบลหนองหมี ได้แก่ ข้าว ยคู าลปิ ตสั

๑๐ แหล่งเรียนรู้ตาบลหนองหมี ศนู ย์เรยี นรูอ้ บสมุนไพรวัดบา้ นหนองก้าว ศูนยเ์ รยี นรู้อบสมนุ ไพรวัดบ้านหนองกา้ ว ม.4 ต.หนองหมี อ.กุดชมุ จ.ยโสธร การอบสมุนไพร วัดบ้านหนองกา้ ว เป็นการใช้ไอน้าและความรอ้ นพาตัวยาและน้ามนั หอมระเหยจากสมนุ ไพรไปสมั ผัสผวิ หนงั แทรกซึมผ่านเย่อื บุเข้าสู่ร่างกายของคนไข้ และผา่ นเข้าทางลมหายใจทส่ี ูดเข้าไปดว้ ย ทาใหต้ ัวยาสามารถออกฤทธไ์ิ ด้ท่ัวตวั ใน เวลาอันรวดเรว็ ช่วยใหก้ ล้ามเนื้อผอ่ นคลาย เป็นการเยียวยาบาบัดอกี วธิ ีหนง่ึ ทใ่ี ช้ ได้ผลดีกับคนท่ีมีอาการเกี่ยวกับจติ ประสาท และระบบทางเดนิ หายใจ ช่วยในเรือ่ ง ปวดเมอื่ ยกลา้ มเนอ้ื ได้ดมี าก ศนู ยอ์ บสมุนไพรวัดบา้ นหนองกา้ วกอ่ สรา้ งขน้ึ ใช้ งบประมาณ 170,000 บาท โดยการนาของพระอาจารยท์ องลว้ น อภิชาโต วดั บ้าน หนองก้าวบริจาคงบกอ่ สรา้ ง เนื่องจากได้เล็งเหน็ ปญ๎ หาสขุ ภาพของผ้สู ูงอายทุ ม่ี า ทาบุญในวดั มีอาการปวดหลงั ปวดเอว ซงึ่ เมอื่ ก่อนมที อ่ี บสมนุ ไพรทเี ดียวคือ โรงพยาบาลกุดชมุ การเดนิ ทางไปมาไมส่ ะดวกตอ่ ผู้สูงอายุ ฉะน้นั พระอาจารยจ์ ึงได้ จดั ตั้งศูนยอ์ บสมนุ ไพรขึน้ ในวัดเพ่อื ความสะดวกตอ่ การเดินทางของผ้สู ูงอายุ สาหรับ อัตราคา่ บรกิ ารในการอบสมุนไพรใชก้ ารหยอดตู้บริจาคตามกาลงั ศรทั ธาของ ผู้รับบริการ เพื่อเปน็ การตอ่ ยอดใหก้ ับพระอาจารย์ในการจดั หาฟนื ใช้กอ่ ไฟหมอ้ ตม้ และจดั หาสมนุ ไพรต่างๆ การอบสมนุ ไพรโดยทั่วไป จะห้ามใช้สาหรับคนไข้ และหา้ ม คนป่วยกนิ ของแสลงสาหรับโรคนั้นๆดว้ ย สาหรบั สมนุ ไพรทีใ่ ช้อบกจ็ ะมีอาทิเชน่ ไพล สรรพคณุ ของสมนุ ไพรท่ีใช้ในการอบสมนุ ไพรเพ่อื สุขภาพ แกป้ วดเม่ือย คร่นั เนอ้ื ครัน่ ตวั ขมิน้ ชนั สรรพคุณของสมุนไพรทใ่ี ช้ในการอบสมุนไพรเพ่อื สุขภาพ แก้โรค ผิวหนงั สมานแผลขม้นิ อ้อย สรรพคณุ ของสมนุ ไพรทใี่ ช้ในการอบสมุนไพรเพอ่ื สุขภาพ ใชบ้ รรเทาอาการฟกช้า บวมได้ วา่ นนางคา สรรพคณุ ของสมนุ ไพรที่ใช้ในการ อบสมนุ ไพรเพือ่ สุขภาพรกั ษาเม็ดผดผนื่ คัน ตะไคร้ สรรพคณุ ของสมนุ ไพรทีใ่ ช้ในการ อบสมุนไพรเพอื่ สุขภาพ ดับกลนิ่ คาว บารงุ ธาตไุ ฟ ใบผิวมะกรดู

๑๑ สรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ในการอบสมุนไพรเพ่ือสุขภาพ แก้ลมวิงเวียน ใบหนาด สรรพคุณของสมุนไพรทใี่ ชใ้ นการอบสมุนไพรเพอื่ สุขภาพ แก้โรคผวิ หนัง พพุ อง น้าเหลือง เสีย ว่านน้า สรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ในการอบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ช่วยขับเหง่ือ แก้ ไข้ใบมะขาม สรรพคุณของสมุนไพรท่ีใช้ในการอบสมุนไพรเพื่อสุขภาพแก้อาการคันตาม ร่างกายช่วยให้ผิวหนังสะอาด ใบส้มป่อย สรรพคุณของสมุนไพรท่ีใช้ในการอบสมุนไพร เพื่อสุขภาพ แก้หวัด แก้ปวดเม่ือย ใบพลับพลึง สรรพคุณของสมุนไพรท่ีใช้ในการอบ สมนุ ไพรเพอ่ื สขุ ภาพ แกอ้ าการฟกชา้ เคลด็ ขัดยอก บรรเทาอาการปวดบวม กระชาย สรรพคุณของสมนุ ไพรท่ีใชใ้ นการอบสมนุ ไพรเพือ่ สุขภาพแก้ปวดเมอ่ื ย ปากแตก เป็นแผล ใจสั่นใบเปล้าใหญ่ สรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ในการอบสมุนไพรเพ่ือสุขภาพ ชวยถอนพษิ ผิดสาแดง บารงุ ผวิ ผักบุ้งไทย สรรพคุณของสมุนไพรท่ีใชใ้ นการอบสมุนไพรเพ่ือสขุ ภาพถอนพษิ ผน่ื คัน

๑๒ แหล่งเรยี นรู้ กลมุ่ ทอผา้ บา้ นคาน้อย ผ้าขาวม้า เป็นผ้าสารพัดประโยชน์ที่คนไทยใช้มาแต่โบราณ ส่วนใหญ่ผู้ใช้จะเป็น เพศชาย สามารถใช้นุ่งอาบน้า เช็ดตัว คลุมหัวกันแดด หรือทาเปลก็ได้ บ้างก็เรียกว่า \"ผ้า เคยี นเอว\" ผ้าขาวม้ามีลักษณะเป็นผ้ารูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า ความกว้างประมาณ 2 ศอก ยาว ประมาณ 3-4 ศอก เป็นผ้าสาหรับผู้ชายใช้นุ่งแบบลาลอง ความกว้างจึงเท่ากับระยะจาก เอวถงึ กลางหนา้ แข้ง ความยาวเท่ากับระยะพันรอบตัวแล้วเหลือเศษอีกเล็กน้อย โดยมาก ทอเป็นลายตารางเล็กๆ นิยมใช้ด้ายหลายสี อย่างไรก็ตาม ผ้าสีเดียว ที่มีขนาดเท่ากับ ผ้าขาวม้าลายตารางหมากรุกแบบนี้ หากนามาใช้นุ่งสาหรับผู้ชาย ก็นิยมเรียกผ้าขาวม้า เชน่ กัน ผ้าขาวมา้ ในประเทศไทยมีชอื่ เรยี กแตกต่างกนั ขน้ึ อยู่กับท้องถ่ิน ซ่ึงคาวา่ ผ้าขาวม้า เป็นภาษาทางภาคกลาง ส่วนในภาคอีสานบางแห่งเรียกว่าผ้าแพร ซึ่งมักจะได้จากการทอ ด้วยเครื่องทอผ้าที่เรียกว่า ก่ี และจะทอเป็นขนาดยาวประมาณ 20-30 เมตร ต่อการทอ แต่ละคร้ังแล้วจึงตัดแบ่งออกเป็นผืน ผืนละ 1 วา หรือ ประมาณ 1 เมตรคร่ึง ดังนั้น บาง ท้องถ่ินจึงเรยี กว่าผ้าแพรวา เรียกตามความยาวของผ้าแต่ละผืน กลุ่มทอผ้าบ้านคาน้อยก่อตั้งในปี พ.ศ.2547ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากสานักงานกศน. อ.กุดชุม จ.ยโสธร จานวน 3,000 บาท มีสมาชิกท้ังหมด 15 คน ซ่ึง ป๎จจุบันมีทุนแล้วประมาณ 20,000 บาทจากกาไรการขายผ้าขาวม้า สาเหตุท่ีก่อต้ังกลุ่ม ทอผา้ ขาวมา้ เน่ืองจากสมาชกิ และผนู้ าในหมู่บา้ นไดเ้ ลง็ เห็นความสามารถของแม่บา้ นบา้ น คาน้อยที่มีฝีมือทางการทอผ้าอยู่หลายคนและเพ่ือส่งเสริมให้คนในชุมชนมีงานทาและมี รายได้มีความสมัครสมานสามัคคี รักใคร่ปรองดองในชุมชน และก่อให้เกิดรายได้และมี งานทาเป็นอาชีพเสริมหลังจากเสร็จฤดูการทานาเพื่อลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้ให้แก่คนใน ชมุ ชน

๑๓ แหล่งเรยี นรู้ ระบบธนาคารนา้ ใตด้ นิ (ระบบเปดิ บอ่ ลม) เป็นกระบวนการบริหารจัดการน้าด้วยระบบธนาคารน้าใต้ดินและการ บริหารจัดการน้าอย่างยั่งยืน บ่อลม(บาราย)คือบ่ท่ีช่วยเปิดอากาศและยังช่วยสร้าง ทิศทางการไหลของชั้นน้าใต้ดิน บ่อลมจึงเปรียนเสมือนบ่อที่ทาให้น้าจากบ่อเติมน้า ลงใตด้ ินไปสู่อกี แห่งหนงึ่ ตามความตอ้ งการเหมือนกับการวางท่อระบายน้า(น้าใต้ดิน เดนิ ทางด้วยอากาศเป็นตัวนาพาฉะนั้นถ้าไม่ทาการเปิดบ่อลมน้าจะไม่ไหลไปทิศทาง ที่ต้องการซึ่งภูมิป๎ญญาท้องถ่ินสมัยก่อนดูท่ีมีบ่อลมได้จากการท่ีมีต้นเอ็นอ้าหรือต้น โคลงเคลงอยู่ที่ไหนก็แสดงว่ามีตาน้าท่ีน่ันซ่ึงในตาบลหนองหมีมีท่ีบ้านนาย พิญํู วงคค์ าน้อย บ้านหนองก้าวหมทู่ ี่4

๑๔ ตาบลห้วยแกง้ ประวัตแิ ละข้อมลู สภาพท่วั ไป ลกั ษณะทีต่ ้งั และขนาดพืน้ ที่ พน้ื ท่ี 99 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 23,567 ไร่ จานวน 14 หมูบ่ ้าน มปี ระชากร ทงั้ สิ้น 4,752 คน มีสมาชิกสภา อบต. โดยตาแหนง่ เป็นกานัน ผใู้ หญ่บา้ นและแพทย์ ประจาตาบล (ในสมยั นัน้ ) จานวน 14 คน และมีสมาชกิ สภา อบต. มาจากการ เลือกตงั้ จานวน 28 คน ประธานกรรมการบริหารคนแรกคอื นายคาเสน อนิ ทนาม โดยจัดตัง้ เปน็ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลเป็นขนาดกลาง มีทัง้ หมด 14 หมูบ่ ้าน ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ ลักษณะพ้นื ทส่ี ว่ นใหญเ่ ป็นพน้ื ท่รี าบลุม่ ตาบลหว้ ยแก้ง องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ห้วยแก้ง ตง้ั อยหู่ มู่ท่ี 2 ตาบลห้วยแก้ง อาเภอกุดชมุ จงั หวัดยโสธร 35140 อยหู่ ่างจาก อาเภอกดุ ชมุ ตามทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 2169 ระยะทาง 6 กโิ ลเมตรและอยหู่ า่ ง จากอาเภอเมอื ง จังหวัดยโสธร ระยะทางประมาณ 29 กิโลเมตร อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกบั ตาบลหนองหมี อาเภอกดุ ชมุ จงั หวดั ยโสธร ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั ตาบลนาโส่ อาเภอกุดชมุ จังหวัดยโสธร ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ ตาบลกดุ ชมุ อาเภอกุดชมุ จังหวัดยโสธร ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกบั ตาบลทรายมูล อาเภอกุดชมุ จังหวดั ยโสธร ภูมิอากาศ ลกั ษณะพ้นื ทส่ี ว่ นใหญ่เปน็ พ้นื ท่ีราบลุ่มตาบลห้วยแกง้ องค์การบริหารสว่ นตาบล หว้ ยแกง้ ตั้งอยูห่ ม่ทู ี่ 2 ตาบลหว้ ยแกง้ อาเภอกดุ ชุม จงั หวดั ยโสธร 35140 อยูห่ ่างจาก อาเภอกดุ ชุม ตามทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 2169 ระยะทาง 6 กิโลเมตรและอยู่ห่าง จากอาเภอเมอื ง จังหวัดยโสธร ระยะทางประมาณ 29 กิโลเมตร ทศิ เหนือ ติดกบั ตาบลหนองหมี อาเภอกดุ ชมุ จงั หวัดยโสธรทิศใต้ ติดกับ ตาบลนาโส่ อาเภอกุดชมุ จงั หวดั ยโสธร ทศิ ตะวันออกตดิ กบั ตาบลกุดชุม อาเภอกดุ ชุม จังหวดั ยโสธร ทศิ ตะวันตกติดกบั ตาบลทรายมลู อาเภอกดุ ชมุ จงั หวดั ยโสธร

๑๕ ป่าไม้ ป่าไม้ คงเหลือประมาณร้อยละ 15 ประเภทของป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าเต็งรัง ปา่ ไม้ชนิดมีค่า ไดแ้ ก่ ยาง ประดู่ แดง เต็ง รัง เป็นต้น พน้ื ท่ีป่ามคี วามอดุ มสมบูรณ์ ลักษณะชุมชน สภาพเศรษฐกิจ การเงิน มูลค่าส่วนใหญ่มาจากภาคเกษตรกรรม ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง เป็นต้น รองลงมาอยู่นอกภาคเกษตร ได้แก่ การเล้ียงสัตว์ ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล ของใช้ในครัวเรือน เลี้ยง สัตว์ ได้แก่ ไก่ โค สุกร และกระบือ จิ้งหรีด หม่อน ตามลาดับ ส่วนประมงเป็นการ เล้ยี งตามแหลง่ น้าธรรมชาติ สภาพสังคม ประชากรสว่ นใหญอ่ าศัยอยูใ่ นเขตพื้นท่ีชุมชน โครงสร้างประชากรเป็นชาวไทย อีสาน จะพบลักษณะของการพ่ึงพาอาศัยกันในชุมชน ส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา เทศกาล งานประเพณี มีฮีตสิบสอง คองสบิ ส่ี เขตการปกครอง เขตตาบลห้วยแก้ง มีเนื้อที่ 99.00 ตารางกิโลเมตร หรือ 23,567 ไร่ พื้นท่ีส่วน ใหญ่เป็นท่ีราบลุ่มลักษณะท่ีตั้งอาณาเขตการปกครอง แบ่งเขตการปกครองเป็น 14 หมบู่ ้าน

๑๖ แหลง่ เรียนรู้ตาบลหว้ ยแก้ง พพิ ิธภัณฑ์วัตถุโบราณวัดบ้านโนนใหญ่ พิพิธภัณฑ์วัตถุโบราณวัดบ้านโนนใหญ่ โบราณวัตถุท่ีสาคัญของพิพิภัณฑ์ เป็น ศูนยก์ ลางในการรวบรวมศิลปวตั ถุ สิ่งของเครอื่ งใชต้ ัง้ แต่โบราณจนถงึ ปจ๎ จบุ นั เปน็ แหลง่ เรียนรู้ชุมชน และแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียนของนิสิต นักศึกษา นักเรียน เด็กเยาวชน และประชาชนทั่วไป สร้างความเข้มแข็งของสังคม ให้รากฐานทางวัฒนธรรมดาเนินไป อย่างมรี ะบบแบบแผน นาไปส่กู ารพฒั นาการจดั เกบ็ ข้อมูลทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยนื

๑๗ ตาบลโนนเปอื ย ประวตั แิ ละขอ้ มูลสภาพท่ัวไป ลกั ษณะทต่ี ง้ั และขนาดพ้นื ที่ ตาบลโนนเปอื ย เป็นตาบลหนง่ึ ใน ๙ ตาบล ของอาเภอกดุ ชุม จังหวัดยโสธร สานักงานองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโนนเปอื ย ต้งั อยู่ที่ หมู่ที่ ๑๔ บ้านโนนเปอื ย เนอ้ื ท่ี ๑๐ ไร่ ห่างจากอาเภอกดุ ชุมประมาณ ๔ กิโลเมตร และหา่ งจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ ๕๖๙ กโิ ลเมตร อาณาเขต (แสดงเนอ้ื ท่ีโดยประมาณเปน็ ตารางกิโลเมตรและไร่) ตาบลโนนเปอื ย มพี ื้นที่ท้งั หมดประมาณ ๔๙,๓๘๔ ไร่ หรอื ประมาณ ๗๙.๐๑ ตาราง กโิ ลเมตร มอี าณาเขตตดิ ต่อกับหน่วยการปกครองทอ้ งถนิ่ อน่ื ๆ ดังน้ี – ทศิ เหนอื จด ตาบลกุดชุม อาเภอกุดชุม และตาบลคาเตย อาเภอไทยเจรญิ จงั หวัดยโสธร – ทิศใต้ จด ตาบลกาแมด อาเภอกดุ ชุม จงั หวดั ยโสธร – ทศิ ตะวนั ออก จด ตาบลน้าคา อาเภอไทยเจริญ จังหวดั ยโสธร – ทิศตะวนั ตก จด ตาบลกดุ ชุม และตาบลนาโส่ อาเภอกุดชุม จงั หวัดยโสธร ลักษณะภูมปิ ระเทศและภมู ิอากาศ พนื้ ท่ีส่วนใหญ่เป็นทีร่ าบสงู และลกั ษณะดินส่วนใหญเ่ ป็นดินรว่ นปนทราย สูงจาก ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง ๑๒๕-๑๕๐ เมตร หมูบ่ า้ นสว่ นใหญต่ ง้ั อยู่ในเขตปา่ สงวน สาหรบั ภมู อิ ากาศ จงั หวัดยโสธร มี ๓ ฤดู คือ ฤดรู อ้ น ฤดูฝน และฤดหู นาว ความชน้ื สมั พทั ธ์ เฉล่ยี เท่ากบั ๗๑.๑% อุณหภมู ิสูงสดุ ๔๑.๑ องศาเซลเซียส อุณหภมู ิต่าสุด ๑๒.๒ องศาเซลเซยี ส

๑๘ แหล่งเรยี นร้ตู าบลโนนเปือย มาฆะฟาร์ม(สวนตาผอง) มาฆะฟาร์ม(สวนตาผอง) ต้ังอยู่ บ้านสุขเกษม หมู่ 9 ตาบลโนนเปือย อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร เป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านเศรษฐกิจพอพียงและสมุนไพร พืน้ บา้ น ในแบบเกษตรอินทรีย์ ทสี่ ามารถนามาใช้ ประกอบอาหารและแปรรูปได้ เช่น ขมิ้นชัน ว่านหางจระเข้ ย่านาง รางจืด กระชาย รากสามสิบ ฟ้าทะลายโจร บัวบก กระเจี๊ยบแดง ว่านชักมดลูก บอระเพ็ด กระชายดา อัญชัญ เป็นต้น พ้ืนท่ีสาหรับ การ ทาโรงเรือน เพาะพืช ตระกูลเห็ด เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฟางฯลฯ พื้นท่ีสาหรับการทา โรงเรือนปุ๋ยหมักชีวภาพ ในการทาสวนทาไร่ แบบเกษตรอินทรีย์ของมาฆะฟาร์ม น้ัน จะเน้นความหลากหลาย ของพืชพรรณ ดังน้ันพืช ผัก ผลไม้ของฟาร์ม จะมีการปลูก แบบสลบั สบั เปล่ยี น หมุนเวียนไปตามฤดูกาลของพืชนั้นๆตลอดเวลา แต่จะเน้นการทา เกษตร ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ราชการท่ี 9 ทีว่ ่า “ปลกู ทกุ อย่างท่ีกิน กนิ ทุกอย่างท่ปี ลูก” เพื่อใหท้ ุกคนที่มาศึกษาดูงาน สามารถไป ปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวันของทุกคนได้

๑๙ ตาบลกาแมด ประวตั ิและข้อมูลสภาพท่ัวไป ลักษณะทต่ี งั้ และขนาดพน้ื ที่ ตาบลกาแมด ตง้ั อยู่ทางทิศตะวนั ออกของอาเภอกุดชมุ ห่างจากอาเภอกดุ ชมุ ประมาณ 8 กโิ ลเมตร และห่างจากตัวจงั หวดั ยโสธร ประมาณ 45 กโิ ลเมตร ( 2 มีนาคม 2540 จัดตงั้ อบต.) อาณาเขต ต้ังอยู่ทศิ ตะวนั ออกของอาเภอกุดชมุ โดยมีอาณาเขตดังนี้ ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั อาณาเขตของตาบลโนนเปอื ย อาเภอกดุ ชมุ จังหวัดยโสธร ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั อาณาเขตของตาบลโคกนาโก อาเภอปา่ ตวิ้ จังหวัดยโสธร ทิศใต้ ติดต่อกับอาณาเขตของตาบลหนองเปด็ อาเภอเมือง จงั หวดั ยโสธร ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั อาณาเขตของตาบลนาโส่ อาเภอกุดชมุ จงั หวดั ยโสธร ลักษณะภูมปิ ระเทศ ลกั ษณะของพื้นท่ีองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลกาแมด ส่วนใหญเ่ ปน็ ท่รี าบมีหนอง บึง ลาห้วยทั่วไปลักษณะของดินในพ้ืนท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลกาแมด เป็นดินร่วนปน ทรายป๎จจุบันใช้ประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทานา สภาพป่าใน ปจ๎ จบุ นั จะพบเฉพาะท่ีเป็นพ้ืนที่ป่าสาธารณะ(ป่าช้า) และป่าเบญจพรรณในเขตพ้ืนที่ ของ สปก.

๒๐ แหลง่ เรยี นรตู้ าบลกาแมด วดั สุรโิ ยกาแมด วัดสรุ ิโย หรือ วัดสรุ ิโยกาแมด หมู่ท่ี ๑ บ้านกาแมด ตาบลกาแมด อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ตามประวัติระบุว่าต้ังขึ้นเมื่อประมาณ พ .ศ. ๒๔๕๔ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเม่ือวันท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๓ ภายในวัดมี โบราณสถานสาคญั ได้แก่ อุโบสถ (สิม) หลังเก่า อุโบสถ (สิม) หลังเก่า ตามประวัติระบุว่าสร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๒ โดยพระ ปลัดสี ซ่ึงเป็นเจ้าอาวาสในขณะน้ัน พร้อมคณะศิษย์และชาวบ้าน ลักษณะทาง สถาป๎ตยกรรมและศิลปกรรมได้รับอิทธิพลญวน ดังจะเห็นได้จากเป็นอาคารก่ออิฐถือ ปูน ทาวงโค้งประดับระหว่างช่วงเสาและเหนือขอบหน้าต่าง ระหว่างช่วงเสาผนังด้าน นอกทาปูนปน้๎ ลายท่อนพวงมาลัยห้อยอุบะประดับ ทาสีน้าเงิน สีเหลืองสีแดง ตกแต่ง ปนู ป๎้นเปน็ หลัก ตัวอาคารมีขนาด ๓ ห้อง ทามุขด้านหน้าทางทิศตะวันออก มีบันไดทางข้ึนท่ี ก่ึงกลางด้านผายออก หัวเสาประดับด้านหน้าทาเป็นบัวแวงทาสี ถัดข้ึนไปเป็นขอบ หน้าบันมีข้อความเขียนด้วยสีน้าเงินว่า “ต่อมา (อ.จ.ท พันธ์) ทาลาย พ.ศ. ๒๔๙๐ สิมาน้ี (พระปลัดสี) พร้อมศิษย์และชาวบ้าน สร้าง พ.ศ. ๒๔๘๒” ถัดขึ้นไปเป็นหน้า บันประดับปูนป้๎นรูปเทพเทวาผุดจากดอกบัว มือท้ังสองข้างถือเครื่องสูง และทาลาย เครือเถาประดับท้ังสองข้าง หน้าบันด้านหลังทาเป็นปูนป้๎นรูปหนุมาน ไม่มีลายอื่นใด ประกอบ ในอดตี น่าจะมุงด้วยแป้นเกลด็ หรอื กระเบื้องดินเผา ปจ๎ จุบนั มงุ ด้วยสังกะสี กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนและกาหนดเขตท่ีดินโบราณสถานวัดสุริโย (วัดกาแมด) ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๒๒๐ ฉบับพิเศษ หน้า ๑๗ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ พื้นที่โบราณสถานประมาณ ๒ ไร่ ๑ งาน ๒๐ ตารางวา

๒๑ วดั สุรโิ ยกาแมด

๒๒ ตาบลนาโส่ ประวตั ิและข้อมลู สภาพทัว่ ไป ลกั ษณะที่ตั้งและขนาดพนื้ ที่ ตาบลนาโส่ เป็นตาบลที่ตงั้ อยูท่ างทศิ ใตข้ องอาเภอกุดชุม ระยะทางห่างจาก ท่ีว่าการอาเภอกุดชุมไปทางทิศใต้ ประมาณ 10 กิโลเมตร และมีระยะทางห่างจาก จังหวัดยโสธร 37 กิโลเมตร ตาบลนาโส่ มีเนื้อท่ีท้ังหมด 34.28 ตารางกิโลเมตร หรอื 21,430 ไร่ ดงั นี้ เน้อื ทีส่ าหรบั ใชท้ าการเกษตรกรรม 16,501.10 ไร่ เนอ้ื ทีส่ าหรับใช้เปน็ ท่ีอยอู่ าศัย 4.286 ไร่ เน้อื ท่สี าธารณะประโยชนแ์ ละอื่นๆ 642.90 ไร่ อาณาเขต ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั ตาบลกุดชุม อาเภอกดุ ชุม จังหวัดยโสธร ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ตาบลไผ่ อาเภอทรายมูล จังหวดั ยโสธร ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั ตาบลกาแมด อาเภอกุดชมุ จงั หวัดยโสธร ทศิ ตะวันตก ติดต่อกบั ตาบลห้วยแกง้ อาเภอกดุ ชุม จังหวดั ยโสธร ลักษณะภมู เิ ทศ พื้นทีโ่ ดยท่ัวไปของตาบลนาโส่ ต้ังอยู่สูงกว่าระดับน้าทะเลประมาณ 150-154 เมตร เปน็ ทีร่ าบสงู สภาพดินเป็นดนิ รว่ นปนทราย มีลาห้วยโพง (ห้วยแสนลึก)และ ลาห้วยบง ไหลผ่าน มีป่าสมุนไพร มีอากาศร้อนเป็นส่วนใหญ่ มีอากาศหนาวในฤดู หนาวจัดในชว่ งเดอื นธนั วาคมและมฝี นตกชุกในฤดฝู น เขตการปกครอง เขตพื้นท่ีรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตาบลนาโส่ มีหมู่บ้าน ท้ังหมด 11 หมูบ่ า้ น

๒๓ แหลง่ เรยี นรู้ตาบลนาโส่ ชมรมรักษ์ธรรมชาต(ิ กลมุ่ เกษตรกรทานานาโส)่ กลุ่มเกษตรกรทานาโส่ จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลเม่ือ15 มีนาคม 2519 ทะเบียนเลขที่ ยส.3/2519 ตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 141 ประกาศ ณ วันท่ี 1 พฤษภาคม 2515ได้ดาเนนิ การในรปู แบบคณะกรรม การนาสินค้าป๎จจัยด้านการ ผลิตทางการเกษตร (ปุ๋ยเคมี) มาบริการให้ กับสมาชิก แต่ประสบป๎ญหาการ ขาดทุนไม่มีการดาเนินกิจกรรมต่อ จนกระท่ังกลุ่มผู้นาไม่เป็นทางการของบ้านโสก ขุมปูนโสเหล่กันเพ่ือ ระดมความคิดเห็นและรวมกลุ่มแก้ป๎ญหา สืบถึงกิจกรรมแรก ผู้นากลุ่มเห็นว่าการต้ังกองทุนร้านค้าจะ ช่วยให้ชาวบ้านเรียนรู้การช่วยเหลือกัน จึงได้ระดมทุนก่อต้ังเป็น “กองทุนร้านค้าหมู่บ้าน”เพ่ือรวมกันซ้ือรวมกันสินค้า บริหารจัดการใน รูปกลุ่มชาวบ้าน ซ่ึงต่อมาพัฒนาเป็น “กองทุนพัฒนาหมู่บ้าน” และ ดาเนินกจิ กรรมการบริหารในรูปกลมุ่ สบื เนื่องมาถึงป๎จจบุ ัน 2526 ก่อต้ัง”ชมรมหมอยาพื้นบ้านและผู้สนใจอาเภอกุดชุม” เป็นท่ีรวมของ หมอยาพ้ืนบ้าน พระสงฆ์ ครู พยาบาลและนักพัฒนา เอกชนร่วมกันทางานมา ตลอด จนกระทั่งปี 2533 ได้จัดต้ังเป็น “ศูนย์พัฒนาวัตถุดิบสมุนไพรวัดท่าลาด” ดาเนนิ การดา้ นการผลติ วตั ถุ ดบิ และยาสมุนไพร 2533 มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ นักเกษตรกรรมธรรมชาติชาวญ่ีปุ่นได้ มาเยือนกุด ชุมและบรรยายเร่ืองเกษตรกรรมธรรมชาติ ซึ่งสร้างแรง บันดาลใจให้แก่ชาวบ้าน เป็นอย่างย่งิ ทาใหเ้ กิดการทานาธรรมชาตขิ นึ้ ในชุมชนบ้านโสกขมุ ปูน และขณะนั้น กระแสการบรโิ ภคเพ่อื สุขภาพ และการบริโภคท่ีไม่ทาลายส่ิงแวดล้อมในสังคมไทยได้ ตื่นตัว โครงการ สมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเองจึงประสานเชื่อมโยง กลุ่มผู้บริโภคใน กรุงเทพมหานคร และผู้ผลิตที่กุดชุมเข้าเป็นเครือข่าย “ชมรมเพ่ือนธรรมชาติ” เพ่ือ ส่งเสริมและจัดจาหน่ายข้าวปลอดสารพิษ ปลอดสารเคมีแก่ผู้บริโภค เม่ือมี ช่องทางตลาดก้าวเข้าสู่ธุรกิจชุมชน โรงสีข้าวจึงเกิดข้ึนกลุ่มผู้นา ตระเวนหาความรู้ โดยการดูงานตามโรงสี ต่างๆ ระดมทุนจากชาวบ้านการขายข้าวสารล่วงหน้าจาก มลู นธิ เิ ดก็ และ โครงการสมุนไพรเพ่อื พึ่งพาตนเองเพ่ือก่อสร้างโรงสี เมอื่ สรา้ งสาเร็จ กลุ่มผู้นาและสมาชิกพรอ้ มใจกันต้งั ชือ่ วา่ ” ชมรมรักษ์ธรรมชาต”ิ ทางานร่วมกับกลุ่ม เกษตรกรทานา นาโส่

๒๔ วิสยั ทัศน์ เกษตรกรต้องปรับปรุงเปล่ียนแปลงแบบแผนการผลิตทางการ เกษตรให้เป็น เกษตรกรรมยัง่ ยนื ที่มีการผลติ หลากหลายและไม่ใช้สาร เคมี สร้างกระบวนการกลุ่ม เพอ่ื การเรยี นร้สู ู่การแก้ไขป๎ญหาชมุ ชน วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือส่งเสริมให้เกษตรกรทานาโดยไม่ใช้สารพิษและสารเคมี โดยคานึงถึงสุขภาพ และความปลอดภยั ท้ังผู้ผลติ ผ้บู ริโภค และสิ่งแวดล้อม 2. เพ่อื สง่ เสริมใหเ้ กษตรกรปรับเปลี่ยนระบบการผลิตเป็นระบบเกษตรกรรมยั่งยืนที่ มีการผลติ ท่ีหลากหลาย 3.เพ่ือรับซ้ือข้าวเปลือกจากเกษตรกรในราคาเป็นธรรมและแปรรูปข้าว เปลือกเป็น ข้าวสารขายสู่ตลาดภายในและนอกประเทศ 4. เพื่อเป็นกิจกรรมท่ีเอื้อให้เกษตรกรเกิดการเรียนรู้ในการทางาน การบริหาร จดั การธุรกจิ . 5.เพือ่ สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ของเกษตรกรอนั เปน็ ปจ๎ จยั ท่ที าให้ชุมชน 6. เพ่ืออนุรักษ์และฟ้ืนฟูพนั ธกุ รรมพน้ื บา้ น

๒๕ ศูนยพ์ ฒั นาวตั ถดุ ิบสมุนไพรชุมชน วดั ทา่ ลาด เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ หมอยาพ้นื บ้านและชาวบ้านทสี่ นใจสมนุ ไพรในอาเภอกุด ชุม ได้ร่วมกันก่อต้ัง “ชมรมหมอยาพ้ืนบ้านและผู้สนใจสมุนไพร อ.กุดชุม จ.ยโสธร” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ชาวบ้านหันมาใช้สมุนไพรในการดูแลรักษา สุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน เน่ืองจากตระหนักว่า ในท้องถิ่นยังมี สมุนไพรอันเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีคุณค่า สามารถนามาใช้ในการดูแลรักษา ตนเองได้ในยามเจ็บป่วย โดยอาศัยความรู้ของหมอพ้ืนบ้าน และภูมิป๎ญญาท้องถิ่นซ่ึง เปน็ มรดกตกทอดมายาวนาน หลังจากก่อตั้งชมรมหมอยาพ้ืนบ้านฯ เป็นต้นมา ชาวบ้านในเขตอาเภอกุดชุม มี ความตื่นตัวในการใช้สมุนไพรดูแลรักษาสุขภาพ จากการจัดกิจกรรมสมุนไพรต่าง ๆ ลงไปในชมุ ชน เช่น การจัดคาราวานสมุนไพรออกไปใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั เร่ืองสมุนไพรใน พื้นที่เป้าหมาย การเดินป่าศึกษาและเก็บตัวอย่างสมุนไพรในป่าชุมชน ป่าอนุรักษ์ และป่าดอนปู่ตา การบริการทางด้านสุขภาพ เช่น การอบสมุนไพรและการนวดทุก วันพระ การเพาะขยายก่ิงพันธุ์สมุนไพรให้กับสมาชิกเพ่ือนาไปปลูกและจาหน่าย ให้กับผู้สนใจ โดยทั้งหมดน้ีมีวัดท่าลาดเป็นศูนย์กลาง มีการประสานงาน และ สนับสนุนจากหนว่ ยงานราชการและองคก์ รพัฒนาเอกชน เมื่อชาวบ้านมีความรู้และตื่นตัวในการใช้สมุนไพรกันมาก จึงได้มีการพัฒนาจาก การใช้สมุนไพรมาสู่การแปรรูปเป็นยา เพื่อการใช้ท่ีสะดวกขึ้น ท้ังยังส่งเสริมให้ ชาวบ้านปลูกสมุนไพรและเก็บมาจาหน่ายให้กับศูนย์ฯ เพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิตยา แปรรูป เป็นรายได้เสริมในครอบครัวและชุมชน ต่อมาจึงได้มีการจัดต้ังเป็น ศูนย์ พัฒนาวัตถุดิบสมุนไพร วัดท่าลาดข้ึน ในปี ๒๕๓๕ โดยการสนับสนุนของสถาบัน การแพทยแ์ ผนไทยและมลู นิธสิ ขุ ภาพไทย

๒๖ ป๎จจุบันศนู ยไ์ ด้เปลยี่ นชอ่ื เป็น “ศูนย์สขุ ภาพและพัฒนาวตั ถุดิบสมุนไพรชุมชน วัดทา่ ลาด” ซ่ึงมีการบรหิ าร จดั การกนั เองโดยชาวบา้ น และมเี ปา้ หมายดังน้ี ๑.สง่ เสรมิ การเพาะ ขยายพนั ธ์ ปลกู สมนุ ไพรเพ่ือใช้และจาหน่ายเปน็ รายไดเ้ สริม ในชมุ ชน ๒.เป็นแหล่งรับซอื้ วัตถดุ บิ จากสมาชิกในหมู่บา้ นเปา้ หมาย ๓.แปรรูปสมนุ ไพร (ซ่ึงใชว้ ัตถุดิบในชมุ ชน) ใชแ้ ละจาหนา่ ยทงั้ ในและนอกชุมชน ๔.รวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับสมุนไพรในทอ้ งถิน่ เพือ่ เผยแพรแ่ ละส่งเสริมให้เกดิ การ ใช้สมุนไพรในการดูแลรักษาสขุ ภาพ ๕.ส่งเสริมการอนรุ ักษส์ มุนไพรและการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตเิ พื่อให้เกิดความ ยงั่ ยืน กิจกรรม ๑. สง่ เสรมิ การเพาะ ขยายพันธ์ และปลกู สมนุ ไพรเพือ่ ใชแ้ ละจาหน่ายเปน็ รายได้เสรมิ ในชุมชน ๒. แปรรปู สมุนไพร (ซึง่ ใชว้ ัตถดุ บิ ในชุมชน) ใชแ้ ละจาหน่ายทั้งในและนอกชุมชน ๓. เปน็ แหล่งรับซ้ือวัตถดุ ิบสมุนไพรจากสมาชกิ ในหม่บู า้ นเป้าหมาย และ จาหนา่ ยวตั ถุดบิ ใหแ้ กผ่ ้สู นใจท่ัวไป ๔. บรกิ ารนวดและอบสมุนไพรใหก้ ับคนในชมุ ชนทุกวันพระ ๕. จดั คาราวานสมุนไพรออกไปเผยแพรค่ วามรู้ และสาธติ การแปรรูปสมุนไพร ใหแ้ กช่ มุ ชนใกล้เคยี ง และโรงเรียนในพื้นที่ ๖. เปน็ แหลง่ ศึกษาดูงานเร่ืองสมนุ ไพรขององค์กรชาวบ้าน องคก์ รเอกชน และ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของราชการ ๗. รวบรวมภูมิปญ๎ ญาพื้นบา้ นและความรเู้ กี่ยวกบั สมุนไพรในทอ้ งถน่ิ เพอ่ื เผยแพรแ่ ละสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การใช้สมนุ ไพรและองคค์ วามรู้พืน้ บา้ นในการดแู ลรักษา สขุ ภาพ

๒๗ การทางานของศูนย์ได้แบง่ ออกเปน็ ๕ กลุ่มงานคือ ๒.๑ กลุ่มงานรบั ซอ้ื วตั ถุดบิ ทาหนา้ ท่รี บั ซ้ือวตั ถุดบิ สมนุ ไพรจากสมาชิก ๒.๒ กลุ่มงานล้าง-หั่น-ตาก-อบ ทาหน้าที่ทาความสะอาดและเตรียมวัตถุดิบ สมนุ ไพรให้พรอ้ มสาหรับการแปรรูป ๒.๓ กลุ่มงานบด-ร่อนยา ทาหน้าที่บดและร่อนวัตถุดิบสมุนไพรท่ีต้องใช้แบบ บดละเอยี ด ๒.๔ กลมุ่ งานผลติ -แปรรปู ยา ทาหน้าทแี่ ปรรูปสมุนไพรจากวัตถุดิบที่เตรียมไว้เป็น ผลิตภัณฑย์ าแปรรูป เชน่ ยาลูกกลอน แคปซูล ขี้ผ้ึง ฯลฯ ๒.๕ กลุ่มงานหมอยาพื้นบ้าน ทาหน้าที่ให้บริการนวด และอบสมุนไพรทุก ๆ วัน พระ ข้อกาหนดของศูนย์ฯ เนื่องจากศูนย์ดาเนินงานโดยเน้นความเป็นเจ้าของโดยชุมชน ดังนั้นข้อกาหนดจึง ทาข้ึนโดยมุ่งเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชนแ์ กส่ มาชกิ และชมุ ชนเป็นหลกั ๑. การเปน็ สมาชิกของศนู ย์ฯ ต้องถอื ห้นุ อยา่ งนอ้ ย 5 หุ้นข้นึ ไป (ราคาหุ้นละ 10 บาท) ๒. สนับสนุนก่ิงพันธท์ุ ุกชนิดแกส่ มาชิก ๓. ห้ามใชส้ ารเคมีในการปลูกสมุนไพรทกุ ชนดิ ๔. วตั ถดุ ิบสมนุ ไพรท่รี ับซื้อจะซ้ือเฉพาะจากสมาชกิ เท่านนั้ ป๎จจุบันศูนย์ฯ อยู่ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของผู้จัดการ คือนายเกรียงศักด์ิ เวฬุวนารักษ์ โดยมีทีป่ รกึ ษาคอื ๑. พระครสู ภุ าจารวฒั น์ เจ้าคณะตาบลนาโส่ อาเภอกดุ ชมุ จังหวัดยโสธร ๒. นางชุจริ า มิทราวงศ์ นักวชิ าการอิสระ ๓. นางสาวสุนยี ์ ทองชัย นักพฒั นาเอกชน ๔. นายธีรเดช อุทัยวิทยารตั น์ นักวชิ าการอสิ ระ และแพทย์อายรุ เวทอินเดยี 5. นายยทุ ธกร ชมวงษ์ ผอ.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลนาโส่

๒๘ กลุ่มทอผ้าบา้ นโคกสวาท โดยอดีตท่ีผ่านมาชุมชนบ้านโคกสวาท ก็มีการทอผ้าไว้ใช้ในครอบครัวของตนเอง มาโดยตลอด แต่ยัง ไม่ได้ตั้งเป็นกลุ่ม เมื่อรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ และกลุ่ม OTOP เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของ ประชาชนในชนบท กลุ่มสตรีบ้านโคก สวาทจึงได้รวมกลุ่มจัดตั้งกลุ่มทอผ้าขึ้นมา โดยใช้ช่ือว่า กลุ่มทอผ้า “โคกดอกฝ้าย” ท่ี บ้านโคกสวาท หมู่ ๑๐ ต.นาโส่ อ.กุดชุม จ.ยโสธร ตอ่ มา ได้ส่งคัดสรรค์ท่ีจังหวัด จากนั้น กลุ่มทอผ้าบ้านโคกสวาท “โคกดอกฝ้าย” พัฒนาขึ้นเรื่อยๆป๎จจุบันเข้าสู่ สินค้า OTOP หนงึ่ ตาบล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ จงึ เปน็ จุดเรมิ่ ต้นของการต้ังกลุ่ม จากนั้นกลุ่มก็ได้มีการพัฒนาและทากันมาอย่างต่อเน่ือง จากการสนับสนุนทั้ง จากหน่วยงานราชการ เชน่ กศน.อาเภอกดุ ชมุ , พฒั นาชุมชน องค์การบริหารส่วนตาบล วิทยาลัยการอาชีพ ฯลฯ ดว้ ยดีตลอดมา ในป๎จจุบัน กลุ่มทอผ้าบ้านโคกสวาท “โคกดอก ฝา้ ย” สามารถสรา้ งผลิตภัณฑ์ สร้างงาน และสรา้ งรายได้ใหก้ บั กล่มุ สตรไี ดเ้ ปน็ อย่างดี

๒๙ ตาบลคาน้าสรา้ ง ประวัตแิ ละขอ้ มูลสภาพทั่วไป ลกั ษณะทีต่ ง้ั และขนาดพ้นื ที่ ตาบลคาน้าสร้าง รูปร่างคล้ายรูปหัวใจ ห่างจากจงั หวดั ยโสธร ประมาณ ๔๙ กโิ ลเมตร อาณาเขต ตาบลคานา้ สรา้ งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉยี งเหนอื ของอากดุ ชมุ และ อย่ทู างทิศเหนอื ของจังหวดั ยโสธร โดยมอี าณาเขตตดิ กบั ตาบลต่าง ๆ ดงั นี้ ทศิ เหนือตดิ กบั ตาบลหนองแหน อาเภอกดุ ชุม ทิศใต้ตดิ กับตาบลหนองหมี อาเภอกุดชุม ทศิ ตะวนั ออกตดิ กับตาบลกุดชุม อาเภอกดุ ชุม ทิศตะวนั ตกตดิ กบั ตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม สภาพพ้นื ท่ที ่วั ไป ลักษณะภมู ปิ ระเทศ และภูมิอากาศ สว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบดนิ ปนทราย พื้นทีเ่ ป็นปา่ เส่ือม โทรม ทางตอนเหนอื ของตาบลเป็นเทอื กเขาเตย้ี ๆ ระหว่างหมู่ท่ี ๙,๕,๘ พืน้ ทีล่ ่มุ พบท่ี หมู่ ๑,๒,๓,๔,๖,๗,๑๐,๑๑ และมแี หล่งน้าทใ่ี ช้ในการเกษตรในหมบู่ า้ นเลก็ น้อย สากรับภูมอิ ากาศ ตาบลคานา้ สรา้ ง มี ๓ ฤดู คอื ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดหู นาว

๓๐ แหลง่ เรียนรตู้ าบลคานา้ สรา้ ง น้าตกนางนอน ให้น้าตกนางนอน อนั เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตเิ พียงแห่งเดยี วของ อ.กุดชุม จ.ยโสธร และเป็นต้นน้าสาคัญท่ีหล่อเลี้ยงชาวบ้าน มีน้าไหลผ่านช่องหินลงสู่ เบื้องล่างอย่างสวยงาม มีนักท่องเท่ียวได้ไปเที่ยวชมและลงเล่นน้ากันอย่างสนุกสนาน ท่ีผ่านมาได้มีนักท่องเที่ยวในพื้นที่ จ.ยโสธร ต่างทยอยเดินทางมาชมความสวยงามและ เลน่ นา้ ตกนางนอน ซึ่งต้ังอยู่บริเวณเทือกเขาภูถ้าพระ ต.คาน้าสร้าง อ.กุดชุม จ.ยโสธร ซ่งึ เปน็ น้าตกทางธรรมชาติเพยี งแหง่ เดียวของ จ.ยโสธร โดยน้าตกมีความสูง 3 ชั้น เป็น แหลง่ ตน้ นา้ สาคญั ทไี่ หลลงไปหล่อเล้ียงชาวบ้านท้ัง อ.กุดชุม ซ่ึงขณะน้ีน้าตกได้มีน้าไหล ผ่านช่องหินลงสู่เบื้องล่างอย่างสวยงาม และมีปริมาณน้าขังตามแอ่งต่างๆ ของบริเวณ น้าตกตลอดสาย ถึงแม้ปีน้ีมีน้าไม่มากเหมือนปีที่ผ่านมา แต่ก็มีนักท่องเท่ียวเข้าไปเที่ยว ชมและลงเล่นน้าตากปกติ โดยน้าไหลผ่านช่องหินออกมาจากป่าลึก กลายเป็นน้าตกท่ี สวยงามเหมาะสาหรับทีจ่ ะไปเทีย่ วชมและลงเลน่ น้าบรเิ วณแอง่ น้าตกได้ น้าตกแห่งน้ีจะ มีน้าไหลตลอดรอนักท่องเท่ียวยาวไปจนถึงเดือนธันวาคมนี้ ส่วนเส้นทางในการเดิน ทางเข้าเที่ยวชมค่อนข้างลาบากไม่มีการพัฒนา นักท่องเที่ยวต้องเดินเท้าประมาณ 2 กิโลเมตร เน่ืองจากน้าตกอยู่กลางป่าลึก ซ่ึงถ้าหากในอนาคตทางหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นท่ีจัดสรรงบประมาณเข้าไปดาเนินการพัฒนา โดยเฉพาะเส้นทางท่ีจะเข้าสู่น้าตกแห่งนี้คาดว่าจะมีนักท่องเท่ียวสนใจเดินทางเข้าไป เที่ยวชมจานวนมาก นอกจากน้ีน้าตกนางนอนถือว่าเป็นน้าตกแห่งเดียวในจังหวัด ยโสธร.

๓๑ วัดปา่ ภูถ้าพระ วัดป่าภูถ้าพระ เป็นวัดท่ีมีลานหินกว้างและมีถ้าเป็นส่วนใหญ่ ภายในถ้าจะมี พระพทุ ธรูปอยู่ในบรเิ วณนัน้ เป็นจานวนมาก เหมาะสาหรับพักผ่อนหย่อนใจ ตั้งอยู่ทาง ทิศตะวันออกของหมู่บ้านกุดแห่ หรือกุดแห ตาบลกุดเชียงหมี ห่างจากอาเภอเลิงนกทา 12 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 212 และห่างจากอาเภอเมือง 85 กิโลเมตร ที่ เรียกว่า “ภูถ้าพระ” เน่ืองจากมีพระพุทธรูปอยู่ในถ้าจานวนมาก ถ้าพระนี้เป็นถ้าใหญ่ กวา้ งประมาณ 3 วา ยาวประมาณ 8 วา ตั้งอยู่ชะง่อนภูด้านทิศใต้ มีทางเข้าไปตามซอก หินเป็นอุโมงค์ จากปากถ้าเลยไปทางทิศเหนือสามารถเดินลอดไปได้ บนภูเขาลูกน้ี นอกจากจะมบี รรยากาศร่มเย็นและร่มรื่นไปด้วยป่าไม้หนาทึบแล้ว บริเวณโดยรอบยังมี ถ้าอ่ืน ๆ อีก อาทิ ถ้าเค็ง ถ้างูซวง ถ้าเกลี้ยง และถ้าพรหมบุตร เป็นถ้าที่มีพระพุทธรูป อยใู่ นถ้าจานวนมาก ล้วนแตเ่ ปน็ พระพุทธรปู โบราณอนั ศักดิ์สทิ ธิ์ บนภูเขาลูกนี้นอกจาก มบี รรยากาศร่มเย็นและรม่ ร่ืนไปดว้ ยปา่ ไมห้ นาทบึ แล้ว บริเวณโดยรอบยังมีถ้าอื่น ๆ อีก ไดแ้ ก่ ถ้าเค็ง ถ้างซู วง ถ้าเกล้ยี ง และถ้าพรหมบตุ ร ถ้าพระนม้ี ีธรรมชาติ เป็น 2 ชั้น เป็น ท่ปี ระดิษฐาน พระพทุ ธรูปซงึ่ ตั้งเรยี งรายอยเู่ ป็นแถว ๆ และมี พระพุทธรูปปางไสยาสน์ พระกัจจายนะ 2 องค์ สร้างสมัยอาจารย์ดี ฉันโน อยู่ในถ้านอี้ ยา่ งงดงาม

๓๒ ตาบลโพนงาม ประวตั แิ ละข้อมูลสภาพท่ัวไป ลักษณะท่ตี ง้ั และขนาดพื้นที่ ตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม จงั หวัดยโสธร ตงั้ อยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดยโสธรและอยู่ ทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื ของอาเภอกดุ ชมุ ห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 40 กิโลเมตร และห่างจากอาเภอกดุ ชุมประมาณ 20 กิโลเมตร มพี ืน้ ท่ที ั้งหมด 93.77 ตาราง กโิ ลเมตร อาณาเขต ทศิ ตะวันออก จดตาบลคาน้าสร้างและตาบลหนองหมี อาเภอกุดชมุ ทศิ เหนือ จดตาบลหนองแหน อาเภอกดุ ชมุ ทิศตะวันตก จดตาบลนาเวียง อาเภอทรายมูล ทศิ ใต้ จดตาบลดลู่ าด อาเภอทรายมลู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ตาบลโพนงาม มีสภาพโดยท่วั ไปเปน็ ที่ราบสงู มีปา่ ไม้อยู่ท่วั ไป ประเภทป่าเปน็ ปา่ เบญจพรรณ สภาพดนิ เปน็ ดินร่วนปนทราย อาศยั น้าฝนในการเพาะปลูก ภมู ิอากาศ ลักษณะทางภมู ิอากาศเปน็ แบบมรสุม มี 3 ฤดู คอื ฤดูรอ้ น เรมิ่ ต้ังแต่ มนี าคม – เมษายน ฤดูฝน เริม่ ตงั้ แต่ พฤษภาคม – กนั ยายน ฤดูหนาว เริม่ ต้ังแต่ ตุลาคม – กุมภาพนั ธ์ ลักษณะของดิน สภาพดนิ เปน็ ดินร่วนปนทราย อาศยั น้าฝนในการเพาะปลูก

๓๓ แหลง่ เรียนรตู้ าบลโพนงาม เกษตรอนิ ทรีย์ บ้านคาไหล เลขที่ ๖๒ หมู่ที่ ๑๒ ต.โพนงาม อ.กุดชุม จ. ยโสธร (นายนา จันทร์ งาม)เป็นระบบการเกษตรท่ีมีการเพาะปลูกพืชหรือ การเลี้ยงสัตว์ต่างๆ ชนิดอยู่ในพื้นที่ เดยี วกันภายใตก้ ารเก้ือกูล ประโยชน์ต่อกันและกันอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด โดยอาศัย หลักการอยู่รวมกันระหว่างพืช สัตว์และสิ่งแวดล้อม การอยู่รวมกันอาจจะอยู่ในรูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับพืช พืชกับสัตว์ หรือสัตว์กับสัตว์ก็ได้ ระบบเกษตรผสมผสาน จะประสบผลสาเร็จได้จะต้องมีการวางรูปแบบและดาเนินการโดยให้ความสาคัญต่อ กจิ กรรมแต่ละชนดิ อย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมโครงการระบบสง่ เสริมการเกษตร

ศาลาการเปรยี ญ (หอแจก) ๓๔ สถาปต๎ ยกรรมโบราณ แหล่งเรยี น รบู้ ้านโพนงาม ศาลาการเปรียญ (หอแจก) บ้านโพนงาม (วัดโพธารามเก๋า)เป็นอาคารไม้ ยกพื้น โดยยกพื้นสูงจากระดับผิวดินประมาณ ๒ เมตร ศาลา ระดับพ้ืน ๒ระดับ คือ อาสนะสงฆจ์ ะยกพนื้ สงู กวา่ ระดับพืน้ ศาลาประมาณ ๒0 เชนติเมตร เสาเป็นเสาไม้กลม ถากมือขนาดใหญ่จานวน ๒0 ตัน หลังคาช้อนกัน ๓ ช้ัน ช้ันแรกและช้ันที่สองเป็นทรง ป้๎นหยา ชั้นบนสุดทรงจ่ัวปีกนก มุงด้วยสังกะสี ภายนอกอาคารส่วนท่ีเป็นแผงคอสอง เขียนลวดลายประจายามลงสีฟ้า ขาว แดง ตัดเส้นด้วยสีเหลือง ตกแต่งเครื่องหลังคา ด้วยเครื่องไม้ แกะสลักลวดลายสวยงาม ประกอบด้วย ป้๎นลม ช่อฟ้า หางหงส์ สัน หลังคา สันตะเผ่าและเชิงชาย ฝาผนังด้านหลัง (ทางทิศเหนือ) มีขนาดสี่ห้องเว้นช่อง หน้าต่างห้องละช่อง ๑ ช่อง ส่วนด้านข้างท้ังสองด้านมีฝาผนังด้านละหนึ่งห้องเว้นช่อง หน้าด่างด้านละ 1 ช่อง ฝาผนังไม้ท้ังสามด้านตีไม้ทับเกล็ดตามแนวนอนต่อด้วยดีต้ัง เหนือหน้าด่างข้ึนไปขนหลังคา พ้ืนระดับที่สองโล่งไม่มีฝาผนัง มีบันไดข้ึนท้ังสองต้น พร้อมหลังคาคลุมมุมงวยสังกะสี เช่นกัน ตกแต่งซุ้มบันไดด้วยไม่ตีต้ังโค้งคล้ายรวงผึ้ง จากคาบอกเล่าสืบต่อกันมา ศาลาการเปรียญ(หอแจก) หลังนี้สร้างโดยพระหล้า เพ่ือ ทดแทนศาลาการเปรียญหลังเดิมท่ีชารุดเสียหาย เมื่อประมาณ ๗* ปีมาแล้วศาลาการ เปรียญ (หอแจก) ได้รับการบูรณะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยงบประมาณจาก สานักศิลปากรท่ี ๙ อุบลราชธานี จานวนเงิน ๑,๘๙๔,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านแปดแสนเก้า หม่นื สี่พันบาทถว้ น) ป๎จจุบนั อยู่ในความรับผดิ ชอบของสานักศิลปากรท่ี ๙ อุบลราชธานี กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม

๓๕ วดั คาเลา วัดคาเลา บ้านคาเลา ตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธรพบพระ อุโบสถสีฟ้าท่ีสร้างศิลปผสมผสานระหว่างลานนาและศิลปอีสานได้อย่างงดงามท้ัง ภายนอกภายในพระอุโบสถเหมือนสวรรค์บนดินรอรับนักท่องเที่ยวมาชมความ สวยงามและทาบญุ เพอื่ เปน็ มงคลแกต่ นเองและครอบครวั การกอ่ สรา้ งพระอุโบสถได้ นาเอาศิลปลานนามาผสมผสานกับศิลปทางอีสานและการสร้างพระอโบสถสีฟ้าน้ีก็ เพ่ือดึงดูดประชาชนให้มาท่องเที่ยวหรือมาทาบุญ ซ่ึงภายในพระอุโบสถจะมีพระ ประธานทาดว้ ยหยกขาวเพื่อประชาชนกราบไหว้สักการะบูชาส่วนพนังภายในจะวาด เทพองคต์ ่างๆรอบพนงั ภายในเหมือนอย่สู วรรค์ในสว่ นฐานพระอุโบสถจะมีรูปวิถีชีวิต ในการดาเนนิ ชีวติ ของชาวอสี านติดรอบฐานเพ่ือใหเ้ ดก็ รนุ่ หลงั ได้ศกึ ษาเรียนรู้ดว้ ย

๓๖ ตาบลหนองแหน ประวัติและขอ้ มลู สภาพทัว่ ไป ลกั ษณะทตี่ ัง้ และขนาดพน้ื ที่ ตาบลหนองแหนมภี มู ปิ ระเทศเปน็ ทรี่ าบสงู มพี ื้นทใี่ นเขตรบั ผิดชอบทงั้ หมดประมาณ 82 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 52,256 ไร่ เปน็ พ้ืนท่ีทาการเกษตร 26,602 ไร่ ตงั้ อยทู่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนอื ของอาเภอกดุ ชุมอย่หู า่ งอาเภอประมาณ 22 กิโลเมตร ห่างจากจงั หวัดยโสธรประมาณ 60 กโิ ลเมตร มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั พ้ืนทีใ่ กลเ้ คยี งดังน้ี ทิศเหนือ จดตาบลทา่ สดี า อาเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ทศิ ใต้ จดตาบลโพนงาม,คานา้ สร้าง อาเภอกดุ ชมุ จงั หวดั ยโสธร ทิศตะวนั ออก จดตาบลคาน้าสรา้ ง อ.กดุ ชุม และตาบลศรีแกว้ อ.เลิงนกทา จังหวดั ยโสธร ทิศตะวันตก จดตาบลโพธิท์ อง อ.เสลภูมิ และ ตาบลท่าสดี า อ.หนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด ทรัพยากรธรรมชาติ ตาบลหนองแหนมที รัพยากรธรรมชาติทส่ี มบรู ณ์ สวยงามและหลากหลายทาง ชีวภาพอย่ใู นพนื้ ทีป่ ่าโพนงาม-ดงปอ คือ พนื้ ที่ป่าภเู พ ประกอบดว้ ย ภทู างเกวียน ภู จอ้ กอ้ ภผู าขาว ภูผาดา่ ง และภูน้อย มพี นื้ ทร่ี วมประมาณ 8,000 ไร่ มแี หลง่ นา้ ที่ สาคญั ไหลลงสหู่ ว้ ยแกง้ กอก ห้วยแกว ลาน้ายัง หว้ ยแกง้ มีอ่างเกบ็ น้าขนาดเลก็ (อ่างเก็บนา้ กกถงุ ) เป็นอา่ งเกบ็ น้าท่กี นั้ ระหวา่ งภทู างเกวียนกับภผู าตา่ ง ซ่ึงกอ่ สร้าง เม่อื ปี พ.ศ. 2536 โดยกรมชลประทาน มคี วามจนุ ้าขนาด 1,226,360 ลบ.ม. และเปน็ แหลง่ นา้ ท่ีสาคัญในตาบลท่ใี ช้เพื่อการเกษตร และยงั เป็นแหล่งพกั ผ่อนของประชาชนใน ตาบลและประชาชนทัว่ ไป

๓๗ แหล่งเรียนรตู้ าบลหนองแหน อา่ งเกบ็ น้ากกกงุ อา่ งเกบ็ น้ากกกุง ประเภทสถานท่ีท่องเที่ยว : ธรรมชาติและสัตว์ป่า สถาน ท่ีตั้ง : บ้านหนองแหน ม.1อ่างเก็บน้าล้อมรอบด้วยภูเขา ป่าไม้สมบูรณ์ เหมาะแก่ การเที่ยวชมธรรมชาติ ตกปลา รับอากาศที่บริสุทธ์ิท้ังสองแห่งนี้ ตั้งอยู่ บ้านหนอง แหน ตาบลหนองแหน อาเภอกดุ ชุม จงั หวัดยโสธรภูทางเกวยี นเปน็ ภเู ขาทส่ี วยงาม อีกแห่งหน่ึงของอาเภอกุดชุมอ่างกกกุงเป็นอ่างเก็บน้าท่ีเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวใน ยามหนา้ แล้ง หนุ่มสาวสิพากันไปเล่นน้า แล้วกะหาบักหอยกันการเดินทาง : ห่าง จากตัวอาเภอกุดชุม ประมาณ 25 กิโลเมตร ตามถนนสาย กุดชุม -คาหัวคู แยก จากถนนสายหลกั ประมาณ 3 กิโลเมตร

๓๘ โคขนุ หนองแหน กลุ่มโคขุนบ้านหนองแหน หมู่ 7 ตาบลหนองแหน อาเภอกุดชุม จังหวัด ยโสธร กลุ่มโคขุนหนองแหนจัดต้ังขึ้นเมื่อวันท่ี ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยการ ชักชวนของ นายสุพี วงศพ์ ทิ ักษ์ ซึ่งเป็นประธานกลุ่มได้ชวนคนในชุมชนท่ีรักอาชีพ การเลี้ยงวัว มาเลี้ยงโคขุนโดยการลงหุ้นกัน คนละ ๒,๐๐๐ บาท เพื่อนาเงินมาทา กิจกรรมการเลย้ี งโคขุนคุณภาพดีสง่ ขายที่ สหกรณ์โพนยางค า จังหวัดสกลนคร มี สมาชิกครั้งแรก ๓๓ ราย ได้เงินหุ้น ๖๖,๐๐๐ บาท มีการบริหารจัดการกลุ่มใน รูปแบบของคณะกรรมการ มีเงินป๎นผลเฉลี่ยคืนให้กับสมาชิกท่ีทาธุรกิจร่วมกัน ปจ๎ จบุ ันกลุ่มโคขุนหนองแหนมีสมาชกิ ๒๓๐ ราย มีเงนิ หนุ้ ๔๖๐,๐๐๐ บาท จนทาให้ กลุ่มโคขุนหนองแหนได้รับคัดเลือกให้เป็นกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สาขาการ เล้ียงสตั ว์ เขา้ รบั โล่ พระราชทานในวนั แรกนาขวญั เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ นอกจากน้ี ยังมโี ฮมสเตย์ ทีไ่ วต้ ้อนรับนักท่องเท่ียวอีกด้วย

๓๙ วดั ปา่ พทุ ธคิ ุณ วัดป่าพุทธิคุณ ต้ังอยู่หมู่ที่ 7 ตาบลหนองแหน อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ได้ ก่อตง้ั ในปี พ.ศ.2483 โดยมีนายคาพุ ศรีมันตะ เป็นผู้ถวายที่ดินให้ตั้งวัด และได้รับการ ดูแลจากพระสงค์มาตลอดจนได้มีเสนาสนะสมควรแก่การทานักพระภิกษุสงค์ในสมัย นน้ั และในปี พ.ศ.2536 พระอาจารย์สมบรู ณ์ พุทธิวทฒฺโน ได้มาบูรณะพัฒนาร่วมกับ ชาวบ้านสร้างเสนาสนะที่มั่นคงขึ้นมี 3 กุฏิสงฆ์ หอสวดมนต์ ศาลาการเปรียญ หอ ระฆงั หอ้ งสุขา ในปี พ.ศ.2547 ได้รับประกาศเปน็ วดั ท่ีถูกต้องในพระพุทธศาสนา โดย มีพระปลัด สมบูรณ์ พุทธิวทฒฺโน เป็นเจ้าอาวาสและมีพระภิกษุสามเณรจาพรรษา ปี ละ 7-10 รูปเสมอมา ในปี พ.ศ.2550 พระครอู รญั วัฒนคณุ (สมบูรณ์ พุทธิวทฒโฺ น) ได้ นาพาชาวบ้านสร้างพระพุทธรูปใหญ่เป็นพระประธานประจาวัดหน้าตัก 5 เมตร สูง 9 เมตร ปรางมารวิชัย โดยได้รับประทานพระบรมสารีริกธาตุจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระองคท์ ่ี 19 บรรจุในพระเกตุพระประธาน ในปี พ.ศ.2556 พระ ครูอรัญวัฒนคุณ (สมบูรณ์ พุทธิวทฒฺโน) เจ้าอาวาสวัดป่าพุทธิคุณ ได้นาพาคณะ ชาวบา้ นและพทุ ธศาสนกิ ชน สรา้ งพระธาตเุ จดีย์ ความกวา้ งภายในเจดีย์ขนาด 7 เมตร และภายนอกเจดีย์รองกาแพงแก้ว 32 เมตร ความสูงองค์พระธาตุเจดีย์ 30 เมตร และ ฉัตรยอดเจดีย์สูง 2 เมตร รวมท้ังสิ้น 32 เมตร (ขณะนี้กาลังตกแต่งในและโดยรอบ พระธาตเุ จดยี อ์ งค์น้ี) ป๎จจบุ นั มีพระภิกษุจาพรรษา 7 รปู สามเณร 5 รูป โดยมี พระครู อรัญวฒั นคุณ(สมบูรณ์ พทุ ธิวทฒโฺ น) เปน็ เจ้าอาวาสและรองเจา้ คณะอาเภอกุดชมุ

คณะผจู้ ดั ทา ทท่ี ี่ปรกึ ษา พนั ธฤุ์ ทธิ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอกุดชุม นางสาวยี ะ คมจติ ร ครูชานาญการ นางบุศรา ครูอาสาสมัครฯกศน. ขอ้ มูล พนั เพช็ ร ครู กศน. ตาบล นายบุญไตร บุญภูงา ครู กศน. ตาบล นางสาวใกล้รงุ่ พนั ธ์ขาว ครู กศน. ตาบล นายสุธิเดช มุละสวี ะ ครู กศน. ตาบล นายนรินทร์ กองศรีมา ครู กศน. ตาบล นางสาวบุษบา ผลจนั ทร์ ครู กศน. ตาบล นายเมทนี ประทมุ วัน ครู กศน. ตาบล นางสาวสวุ ลกั ษณ์ ชาบตุ รชนิ ครู กศน. ตาบล นางสาวศิริพร เข่งหลา้ ครู กศน. ตาบล นางสาวชนิดาภา มาตขาว ครู กศน. ตาบล นางสาวปรานอม ศุภชาติ ครู กศน. ตาบล นางสาวกฤษติกา แสงกลา้ ครู กศน. ตาบล นางสาวสริ ิกร ศรีจนั ทร์ ครู ผสู้ อนคนพกิ าร นายฉนั ทิตย์ แกน่ แก้ว นางสาวกิตตพิ ร บรรณารกั ษ์ปฏิบัติการ ครูผูช้ ว่ ย ออกแบบ เบญมาตย์ นางสาวนฐั นาฏ คาเบา้ เมือง บรรณารักษ์ปฏิบตั ิการ นายวเิ ชยี ร พนักงานบรกิ าร รวบรวม/จดั เรียงรปู เล่ม นางสาวนฐั นาฏ เบญมาตย์ นายปัญจพล ปาละวงค์

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกดุ ชมุ สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั ยโสธร สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ