การนาเสนอข่าวประชาสัมพันธ์ดว้ ยสอ่ื สังคมออนไลน์ เจ้าของความรู้ นายอบั ดลุ นัสเซอร์ หะมิ ตาแหนง่ พฒั นาการอาเภอ สังกัดสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอรอื เสาะ
แบบบันทึกองคค์ วามรรู้ ายบุคคล 1. ชื่อองคค์ วามรู้ การนาเสนอขา่ วประชาสมั พนั ธ์ดว้ ยส่อื สังคมออนไลน์ 2. ชื่อเจ้าของความรู้ นายอับดลุ นัสเซอร์ หะมิ พัฒนาการอาเภอรือเสาะ 3. องคค์ วามรู้ท่ีบ่งชี้ (เลือกได้จานวน 1 หมวด) หมวดท่ี 1 สร้างสรรค์ชุมชนพงึ่ ตนเองได้ หมวดท่ี 2 สง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดุล หมวดที่ 3 เสริมสรา้ งทนุ ชมุ ชนให้มธี รรมาภิบาล หมวดท่ี 4 เสริมสร้างองคก์ รใหม้ ขี ีดสมรรถนะสงู 4. ทีม่ าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้ การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การส่ือสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย เช่นหน่วยงาน องค์การ สถาบัน ประชาชน เป็นต้น เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดี ระหว่างกัน เพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วย เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทาให้ประชาชนเกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธา ต่อหน่วยงาน ตลอดจน คน้ หาและกาจดั แหลง่ เขา้ ใจผิด ชว่ ยลบลา้ งปญั หา เพ่อื สรา้ งความสาเรจ็ ในการ ดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน การจัดการความรู้ด้านข่าวประชาสัมพันธ์มีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะถือเป็นเคร่ืองมือหนึ่ง ในการ ถ่ายทอดข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานที่ต้องการเผยแพร่ข่าวสารและกิจกรรม อันเป็นผลงานของหน่วยงานหรือ บคุ คลภายในหน่วยงานไปยังกลุ่มเป้าหมาย โดยผ่านสื่อช่องทางต่างๆ ตามความเหมาะสม ในการนาเสนอข่าว ประชาสัมพันธ์ 5. รปู แบบ กระบวนการ หรอื ลาดบั ขน้ั ตอน การดาเนินงานประชาสัมพันธ์ผ่านการสื่อสารเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของ องคก์ ร ประกอบดว้ ย 1. ใชส้ อื่ สงั คมออนไลน์เพือ่ การประชาสมั พันธ์ ใช้สร้างเครอื ข่ายสังคม/มปี ฏสิ ัมพันธก์ ับกลุม่ เป้าหมาย 2. ใช้จัดระบบกลไกการส่ือสารภายในและภายนอกด้วยสื่อสังคมออนไลน์ในการดาเนินงาน ประชาสัมพนั ธ์ ได้แก่ เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยทู ูบ (YouTube) 3. ปรับปรุงข้อมูล/เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารทางการประชาสมั พันธใ์ ห้เปน็ ปัจจุบนั เสมอ (Update) ๔. ตดิ ตาม/ตรวจสอบประเด็นขา่ วสารเกย่ี วกับองคก์ ร ขั้นตอนการประชาสัมพนั ธส์ ู่สงั คมออนไลน์ (Social Media) ขององคก์ ร มดี ังน้ี 1. สง่ ข้อมูลข่าวสารสู่ เฟซบุ๊ก (Facebook) และ ไลน์ (Line) ของเพือ่ นหรือผเู้ ปน็ สมาชิกโดยตรง ในกรณที ี่มขี า่ วสารทีน่ า่ สนใจ และพิจารณาแลว้ ว่าผูร้ ับข้อมูลเป็นกล่มุ เป้าหมายของข้อมูลนัน้ ๆ 2. ประชาสมั พนั ธก์ ิจกรรมของหน่วยงานสู่ เฟซบกุ๊ (Facebook) และ ไลน์ (Line) อย่างสมา่ เสมอ ๓. ประชาสมั พนั ธโ์ ดยใชก้ ารอัปโหลดไฟลว์ ิดโี อสู่ ยูทบู (YouTube) ในการประชาสัมพันธ์ และ คัดลอกลงิ ค์ลง เฟซบ๊กุ (Facebook) และ ไลน์ (Line) เพ่อื ขยายการประชาสมั พนั ธต์ ่อไป
-๒- 6. เทคนคิ ในการปฏบิ ตั งิ าน แนวทางการประชาสมั พนั ธโ์ ดยใช้ส่อื ออนไลนข์ ององค์กร ๑. ความน่าเช่ือถือและความถูกต้องของข้อมูลการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในนามของหน่วยงาน ต้อง แสดงตาแหนง่ หนา้ ที่ สังกัด ให้ชดั เจน เพอ่ื ความน่าเช่ือถือ อาจใช้รูปสัญลักษณ์เครื่องหมาย แสดงสังกัดได้ แต่ ตอ้ งคานึงถงึ ความเหมาะสม ในการใช้งาน และแจง้ ใหผ้ บู้ ังคับบัญชาทราบ และอนมุ ัติเหน็ ชอบเน้ือหาก่อนโพสต์ ทุกคร้ัง เพ่ือให้ผู้ติดตามสามารถใช้ดุลพินิจในการนาข้อมูล ไปใช้ พร้อมทั้งพึงระมัดระวังการใช้ถ้อยคาและ ภาษา ควรใช้ภาษาให้ถูกต้อง สภุ าพ และสร้างสรรค์ ๒. รูปแบบการสื่อสาร รูปแบบของข้อมูลท่ีส่ือสารผ่านส่ือสังคมออนไลน์ ในฐานะตัวแทนของ หน่วยงานควรมีลักษณะเกี่ยวข้องกับเร่ืองราวของหน่วยงานในด้านต่าง ๆ เช่น วิสัยทัศน์ ขององค์กร การ แนะนาบุคลากร ศักยภาพ ความรู้ ความสามารถของผู้บริหารและข้าราชการ รวมถึงการ ให้ข่าวสารความรู้ ข้อมูล หรอื เนือ้ หาที่ผ่าน การตรวจสอบแล้วว่าสามารถเผยแพร่ได้ ไม่ใช่ความลับ ทางราชการ ในบางกรณีอาจ เป็นคาอธิบายเกี่ยวกับ ภาวะวิกฤติ หรือข้อความท่ีช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ ขององค์กรให้ดีขึ้น หรือเนื้อหา โดยท่วั ไปท่ีไม่เก่ียวข้องกบั งานแต่เปน็ ประเดน็ ร่วมสมัยทน่ี ่าสนใจ ๓. การโต้ตอบบนส่ือออนไลน์ พึงงดเว้นการโต้ตอบด้วยความรุนแรง กรณีประชาชน บุคคล หรือ หน่วยงานอ่ืนมีความคิดเห็นแตกต่าง ควรชี้แจงด้วยเหตุผลพร้อมคานึงถึงความเหมาะสม ตามกาลเทศะ พิจารณาความคดิ เห็น ผลตอบรับ เพ่ือนามาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุง กระบวนการในการทางาน หรือเพ่ือ วางแผนจัดการ แก้ไขผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึน ท้ังน้ี พึงงดเว้นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของหน่วยงานในการ วิพากษว์ ิจารณ์ ตลอดจนแสดงความเห็นในเร่ืองทเ่ี ปน็ ขอ้ มูลภายในองคก์ รหรอื อาจสง่ ผลกระทบต่อองคก์ ร ๔. การวางแผนอย่างเป็นระบบ มีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีรับผิดชอบในการบริหารจัดการสื่อออนไลน์ ในนามหน่วยงานโดยเฉพาะ (Corporate Communication) โดยมีการวางแผน ออกแบบ กาหนดขอบเขต การนาเสนอบนส่อื ออนไลน์ จะชว่ ยเพม่ิ มูลค่าแก่หน่วยงาน และ/หรอื ข้อมูลเนอื้ หา ของหนว่ ยงานได้มากยิง่ ขนึ้ ๕. การนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการทางาน ผลิตเน้ือหาอย่างสร้างสรรค์ (Content) นาเสนอ ข้อมูล ท่ีดีมีประโยชน์เกี่ยวกับภารกิจงาน ตรวจสอบก่อนส่งต่อ (Share) เพ่ือสร้างบรรยากาศการเป็นองค์กร แห่งการ เรียนรู้ โดยนาเสนอเนื้อหาให้น่าสนใจ มีความ หลากหลาย เช่น การใช้ตัวอักษร ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น นอกจากจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ งาน แล้วยังเปน็ ประโยชนแ์ กส่ าธารณชนอีกด้วย ๖. การสร้างและเชอ่ื มความสมั พนั ธภ์ ายในองค์กร ใชส้ อ่ื ออนไลนเ์ พื่อสร้างความสามัคคีเป็นอันหน่ึงอัน เดยี วกนั ภายในหน่วยงาน ให้สอ่ื เปรียบเสมอื นพ้ืนท่ี ส่วนกลางเพือ่ เสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองค์กรให้แข็งแกร่ง ผ่าน การแลกเปลย่ี นความคิดเห็นอยา่ งมเี หตุผล และใหเ้ กยี รติ ๗. การรักษาภาพลักษณ์ขององค์กรเสมอ ในปัจจุบันส่ือออนไลน์มีอิทธิพลต่อสังคมอย่างมาก แทบทุก ด้าน โดยเฉพาะการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media) เป็นตัวกลางสื่อสารบอกกล่าว เร่ืองราวของ หน่วยงาน ผเู้ ผยแพร่ตอ้ งคานงึ เสมอว่า ทุกสง่ิ ที่ส่อื สารออกไปนั้นแสดงถึงภาพลักษณ์ ตัวตน ความเป็นมืออาชีพ ของหน่วยงาน ดังนั้น ความถูกต้อง ของเน้ือหาข้อมูล กาลเทศะ การใช้ภาษาท่ีสุภาพ เหมาะสม จึงมี ความสาคัญอย่างยง่ิ ต่อภาพลกั ษณ์ ของหนว่ ยงาน
-๓- 7. ปัญหาท่พี บและแนวทางการแก้ไขปัญหา ๑. ปัญหาการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลขา่ วสารไมท่ ั่วถงึ แกไ้ ขปญั หาโดยการสร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ให้สามารถเชอ่ื มโยงสู่เปา้ หมายได้ ๒. เป้าหมายได้รับข้อมูลข่าวสารที่คลาดเคล่ือนหรือไม่ชัดเจน แก้ไขปัญหาด้วยการมอบหมายให้ ผู้รับผิดชอบในงานข้อมูลข่าวสารน้ันๆ รับข้อมูล/ข้อซักถามทางสื่อออนไลน์และช้ีแจงข้อมูลแก่เป้าหมายให้ ถกู ตอ้ ง 8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ ๑.ผ้รู บั ผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ขององค์กรสามารถนาองคค์ วามร้ไู ปใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ งาน ประชาสมั พนั ธ์ขององค์กรตนเองได้ 2. สามารถนาองค์ความรูไ้ ปปรบั ปรงุ /พฒั นางานประชาสมั พันธข์ ององคก์ รได้ **************************
สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอรอื เสาะ ถนนรอื เสาะสนองกิจ ตาบลรอื เสาะออก อาเภอรอื เสาะ จงั หวดั นราธิวาส 96150
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: