โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภท นวัตกรรมจากขยะ เรื่อง มหัศจรรย์ผลิตภัณฑ์จากเส้นใยกล้วย สกร.อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน โดย นางสาวณัฐธิดา มูลเพ็ญ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นางสาวอุราวรรณวงค์เมืองมา ระดับมัธยมศึกษาปลาย นายสมพร สีโลพา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้านสิ่งแวดล้อม ประเภทนวัตกรรมจากขยะ สําหรับนักศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับพื้นที่ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาลําปาง
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ด้านส่ิงแวดลอ้ ม ประเภทนวตั กรรมจากขยะ เรื่อง มหัศจรรย์ผลิตภัณฑ์จากเส้นใยกลว้ ย สกร.อำเภอท่งุ ช้าง จงั หวดั นา่ น โดย 1. นางสาวณัฐธิดา มลู เพญ็ ระดบั ม.ปลาย 2. นางสาวอุราวรรณ วงคเ์ มอื งมา ระดบั ม.ปลาย 3. นายสมพร สีโลพา ระดับ ม.ตน้ ครทู ีป่ รกึ ษาโครงงาน 1. นายณฐั วฒั น์ หงษจ์ ยุ้ ครู 2. นางสาวชรินญา เสนนันตา ครู กศน.ตำบล รายงานฉบบั นเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศกึ ษา สกร. ระดับพนื้ ที่ ด้านสิง่ แวดล้อม ประจำปี พ.ศ. 2566 ณ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาลำปาง
ก ชอื่ ผู้จัดทำโครงงาน ชื่อโครงงาน มหัศจรรยผ์ ลิตภัณฑ์จากเสน้ ใยกลว้ ย 1. นางสาวณัฐธิดา มูลเพ็ญ รหสั นักศกึ ษา 6513-00018-7 ระดบั ม.ปลาย 2. นางสาวเยาวดี คำรังษี รหัสนกั ศกึ ษา 6522-00010-9 ระดบั ม.ต้น 3. นายสมพร สโี ลพา รหสั นักศกึ ษา 6613-00006-9 ระดับ ม.ปลาย ครทู ีป่ รกึ ษาโครงงาน ครู 1. นายณัฐวัฒน์ หงษ์จุ้ย ครู กศน.ตำบล 2. นางสาวชรนิ ญา เสนนันตา สถานศึกษา ศนู ยส์ ง่ เสริมการเรียนรู้อำเภอทุ่งชา้ งจงั หวัดนา่ น ปกี ารศึกษา 2566 บทคัดยอ่ โครงงานวทิ ยาศาสตรด์ ้านสิง่ แวดลอ้ ม ประเภทนวัตกรรมจากขยะ เรื่องมหัศจรรยผ์ ลติ ภัณฑ์จากเสน้ ใยกลว้ ย ครง้ั นี้มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อลดปริมาณขยะธรรมชาตจิ ากต้นกลว้ ยท่ีไม่ใหผ้ ลผลติ แล้ว โดยทำการศึกษา กระบวนการสร้างนวัตกรรมจากเส้นใยกล้วย เพ่ือพัฒนาสิ่งประดิษฐ์หรอื ผลิตภัณฑ์ตน้ แบบทสี่ รา้ งมลู ค่าและ สามารถตอ่ ยอดสู่อาชพี ได้ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ด้านส่ิงแวดล้อม ประเภทนวัตกรรมจากขยะเส้นใยกล้วยในครั้งนี้ มีที่มา จากการท่ีในชุมชนของอำเภอทุ่งช้าง มีการปลูกกล้วยเป็นจำนวนมากและเมื่อต้นกล้วยที่ให้ผลผลิตแล้ว หรือ ต้นกล้วยที่ถูกตัดเครือแล้ว จะไม่สามารถให้ผลผลิตต่อได้ ลำต้นจึงจะต้องถูกตัดท้ิงไป ทำให้เกิดขยะธรรมชาติ จากต้นกล้วยมากขึ้น การทำนวัตกรรมจากเส้นใยกล้วย พบว่าเป็นกระบวนการสร้างนวัตกรรมใหม่จากต้น กล้วยท่ีถูกตัดทิ้งแล้ว เป็นการลดปริมาณขยะจากธรรมชาติหรือขยะอินทรีย์ได้ ด้วยการนำต้นกล้วยมาขูดทำ เป็นเส้นใย แล้วนำเส้นใยกล้วยที่ได้มาทอเป็นผืนผ้าสลับกับเส้นฝ้าย ให้เป็นผ้าทอจากฝ้ายและเส้นใยกล้วย จากน้ันนำผ้าท่ีได้นั้นไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยออกแบบจากความคิดสร้างสรรค์ ให้เป็นผลิตภัณฑ์ท่ี มีอัตลักษณ์เป็นของชุมชน มีความคงทนแข็งแรง ใช้งานได้ดีและยังสามารถพัฒนาเป็นสิ่งประดิษฐ์หรือ ผลิตภณั ฑต์ ้นแบบเพื่อสร้างมูลคา่ เพม่ิ ได้ เช่น เส้นใยกล้วยท่ไี ด้นำไปย้อมสีธรรมชาตินำมาทอเป็นลวดลายต่างๆ ทำเปน็ สินค้าอืน่ ๆร่วมกับภูมิปัญญาชาวบา้ น ตอ่ ยอดสู่อาชพี ให้กับชมุ ชนได้ การพัฒนานวัตกรรมในครั้งนี้สามารถใชต้ ้นกลว้ ยหลากชนิดได้ โดยใช้ต้นกล้วยที่ไมใ่ หผ้ ลผลิตแล้วมา ทำเป็นเสน้ ใยกล้วย เปลอื กนอกสดุ ของต้นกลว้ ยจะแก่เกนิ ไป ควรใช้เปลอื กถัดเขา้ มาและตัดด้านข้างขอบๆของ
ก เปลือกกลว้ ยออก ในการนำมาขูดเอาเส้นใยกล้วย ควรใชม้ ีดขูดเอยี งมีดทำมุมประมาณ 30-45 องศา โดยออก แรงใชน้ ้วิ โปง้ กดลงไป แล้วลากขูดออก นำเสน้ ใยกล้วยไปย้อมสีธรรมชาตไิ ด้ตามที่ต้องการ สามารถนำผา้ ทไ่ี ด้ ไปแปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์อ่ืนๆท่ีหลากหลาย เช่น ตดั เย็บเป็นกระเปา๋ หนัง เพม่ิ มูลคา่ ให้กับผลิตภณั ฑ์และเศษ กล้วยทเี่ หลอื จากการขดู สามารถนำไปทำปุ๋ยหมักหรอื เปน็ อาหารให้สัตว์เล้ยี งในชุมชนได้
ข กติ ตกิ รรมประกาศ กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับนี้ลุล่วงไปได้ โดยได้รับคำแนะนำและช่วยเหลือจากผู้บริหาร สถานศึกษาและภาคีเครือข่าย โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มทอผ้าบ้านหล่ายทุ่ง หมู่ที่ 3 ตำบลปอน อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน ที่ได้ให้ข้อมูลความรู้และให้ความร่วมมือ ในการดำเนินการทดลองและสรา้ งนวัตกรรมดว้ ยดีตลอด มา ผู้ทำโครงงานรสู้ ึกซาบซึง้ เปน็ อยา่ งย่ิงจึงขอกราบขอบพระคณุ ทา่ นไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบคณุ นักศกึ ษา สกร.อำเภอทงุ่ ชา้ ง จังหวดั น่านท่ีชว่ ยสรา้ งนวตั กรรมจากขยะเสน้ ใยกลว้ ย ในครั้ง นี้ คณุ ประโยชน์อันใดทพ่ี ึงมขี องโครงงานน้ยี ่อมเป็นผลมาจากความกรุณาจากท่านดงั กล่าวข้างตน้ ขอขอบคุณทุกท่านที่ได้สนับสนุนการทำงาน และให้กำลังใจเสมอมาทำให้การดำเนินงานโครงงาน วิทยาศาสตร์ในคร้ังน้สี ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ความดีอันเกิดจากการศึกษาค้นควา้ คร้ังนี้ สมาชกิ ในกลุ่มขอมอบแด่ ผมู้ พี ระคณุ ทกุ ท่านและขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จดั ทำ
สารบญั ค บทคัดย่อ หน้า กติ ตกิ รรมประกาศ ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนำ ค บทที่ 2 เอกสาร/ทฤษฎี/หลกั การท่เี กี่ยวข้อง 1 บทท่ี 3 อปุ กรณแ์ ละวิธีการศึกษา 3 บทท่ี 4 ผลการศึกษา 12 บทท่ี 5 สรปุ ผลและอภิปรายผล 15 บรรณานกุ รม 16 ภาคผนวก ง จ
1 บทท่ี 1 บทนำ 1. ทมี่ าและความสำคัญของโครงงาน ปัจจุบันมีสถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย พบว่ามีการผลิตขยะออกมา 24.98 ล้านตันต่อปี หรือประมาณ 68,000 ตันต่อวัน แบ่งเป็น ขยะอินทรีย์ร้อยละ 64 โดยขยะอินทรีย์ 1 ตัน จะปล่อยก๊าซเรือน กระจกเท่ากับ 0.51 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ซ่ึงอัตราการผลิตขยะต่อคนคือ 1.14 กิโลกรัมต่อวัน แต่ ขยะเหล่าน้ันสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่เพียงร้อยละ 32 และถูกส่งกำจัดอย่างถกู ต้องเพียงร้อยละ 37 ส่วนที่เหลือมีการนำไปกำจัดแบบไม่ถูกวิธีกว่าร้อยละ 31 ทำให้เกิดขยะสะสมกลายเป็นปัญหามลภาวะ เป็น แหล่งเพาะพันธุ์เช้ือโรค ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกับประชาชนเป็นย่างมาก และท่ีสำคัญคือเป็นการทิ้ง ทรพั ยากรไปโดยเปล่าประโยชน์ ในชมุ ชนอำเภอทุ่งชา้ งและกลุ่มของแปรรปู กลว้ ย บ้านทุ่งอ้าว หมทู่ ี่ 1 ตำบลและ อำเภอทงุ่ ชา้ ง จังหวัด น่าน มกี ารปลกู กล้วยจำนวนมาก และกลว้ ยที่นำมาปลูกมีมากมายหลายชนดิ ซงึ่ จากการทีก่ ลุ่มแปรรปู กลว้ ย ของ สกร.อำเภอท่งุ ช้าง ไดส้ ะท้อนปัญหาใหก้ บั ชุมชน และทาง สกร.อำเภอทุ่งชา้ ง พบว่า ปัญหาต้นกล้วยท่ีถูก ตดั ทงิ้ มจี ำนวนมาก และจะถูกปล่อยใหเ้ นา่ เสียในพ้นื ทีต่ ามกาลเวลา จะสง่ กลน่ิ เหมน็ และมแี มลงจำนวนมาก ซง่ึ กล้วย 1 จะให้ผลผลติ คอื 1 เครอื และจะไมใ่ ห้ผลผลิตไดต้ ่ออีก ซ่ึงจากเหตผุ ลดังกล่าว ทำให้ต้องตัดตน้ กลว้ ยต้นนั้นทิ้งไป กล้วยทีถ่ ูกตัดทิง้ กจ็ ะกลายเปน็ ขยะอนิ ทรยี ์ทมี่ มี ากในชุมชน นอกจากจะปล่อยให้เนา่ สลาย ไปตามเวลาเองแลว้ ก็ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชนต์ ่อได้ ดังนั้น สกร.อำเภอทงุ่ ช้างและผู้จดั ทำโครงงาน จึงเล็งเห็นปญั หาดังกล่าวท่ีเกิดขนึ้ กับชุมชนและกลุม่ แปร รูปกล้วย บ้านทุ่งอ้าว หมู่ท่ี 1 ตำบลและ อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน ที่มีการนำกล้วยมาแปรรูปแล้ว เมื่อตัด เครือแล้วจะต้องตัดลำต้นทงิ้ ไปด้วย จงึ ทำให้เกดิ ขยะอนิ ทรีย์ข้ึนเปน็ จำนวนมาก ผู้จัดทำโครงงานจงึ ไดค้ ิดหาวธิ ี แก้ปัญหาโดยการทำโครงงานนี้ขึ้นมา เพ่ือเป็นแนวทางในการลดปริมาณขยะอินทรีย์และเป็นการสร้าง นวัตกรรมจากขยะอินทรีย์น้ีข้ึน โดยการนำเส้นใยกล้วย จากต้นกล้วยท่ีถูกตัดท้ิงมาแปรรูปเป็นผ้า โดยการขอ คำแนะนำจากกลมุ่ โรงทอผ้าบ้านหล่ายทุ่ง หมทู่ ี่ 3 ตำบลปอน อำเภอทุ่งช้าง จังหวดั น่านในการทอเสน้ ใยกลว้ ย เปน็ ผ้าแล้วนำมาแปรรปู เป็นผลิตภัณฑอ์ ื่นๆตอ่ ไป ซง่ึ ศนู ยส์ ่งเสริมการเรียนรู้อำเภอทงุ่ ช้าง เหน็ สมควรมีการสง่ เสริมการสรา้ งนวตั กรรมจากขยะต้นกลว้ ย เพือ่ ลดปรมิ าณขยะอินทรีย์ใหน้ ้อยลงและนำมาเพมิ่ มูลค่า สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถนำขยะอนิ ทรียช์ นดิ นม้ี าใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวันได้
2 2. วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อลดปริมาณขยะธรรมชาตจิ ากตน้ กลว้ ยที่ไม่ให้ผลผลิตแล้ว 2. เพอ่ื ศึกษากระบวนการสร้างนวัตกรรมจากเส้นใยกลว้ ย 3. เพื่อพฒั นาสิ่งประดิษฐ์หรอื ผลิตภณั ฑ์ตน้ แบบจากเส้นใยกล้วยสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมตอ่ ยอดสู่อาชพี 3. สมมุตฐิ านของการศกึ ษาค้นคว้า สามารถสร้างนวตั กรรมจากเส้นใยกล้วยเป็นผลิตภัณฑ์ทส่ี รา้ งมูลคา่ ต่อยอดสู่อาชีพ 4. ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ 4.1 กรอบของการศึกษา การศกึ ษาในคร้ังน้ี ผู้จัดทำโครงงานได้กำหนดขอบเขตของโครงงาน เร่ืองมหัศจรรยผ์ ลติ ภณั ฑ์จากเสน้ ใย กลว้ ย ทีส่ รา้ งขึน้ มกี ารกำหนดขอบเขตของโครงงานดงั นี้ คอื 1. ตน้ กลว้ ยท่นี ำมาขดู เอาเสน้ ใยจะเป็นตน้ กล้วยน้ำว้าทแ่ี ก่ไมใ่ ห้ผลผลติ แล้ว ซึ่งจะตดั ทิ้งแล้ว 2. ใชเ้ ครือ่ งฉีกเส้นใยกลว้ ยที่ทำมือ ในการแยกเส้นใยกลว้ ยให้เส้นมขี นาดเท่าๆกนั 4.2 สถานทที่ ำโครงงาน ศนู ยส์ ่งเสริมการเรียนรู้อำเภอทงุ่ ชา้ งจงั หวัดน่าน และโรงทอผ้าบา้ นหลา่ ยท่งุ หมู่ท่ี 3 ตำบล ปอน อำเภอทุ่งช้าง จังหวดั นา่ น 5. ระยะเวลาในการทำโครงงาน 1 เดอื น (มิถุนายน-กรกฎาคม 2566) 6. ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ 1. ปริมาณขยะอนิ ทรียจ์ ากตน้ กลว้ ยท่ีไม่ให้ผลผลิตแลว้ ลดลง 2. ได้ทราบกระบวนการการสร้างนวตั กรรมจากเส้นใยกล้วย 3. ไดน้ วัตกรรมจากเสน้ ใยกล้วยเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ีห่ ลากหลาย เชน่ ทีร่ องจาน รองแกว้ เส่ือจากเสน้ ใยกลว้ ย กระเปา๋ ตะกร้าใสข่ อง เส้ือผ้า เป็นต้น 4.ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ท่ีมาจากการทอใยกล้วยเป็นลวดลายไทล้ืออัตลักษณ์ของท้องถิ่นต่อยอดสู่อาชพี ได้ มากข้ึน 5. ผเู้ รยี นใชเ้ วลาใหเ้ กิดประโยชน/์ เกดิ อาชีพใหม่/ผลติ ภัณฑ์ใหม่ๆ
3 บทที่ 2 เอกสาร/ทฤษฎ/ี หลักการทเี่ กี่ยวข้อง ในการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง มหัศจรรย์ผลิตภัณฑ์จากเส้นใย คณะผู้จัดทำได้รวบรวม แนวคิดทฤษฎีและหลกั การตา่ งๆจากเอกสารและบทความท่เี กย่ี วข้องดังต่อไปนี้ 1. เส้นใยกลว้ ย 2. วธิ ีการทำ เคร่ืองแยกเสน้ ใยกล้วย 3. การทอผา้ และแนวคดิ เก่ียวกับภมู ปิ ัญญาการทอผ้า 4. อัตลกั ษณ์ผา้ ทอไทล้ือ จ.นา่ น 5. โครงการหรืองานทเี่ ก่ียวข้อง 2.1 เสน้ ใยกล้วย “ใยกล้วย” คือเส้นใยที่แยกออกจากกาบกล้วย ด้วยวิธีการแยกแบบหัตถกรรม (โดยการลอกผิวของ กาบแข็งด้านนอก จากนั้นแยกเส้นใยจากเยื่อกล้วยด้วยมือ) “เส้นใยกล้วย” มีสมบัติพิเศษคือ เป็น เส้นท่ีมี ความมันเงาสวยงาม แข็งแรง เหนียว ทนทาน สามารถนำไปป่ันผสมกับเส้นใยอื่นๆ เช่น ใยฝ้าย ท่ีมีความ คุณสมบัติโดดเด่นเร่ืองการระบายอากาศและอ่อนนุ่ม “เส้นใยกล้วย” ในประเทศไทยส่วนใหญ่นิยมการแยก เสน้ ใยดว้ ยมอื เพือ่ ใช้เปน็ สงิ่ ทอมีมาไม่นานนกั มีทง้ั การแยกเสน้ ใยจากกล้วยน้ำว้า กล้วยปา่ และกล้วยหอม (ท่มี า: https://www.bangkokcrafter.com/banana-fibers) 2.2 วิธกี ารทำ เคร่ืองแยกเสน้ ใยกลว้ ย ปัจจุบันแนวโน้มการนำ Eco textiles กำลังเป็นท่ีนิยม การนำเส้นใยกล้วยมาใช้ในการพฒั นาเป็นเส้นใยในงาน สงิ่ ทอจึงเปน็ ส่ิงท่ีน่าสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เส้นใยกล้วย ได้ถูกหยิบยกข้ึนมากลา่ วถึง ในหลาย ๆ เวทีของการ เสวนาเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาเส้นใยพืชจากวัสดุเหลือท้ิงทางการเกษตรในประเทศอินเดียมีกล้วยสายพันธุ์ arecanut (Areca catechu) เป็นสายพันธ์ุที่มีมากและน่าสนใจ ซ่ึงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5.6-11 µm ผนัง เซลล์ มีความหนา 2.2 µm ได้ถูกนำมาการแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีหมักต้องใช้เวลานานกว่าจะได้กลุ่มเส้นใย กล้วย ไม่ว่าจะเป็นวิธีทางเชิงกล เคมี และชีวภาพ ก็มีเทคนิคที่ดีและทำกันมาช้านานแล้ว ทุกวิธีได้รับการ พัฒนามาเร่ือยๆ จนถึงปัจจุบัน ในการแยกสกัดด้วยวิธีทางเชิงกล จำเป็นต้องลอกเปลือกเพ่ือให้กลุ่มเส้นใย ออกมาในปรมิ าณมากและมีสมบตั ิทางกายภาพดีท่สี ุด โดยเฉพาะอย่างย่ิงถา้ มีการเลอื กวิธีการแยกสกัดเสน้ ใยท่ี ดี ก็จะมีผลต่อความแข็งแรงต่อแรงดึงขาดของเส้นใยเป็นอย่างดี ในขณะท่ีการแยกสกัดเส้นใยด้วยเคมี เป็น กรรมวิธีทสี่ ามารถแยกสกัดเส้นใยไดด้ ี อกี ทง้ั ยังสามารถดงึ เอา hemicellulose ออกไปจากเสน้ ใยได้อีกดว้ ย การแยกสกัดเส้นใยกล้วย อีกสายพันธ์ุท่ีน่าสนใจ Aerobic ด้วยวธิ ีการหมักน้ำค้าง แต่ส่วนใหญ่วิธกี าร แบบน้ีส่งผลให้เส้นใยมีความแข็งกระด้างและมีคุณภาพตำ่ เม่ือเปรียบเทียบกับวิธีการอ่ืน ๆ ด้วยสาเหตุมาจาก เซลลูโลสในเส้นใยได้สูญเสียไป ส่วนการแยกสกัดเส้นใยด้วยน้ำเป็นวิธีการท่ีมีค่าใช้จ่ายน้อยท่ีสุด แต่ก็มีความ เหมาะสมในการผลิตทมี่ ีปริมาณนอ้ ยเทา่ น้ัน
4
5 นอกจากนี้ยังมีกล้วยยังมีส่วนที่มีประโยชน์และให้เส้นใยได้เช่นกัน น่ันก็คือ ก้านเครือ ซึ่งในส่วนน้ีทุก คนอาจจะมองห้ามไป ซ่ึงหลังจากที่เกษตรกรได้ตัดผลกล้วยออกแล้วก็ยังมีส่วนแกนยืดหวีกล้วย เราเรียกว่า “เครือ” นักวิจัยได้มีการศึกษาสมบัติทางกายภาพของเส้นใย ซ่ึงมีลักษณะที่นา่ สนใจ โดยมีการแยกสกัดเส้นใย ด้วยวิธีการทางชีวภาพ ด้วยวิธีการหมักในแท็งก์ และนำมาถ่ายภาพ SEM พบว่า เส้นใยจากเครือกล้วยนั้น มี ลกั ษณะดงั ภาพที่ 3 สถาบนั พฒั นาอตุ สาหกรรมส่ิงทอ ในโครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการใช้วตั ถดุ ิบภาคการเกษตรด้วยการ แยกเส้นใยกล้วย มีการกล่าวถึงการแยกสกัดเส้นใยกล้วย โดยแบ่งออกเป็นเส้นใยจากกล้วยกินผล (Banana fiber) และเส้นใยกล้วยอะบาก้า (manila hemp) ซ่ึงกล้วยกินผล ก็มีการแยกสกัดเส้นใยด้วยกัน 3 วิธี คือ 1) การแยกเส้นใยด้วยมือ เป็นวิธีการแยกเส้นใยกล้วยในประเทศญี่ปุ่นมีหลักฐานมาต้ังแต่ศตวรรษที่ 13 โดยจะเก็บเก่ียวเฉพาะยอดของต้นกลว้ ยและใบกลว้ ยมาทำการแยกด้วยมอื ข้ันตอนเร่มิ จากการลอกเปลือก ชั้นนอกออกเป็นแผ่นบางๆ ก่อนจะแยกเส้นใย ทั้งน้ีเส้นใยที่ได้จะมีความอ่อนนุ่มมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับ ความแก่ออ่ นของวัตถดุ บิ จากนั้นนำเปลือกท่ีลอก ขูดเอาเส้นใยกลว้ ยออกมา
6 2) การแยกเส้นใยด้วยการแช่ฟอก เป็นกระบวนการแช่ฟอกเพื่อแยกเส้นใยกล้วยพบในแถบเอเชียใต้ โดยเฉพาะประเทศเนปาลและอินเดยี โดยกาบกล้วยด้านนอกจะถูกเก็บเกี่ยวจากน้ันจะถูกตัดเปน็ ชน้ิ ๆ แล้วทุบ ใหน้ ่ิม แช่ในน้ำสะอาดและปลอ่ ยให้เนา่ สลายตามธรรมชาตจิ ากนั้นจึงทำการขูดเน้ือกาบใบออกจนเหลือแต่เส้น ใยแลว้ จึงนำเสน้ ใยทไี่ ดม้ าลา้ งดว้ ยน้ำสะอาดนำไปป่นั เป็นเสน้ ด้ายดว้ ยมอื ต่อไป 3) การแยกเส้นใยดว้ ยเครือ่ งจักร นับเป็นการแยกเสน้ ใยกลว้ ยด้วยเคร่อื งจักร ในประเทศไทยเป็นแบบ ท่ีใช้ deteriorating machine โดยเครื่องแยกเส้นใยกล้วยมีลักษณะเป็นเครื่องจักรขนาดเล็ก ทำงานแบบ กง่ึ อตั โนมตั ิ โดยใช้แรงงานคนเป็นผู้ปอ้ นช้นิ ส่วนกาบด้านในของตน้ กลว้ ย เครอ่ื งจักรจะทำงานเป็นสองข้ันตอน คอื ข้ันตอนแรก การกล้ิงกาบกล้วยที่ปอ้ นเข้าตัวเคร่อื งให้แบนราบเพื่อให้ง่ายต่อการขูดเนื้อกาบใบออกด้วยชุด ลูกกลิ้ง จากนั้นจึงเข้าสู่ขั้นตอนที่สองโดยขูดเน้ือกาบกล้วยด้วยใบมีดลักษณะเป็นใบมีดหลายชิ้นติดบนวงล้อ กาบกลว้ ยท่ไี ดร้ บั การขูดจะเคลอ่ื นที่ผ่านชุดลำเลยี งเพือ่ นำไปทำความสะอาด ก็จะได้เสน้ ใยออกมา ส่วนการแยกเส้นใยกล้วยอะบาก้า สามารถทำได้ 2 วิธี คือ การแยกด้วยมือ ในปัจจุบันประเทศ ฟิลิปปินส์ใช้การแยกด้วยมือเป็นหลัก และการแยกด้วยเครื่องจักร เรียกว่า spindle stripping ซ่ึงแนวคิดใน การแยกเส้นใยคล้ายคลึงกบั การแยกด้วยมือแต่มีการปรับปรงุ ให้แท่นขูดมีสายพานไฟฟ้าเพ่ือช่วยในการดึงเส้น ใยออกมาไดง้ า่ ย สำหรับเส้นใยกล้วยในประเทศไทยส่วนใหญ่นิยมการแยกเส้นใยด้วยมือ เพ่ือใช้เป็นสิ่งทอมีมาไม่นาน นัก มีท้ังการแยกเส้นใยจากกล้วยน้ำว้า กล้วยป่า และกล้วยหอม นิยมการแยกเส้นใยด้วยมือ โดยการลอกผิว ของกาบแข็งด้านนอก จากน้ันแยกเส้นใยจากเยื่อกล้วยด้วยมือ วิธีนี้จะได้เส้นใยสีขาวละเอียด ความยาวตาม ความยาวของเยื่อกล้วยท่ีนำมาแยกเส้นใย มีขนาดเล็กคล้ายเส้นไหม สวยงาม จึงเป็นแนวทางหน่ึงของการ พัฒนานวัตกรรมเส้นใยธรรมชาติจากพืช นับเป็นแนวทางในการยกระดับวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร และเป็น แนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ส่ิงทอท่ีมีมูล ค่าสูงข้ึนต่อไป (https://www.atdp- textiles.org/blog_banana_fiber/)
7 2.3 การทอผ้า และแนวคิดเก่ยี วกับภูมิปัญญาการทอผ้า การทอผ้า หรือ \"การทอ\" (อังกฤษ : weaving) ถือเป็นศิลปะและหัตถกรรมหรืองานฝีมืออย่างหนึ่งที่มี มาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นกรรมวิธีการผลิตผืนผ้าโดยใช้เส้นด้ายพุ่งและเส้นด้ายยืนมาขัดประสานกันจนได้เป็น ผืนผ้า ท้ังน้ตี อ้ งมเี ครอ่ื งมอื ในการทอ เรยี กวา่ หกู หรือกี่ (ในภาษาไทยถ่นิ อีสาน มักเรียกการทอผ้าวา่ \"ตำหูก\") กิจกรรมการทอผ้านั้น นอกจากเป็นข้ันตอนการผลิตเคร่ืองนุ่งห่ม หนึ่งในปัจจัยสี่ของมนุษย์แล้ว ยังถือ เปน็ งานศิลปะประเภททศั นศิลป์ด้วย เนื่องจากมกี ารใหส้ สี ันและลวดลายต่างๆ ในผนื ผ้า ปัจจุบันแม้จะมกี ารใช้ เคร่ืองจักรสำหรับทอผ้า ใชค้ อมพิวเตอร์สำหรับการควบคุมการผลิตและออกแบบลายผ้า แตก่ ารทอผ้าด้วยมือ กย็ ังเป็นศิลปะท่ไี ด้รบั การยกย่องและชืน่ ชมเสมอมา (https://th.wikipedia.org/wiki ,2566:ระบบออนไลน์) แนวคิดเกีย่ วกบั ภูมิปัญญาการทอผ้า สุภัทราโอฬาริกเดช (2536:ระบบออนไลน์) ได้กล่าววา่ ผ้าและงานทอผ้า นับเป็น ผลงานของความ เจริญรุ่งเรืองทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของผู้คนในโลกนี้ จากหลักฐานทางโบราณคดีที่ ปรากฏอยูในปัจจุบัน พบว่าดินแดนซึ่งเป็นราชอาณาจักรไทยอยู่นี้มีการ ทอผ้าขึ้นใช้มาแล้วไม่ต่ำกว่า 2,500ปี โดยหมู่ชนที่อาศัยกระจัดกระจายอยู่ท่ัวไปในเขตแหลมทองนี้แม้แต่ไหมก็พบวามีการนำมาทอเป็นผืนผ้าตั้งแต่ สมัยประวัติศาสตร์โดยเฉพาะในแหล่ง โบราณคดีบ้านเชียงท่ีพบว่ามีการทอผ้าไหมมาก่อนที่จีนจะนำไปทอ เป็นผ้าไหมจนแพร่หลายไปทั่วโลก การทอผ้าเป็นศิลปะอยางหนึ่ง ที่คนไทยรุ่นปัจจุบันต้องช่วยกนอนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อน ผู้หญิงไทยจะทำเครื่องใช้ต่างๆ ในบ้านเอง งานสำคัญอยางหนึ่งคือการทำเสื้อผ้า ผ้านุ่ง ผ้าห่ม ไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่างๆ เก่ียวกับการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ก็ต้อง ใช้ผ้าผ้าทอจึง เป็นส่ิงจำเป็นสำหรบั ชีวิตคนไทยเช่นเดยี วกับงานวิจัยของ ทศั วรรณ ธิมาคำ (2553) เร่ืองการจดั การความร้ภู ูมิ ปัญญาพื้นบ้านล้านนาเร่ืองการทอผ้ายกลำพูน พบว่า มนุษย์สามารถผลิตผ้าชนิดต่างๆท่ีมีคุณภาพและมีสีสัน ขึ้นอย่างมาก ศิลปะเกี่ยวกับการทอผ้าหรือการผลิตผ้า คงสืบต่อ เร่ือยมาจนถึงยุคท่ีคนไทยรวมตัวกันตั้ง เป็น อาณาจักรต่างๆข้ึน ตั้งแต่อาณาจักรล้านนาไทย (พุทธ ศตวรรษท่ี 18-24) อาณาจักรสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-24) และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (ต้ังแต่ พ.ศ. 2325จนถึงปัจจุบัน) ซึ่งในอาณาจักรล้านนาไทยน้ันหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ได้แสดงวามี ่ การทอผ้าขึ้นใช้ทั่วไป ท้ังที่ทอใช้สอยในครอบครัว และเป็นสินค้าซ้ือขาย แลกเปล่ียนกัน กรรมวิธแี ละเทคนิคในการทอผ้าใหเ้ กิดลวดลายต่างๆ เป็นเทคนิคและ ความสามารถของแต่ละ คน หลักใหญ่ของการทอผ้าก็คือการนำเส้นฝ้ายหรือไหมมาขัดกันให้เป็น 10 ลายโดยขึงเส้นกลุ่มหน่ึงเป็นหลัก เรยี กว่า เสน้ ด้ายยืน แลว้ ใชอ้ กี เส้นหน่งึ เรียกวาเสน้ ด้ายพุ่ง สอด ตามขวางของเส้นยืน เม่ือสานขดั กันกจ็ ะเกิด ลวดลายต่างๆ ผา้ บางชนดิ ผู้ทอจะคิดหาวธิ ีสอดด้ายและสอดสสี ลับกัน บางวิธีก็จะจับผกู และมดั เน้นเป็นช่วงๆ หรืออาจจะยกด้ายที่ทอเป็นระยะๆ ทำให้เกิดลวดลายสวยงาม ผู้ทอต้องสามารถจดจำ ลวดลายท่ีตนคิด ประดิษฐ์ได้ถึงแม้แต่ละลวดลายจะมีความซับซ้อนและหลากหลายแต่ก็สามารถ นำมาประสานกันได้อย่าง เหมาะเจาะงดงามแสดงถึงภูมิปัญญาและความสามารถของชาวชนบทเป็นอย่างดี ผ้าทอมือจึงมีเทคนคิ การทอ และความสวยงามเป็นที่สุด ผ้าทอของชาวบ้านมีรูปแบบ ระเบียบ ลาย ที่บ่งช้ีถึงกลุ่มของคนไทยสายต่างๆ ได้ ผ้าซ่ินที่นงุ่ ก็มีการทอใหแ้ ตกต่างกนั สามารถบอกได้ว่า หญงิ คนใดยังเป็นโสดและหญิงคนใดแตง่ งานแล้ว ผ้าซิ่น
8 ของหญิงมสี ามีจะเป็นซ่ินที่นำผ้าสามช้ินมาตอ่ กัน แบ่งเป็นส่วนบน ส่วนกลางและส่วนเชิงแต่ละส่วนจะทอเป็น ลวดลายแตกตา่ งกัน ท้ัง 3 สว่ น ผ้าซิ่นของหญิงสาวจะเป็นผ้าผืนเดียวกนั ตลอดท้ังผนื อาจใช้วิธีมัดหมี่เป็นดอก เป็นลวดลายอยางเดียวสวยงาม ชายผ้าซิน่ แทบทุกผนื จะมีวิธีทำลวดลายแปลกๆ เชน่ อาจจะจกไหม สลับกับ ฝ้ายในรูปแบบของการทอผสมปักกลายๆ แต่แทนที่จะใช้เข็มปักเขาจะใช้ขนเม่นทำ ลวดลายวิธีนี้เรียกว่า จก แต่ละบ้านจะมีลวดลายของตน ผ้าตีนจกที่นิยมกันมากคือ ผ้าตีนจกของ หาดเส้ียว จังหวัดสุโขทัย เป็นศิลปะ พื้นบ้านลวดลายสวย สีงาม งานประณีตนอกจากผ้ามัดหม่ี ผ้าจก แล้ว ยังมีผ้าแพรวาซ่ึงใช้ เป็นผ้าคลุมไหล่ หรือห่มเฉียงไหล่ผ้าลิขิดซ่ึงมีลวดลายเดียวกันตลอด นิยม ใช้ทำหมอน ผ้าปูโต๊ะ ผ้าคลุมเตียง ผ้ายกดอก เป็น ศิลปะการทออีกแบบหนึ่งคล้ายกบผ้าขิดแต่จะทอ ด้วยไหมท้ังผืน และยกด้ินเงินหรือด้ินทอง จังหวัด นครศรธี รรมราช มีช่ือเสียงในการทอผ้ายก เรียกว่า ผ้ายกเมืองนคร ผ้าพ้ืนและผ้าอ่นื ๆ ส่วนใหญ่เป็นผ้าทีท่ อใช้ กันทั่วๆไปในชีวิตประจำวัน เช่น ผ้าโสร่ง ผ้าขาวม้า เป็นส้นขัดตาตารางหรือเป็นลายเส้นธรรมดา (หมวดภูมิ ปญั ญาเร่อื งการทอผ้า, 2555:ระบบออนไลน)์ วัตถุดบิ ทใ่ี ช้ในการทอผ้า วัตถุดิบ ที่นิยมนำมาใช้ทอผ้า ได้แก่ ไหม ฝ้าย และขนสัตว์นั้น นักวิชาการเช่ือกัน ว่า มีกำเนิดจาก ดินแดนอื่นนอกประเทศไทย ไหมนั้นเช่ือว่ามีต้นกำเนิดมาจากประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนแล้วนำไป เผยแพร่ในญ่ีปุ่น อินเดีย รวมทั้งดินแดนต่างๆ ในเอเชีย และยุโรป ส่วนฝ้าย เชื่อกันว่าอาจมาจากอาหรับและ เผยแพร่เข้ามาใช้กัน อย่างกว้างขวางในอินเดียก่อน จึงเข้ามาในแถบ ประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง ภายหลังจนกลายเป็นพืชพื้นเมืองในแถบน้ีไป สำหรับขนสัตว์ เป็นวัสดุที่เหมาะกับอากาศหนาว เชื่อกันว่า นำมาใช้ทำผ้าในยุโรปตอนเหนือก่อน แล้วจึงแพร่หลาย ไปสู่ดินแดนอ่ืนๆ (วัตถุดิบที่ใช้ในการทอผ้า, 2555: ระบบออนไลน์) 2.4 อตั ลกั ษณ์ผา้ ทอไทลอ้ื จ.นา่ น ผ้าทอลายน้ำไหล ผ้าทอท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทล้ือ จังหวัดน่าน เมืองเก่า ยังคงรักษาประเพณี วัฒนธรรมโบราณของตนเองสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งสันนิฐานว่าการออกแบบลายผ้าทอชาวไทล้ือ สืบเช้ือ สายมาจากชาวไทล้ือในดินแดนสบิ สองปันนา ประเทศจนี อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ.2379 โดยต้ังถ่ินฐานที่บ้านล้าหลวง อ.เชียงคำ จ.พะเยา และตั้งถ่นิ ฐานอยู่ที่บ้านหนองบัว บ้านต้นฮ่าง ต.ป่าคา อ.ท่า วังผา จ.น่าน และบ้านดอนมูล อ.ท่าวังผา จ.น่าน โดยการนำของเจ้าหลวงเมืองล้า ชาวไทล้ือ มีภาษาพูด และ ประเพณีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง และรกั ษาสบื ทอดจนถึงปัจจุบนั น้ี ประวัตดิ ังกลา่ วได้ปรากฎในจิตรกรรมฝาผนังวดั ภูมินทร์ ซึ่งเป็นฝมี ือช่างสกุลล้ือ ท่ีได้วาดลวดลายของ ผ้าซ่ินของผู้หญิงในรูปเป็นลายผ้าซ่ินท้ังหมดด้วยผ้าทอลายน้ำไหลที่ดัดแปลงมาจากผ้าลายชาวลื้อ สมัยแรกๆ นิยมใช้ไหมเงิน และไหมคำ ด้านลายผ้าตรงส่วนที่เป็นหยักของกระแสน้ำ จากน้ันใช้ลายมุกรูปสัตว์แทรกเพ่ือ
9 แสดงว่าผู้คิดลายน้ำไหล ไม่ได้ลอกแบบของชาวล้ือมาทั้งหมด ผ้าทอลายน้ำไหลไทล้ือเร่มิ ทอกันครั้งแรกท่ีบ้าน หนองบวั อ.ทา่ วงั ผา จ.น่าน เปน็ ศลิ ปะการทอผา้ ด้วยมือ(https://mgronline.com/smes/detail/9550000105824) ผ้าทอนำ้ ไหลไทลื้อบ้านหล่ายทุง่ จ.น่าน ผ้าทอลายน้ำไหล ไทลื้อ บ้านหล่ายทุ่ง เป็นผ้าทอลายดั้งเดิมจากบรรพบุรุษท่ีมีเชื้อสายชาวไทลื้อ สืบทอดกันมาหลายช่ัวอายุคน ลวดลายผ้าแบบชนเผ่าไทลื้อดั้งเดิมมาผสมผสานกับ ลายซ่ินหงส์สา ซ่ินตีนจก ซ่ินลายป้องเต็มตัว ซ่ินม่านฝ้าย มาทอเป็นผ้านุ่งไปทำบุญและแจกให้กับญาติพ่ีน้อง เป็นที่ถูกใจแก่ผู้พบเห็น เน่ืองจากมีลวดลายสวยงามแปลกตากวา่ ผ้าซน่ิ ท่วั ไป จงึ มกี ารรเิ ร่ิมรวบรวมสมาชกิ เพื่อมาทอผ้าขนึ้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2526 ได้สร้างสรรค์ลวดลายจากจินตนาการ จากวิถีชีวิตที่อยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ท่ี ห้อมล้อมไปด้วยภูเขามีสายน้ำที่ไหลจากทางเหนือลงไปทางใต้ผ่านเกาะแก่งต่างๆ เวลาน้ำไหลกระทบกับ แสงแดดจะเกิดประกายระยิบระยับสวยงาม มีตน้ กูดขึ้นตลอดสองฝั่งลำนำ้ ก่อใหเ้ กิดลายผา้ ทอท่ีสวยงาม เช่น ลายนำ้ ไหล ลายดอกกูด ลายภูเขา ลายน้ำไหลผสมไทล้ือ และลายน้ำไหลเต็มตัว สบื ทอดมาจนถึงปัจจุบนั และ สามารถพัฒนาเปน็ ลายอน่ื ได้ตามจินตนาการ “ชนิกา โสดานาฎ” ตัวแทนกลุ่มทอผ้าบ้านหล่ายทุ่ง กล่าวว่า ผ้าทอลายน้ำไหลไทล้ือบ้านหล่ายทุ่ง เป็นผา้ ทอลายด้ังเดิมจากบรรพบุรษุ ที่มเี ชือ้ สายไทลื้อสบื ทอดกันมาหลายช่ัวอายุคน“เดิมนัน้ มักจะทอผา้ ซ่นิ ลาย มัดย้อม ซิ่นลายตาเดียว ตาลอน ซ่ินเครื่อง ผ้าหลบ ผ้าเติ้ม ผ้าขะม้า ถุงย่าม และตุง โดยลวดลายท่ีใช้จะเป็น ลายดง้ั เดิมสบื ทอดมาต้ังแตบ่ รรพบุรุษ ทั้ง ลายเก็บ ลายกาบสัก ลายขอลว้ ง ลายหนว่ ย ลายนำ้ แป ลายสีแ่ ปหับ
10 ลายกด ลายกูด ลายปู ลายเฉล่ียง และลายขอกลับ ซ่ึงลายทั้งหมดน้ีถูกเก็บลายใส่เส้นด้ายเพียง 3 เขาไม้ แล้ว นำไปประยุกต์เปน็ ลายต่างๆ ได้” ต่อมาในปี 2523 นางแสงเดอื น ดอกเกยี๋ ง ไดน้ ำลวดลายผ้าแบบชนเผ่าไทลื้อ ด้ังเดมิ มาผสมผสานกบั ลายซ่ินหงส์สา ซน่ิ ตีนจก ซิ่นลายปอ้ งเต็มตัว ซน่ิ ม่านฝ้าย มาทอเป็นผ้านงุ่ ไปทำบุญ และ แจกใหก้ บั ญาติพน่ี ้อง ซ่ึงเปน็ ทีถ่ ูกใจแกผ่ พู้ บเหน็ เน่อื งจากมีลวดลายสวยงามไมเ่ หมือนผา้ ซ่นิ ทัว่ ไป และในปี 2526 ได้สร้างสรรค์ลวดลายจากจินตนาการ จากวิถีชีวิตที่อยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ห้อมล้อมไปด้วย ภูเขา มีสายน้ำไหลจากทางเหนือลงไปทางใต้ผ่านเกาะแกร่งต่างๆ เวลาน้ำไหลกระทบกับแสงแดดจะเกิด ประกายระยิบระยับสวยงาม มีต้นกูดขึ้นตลอดสองฝ่ังลำน้ำ ก่อให้เกิดเป็นลายผ้าทอท่ีสวยงาม อย่าง ลายน้ำ ไหล ลายดอกกดู ลายภูเขา ลายนำ้ ไหลผสมไทล้ือ และลายนำ้ ไหลเต็มตัว ซง่ึ ถูกสบื ทอดมาถึงปจั จุบัน จุดเด่น/เอกลักษณ์ของผ้าทอน้ำไหลไทลื้อ ผ้าทอบ้านหล่ายทงุ่ เป็นผา้ ฝ้ายทอดว้ ยมอื ที่มี ความสวยงามและโดดเด่นในความเป็นเอกลักษณ์ของชน เผา่ ชาวไทลอ้ื ซึ่งมีมาต้ังแต่รุน่ บรรพบุรษุ สบื ทอดมาจนถึงปจั จุบัน การทอผ้าไทล้ือช่างทอผ้าได้นำลวดลายทงั้ เก่า และใหมม่ าผสมผสานกนั ไดอ้ ย่างลงตัวตรงกับความตอ้ งการ สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ไดห้ ลากหลาย มีลวดลายที่หลากหลายซึ่งเกิดจากจินตนาการของ คนทอและเป็นภูมิปัญญาแต่ด้ังเดิม จุดเด่นของผ้า ทอบ้านหล่ายทงุ่ คอื เปน็ ผ้าทอลายไทล้อื แต่โบราณและมกี ารประยุกตล์ ายให้ดอกเลก็ ลง
11 2.5 โครงการหรอื งานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง มัณฑนา ขําหาญ และคณะ การออกแบบผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมเครื่องเรือนจากเส้นใยต้นกล้วย (วารสารวิชาการศิลปะสถาปตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีท่ี 7ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559) เพ่ือศึกษาศักยภาพและสร้างเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างสมดุลและย่ังยืนบน พื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและการสร้างมูลค่าผลผลิตจาก การเกษตรและพัฒนา องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประสิทธิภาพทางการผลิตอุตสาหกรรมและการ บริการด้วยการออกแบบผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรม เครอื่ งเรือนจากเสน้ ใยตน้ กล้วย จากการศึกษาเส้นใยจากต้น กล้วยมีมากมายหลายชนิด ผลจากการทดลองคุณสมบัติดา้ นต่างๆของ เสน้ ใยกล้วยท่ีดีเหมาะที่จะใช้เป็นผ้าทอ ควรเป็นกล้วยป่าเพ่ือให้คุณสมบัติที่เหนียวทนทาน ซ่ึงหาได้ง่ายในท้องถิ่น โตเร็ว ปลูกง่าย มัก พบทั่วไปทุก ภูมิภาค กล้วยเป็นพืชท่ีให้คุณค่ามากมาย เส้นใยแก่มีความเหนียว สามารถใช้ทําเส้นใยถักทอได้ การพัฒนา กรรมวิธีการ ผลิตเส้นใยจากต้นกล้วยโดยการนําต้นกล้วยแกะกาบและก้านใบมาตากแห้งหรืออบกํามะถัน เพื่อให้เส้นใยกล้วยมีความเหนียว คงทน และป้องกันเชื้อรา อีกทั้งต้องอาศัยความชํานาญในการทอประดิษฐ์ ฝีมือออกมาอย่างตั้งใจ เส้นใยกล้วยจึงเป็นอีกทางเลือกหน่ึงที่สร้าง มูลค่า ผ้าทอ เพื่อเพิ่มคุณค่าของกล้วย ให้กับชุมชนท่ีเข้มแข็ง ในการพัฒนาทางเศรษฐกิจต่อไป ผลการวจิ ัยพบว่าผ้าทอจากใยกล้วยมี การพัฒนาองค์ ความรู้และต่อยอดภูมปิ ัญญาท้องถ่ินให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์พฒั นาเศรษฐกิจชุมชนอย่างย่ังยืนได้ตามหลัก ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งดว้ ยการบรหิ ารจดั การใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม การออกแบบงานหัตถกรรมเครื่องเรือน มุ่งเน้นการออกแบบเครื่องเรือนที่ทันสมัย (Modern) จาก วัตถุประสงค์การวิจัยเชงิ คุณภาพก่ึงการทดลองการผลิตดว้ ยเส้นใยตน้ กล้วย ใช้ทดแทนวัสดุประเภทผ้าหุ้มเบาะ เนน้ งานฝีมือด้านเคร่อื งเรือนโดย โครงสร้างตวั อย่างเกา้ อ้ีรับแขกยังคงเป็นการใชไ้ ม้จริงบุฟองน้ำ หุ้มด้วยผา้ ทอ จากเส้นใยตน้ กล้วย เปน็ การสร้างจดุ เดน่ ของวัสดุธรรมชาตเิ พ่ือพัฒนาและเพ่มิ ผลผลิต อุตสาหกรรมการเกษตร ให้มีความ เจริญเติบโต1 สรุปผลด้านการออกแบบงานหัตถกรรมเครื่องเรือนเป็นชุดเก้าอี้น่ังรับแขกบุเบาะ ฟองน้ำหุ้มด้วยผ้าทอจากเส้นใยกล้วยที่ได้ จากธรรมชาติจากการทดลองตามกระบวนการข้ันตอนขน้ึ รูปเคร่ือง เรอื นสามารถจะใช้ประโยชน์ได้อยา่ งเหมาะสมท้ังกับ สภาพแวดล้อมของท้องถิ่นและสภาพเป็นอยู่ในปัจจุบันที่ ทันสมัยแบบสากล สามารถพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมเครื่องเรือนด้วยรูปแบบ ท่ีเรียบง่าย หรูหรา เช่น บ้านพัก อาศยั สถานท่ีทํางาน โรงแรมหรือสถานท่ีให้การต้อนรับกส็ ามารถใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสม 1.ด้านการนําไปใช้ผลิตเครื่องเรือนควรพัฒนาเส้นใยจากต้นกล้วยให้เป็นช้ินส่ วนของเครื่องเรือนท่ี หลากหลายมากกว่าการหุ้ม เบาะ 2.ดา้ นคุณสมบัติของผ้าทอจากเส้นใยต้นกล้วยท่ีได้จากธรรมชาติเป็นการผลิตงานหัตถกรรมเส้นใย จึง มีความสวยงาม มนั วาว เหนียว 3.ด้านการออกแบบชุดเก้าอี้น่ังรับแขกสามารถพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมเครื่องเรือนด้วยรูปแบบที่ที่ ทันสมัย เรียบง่าย หรูหรา เหมาะกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นและสภาพเป็นอยู่ในปัจจุบันที่ทันสมัยแบบ สากล และทนทาน
12 บุษรา สร้อยระย้า. จากเส้นใยต้นกล้วยมาเป็น 'เสื้อใยกล้วย' ...ระบายร้อนได้ดี (Green Trends in Food, Crafts, Fashion and Textiles? ) : คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (มทร.). วิทยา เขตพระนคร.2552. “การผลิตเส้นใยท่ีทําจากธรรมชาติซึ่งส่วนท่ีนํามาใช้ เป็นส่วนของกาบกล้วยกระบวนการผลิตด้วยการนํากาบกล้วยทีไ่ ดม้ า เข้าเครื่องแยก เพื่อนําไปนวดและทาํ การ ฟอกขาว หลังจากน้ันนําไปเป็นเส้นด้าย แล้วนําเส้นด้ายท่ีได้มานั้นไปทอเป็นเน้ือผ้ามีการดูด ซับนํ้าได้ดีช่วย ระบายอากาศ มีความทนทาน ไม่ต่างจากผ้าฝ้าย หรือผ้าลินิน สีสันสดใสเป็นธรรมชาติหรือสามารถเลือกได้ ตามใจ ชอบ ที่ช่วยระบายความร้อนได้ดีจึงเหมาะอย่างยิ่งท่ีจะเลือกใส่ในบ้าน ราคาของเส้ือที่ได้ตัดเย็บ เรียบร้อยแล้วครั้งแรกท่ีวางจําหน่าย อาจจะมีราคา ค่อนข้างสูงผลิตออกมาน้อยทําให้ต้นทุนการผลิตสูง หาก เข้าสู่โรงงานก็จะยังมีราคาที่สูงแต่เพ่ือเป็นการช่วยแก้ไขปัญหา ลดภาวะ โลกร้อนรวมถึงการสร้างเครือข่าย แลกเปล่ยี นทางวชิ าการซึง่ มีคณุ สมบัติเหนยี วเป็นพิเศษเม่อื ไดร้ บั ความชนื้ และยังสามารถ ทนตอ่ น้ำทะเลได้ดี \" ยงยุทธ จันทรอัมพร. ผนังเฟอร์นิเจอร์จากใยกล้วย อิงธรรมชาติ: สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร. คณะสถาปตั ยกรรม ศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.)2552. “เส้นใยกลว้ ยน้ำว้ามคี วามเหนยี วของเส้น ใยสูง เหมาะจะนําไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่าเพิ่มให้ต้นกล้วยน้ำว้าหลัง โค่นทิ้งเม่ือตัดเครือขาย การ แปรรูปต้นกล้วยเปน็ ผนงั จะเลือกใช้ต้นกลว้ ยน้ำว้า ซงึ่ มเี สน้ ใยเหนยี วกว่ากลว้ ยชนิดอื่น การพฒั นากรรมวธิ ี การ ผลิตด้วยการนําต้นกล้วยแกะกาบและก้านใบมาตากแห้งหรืออบกํามะถันเพ่ือให้เส้นใ ยกล้วยมีความเหนียว คงทนและป้องกันเชื้อรา โดยนําเฉพาะลําต้นมาห่ันให้ได้ขนาด 2.5 -5 เซนติเมตร แล้วนําไปผึ่งแดดให้แห้งจน ได้เส้นใยที่มีน้ำหนักเบาลง จากน้ันนําเส้นใยมาผสมกับกาวไอโซไซยาเนต สําหรับเพ่ิมคุณสมบัติการเกาะตัว โดยทดลองทั้งส้ิน 9 สูตร โดยข้ึนรูปแผ่นเส้น ใยกล้วย สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อไปคือ ค่าการพองตัวตามความหนา ซ่ึงยังไม่ผ่านเกณฑ์การผลิต เน่ืองจากวัสดุท่ีได้มีความพรุนค่อนข้างสูง ทําให้ดูดซึมน้ำได้ง่าย แต่สําหรับ คุณสมบัติมอดูลัสแตกร้าวและคุณสมบัติมอดูลัสยืดหยุ่นผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สามารถท่ีจะนําไปต่อยอดเชิง พาณชิ ย์ได้ในอนาคตไดจ้ ริง”
13 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา 1. วสั ดุ/อุปกรณ์ 1.1 ตน้ กล้วยน้ำว้า(ท่ีไมใ่ หผ้ ลผลติ แล้ว) 1.2 มีด 1.3 ENZease: เอนไซม์ดูโอสำหรับการลอกแป้งและกำจัดส่งิ สกปรกบนผ้าฝ้ายแบบขั้นตอนเดยี ว 1.4 นำ้ 1.5 กระจก 1.6 เส้นฝ้าย 1.7 เครอ่ื งฉกี เส้นใยกลว้ ย 1.8 เครอื่ งทอผ้า 2. วธิ ีการศกึ ษา 2.1 ข้ันการทำเส้นใยกล้วย 1. นำตน้ กล้วยมาตัดให้ได้ความยาวท่ีตอ้ งการ จากน้ันนำต้นกลว้ ยที่ตดั ได้ วางบนกระจกแล้วใชม้ ีด ขูดทำมุมประมาณ 30-45 องศา ขูดท้งั สองด้านใหบ้ างจนเหลือแต่เสน้ ใย
14 2. จากน้นั ฉกี เสน้ ใยกล้วยใหเ้ ปน็ เสน้ ดว้ ยเคร่ืองฉีกใยกลว้ ย ภมู ิปัญญาชาวบา้ นท่ที ำไว้ 3. เม่ือฉกี เส้นใยกลว้ ยแลว้ นำนำ้ ใส่กะละมงั ใส่เอนไซม์ดโู อลงไป (น้ำ 20 ลิตรต่อเอนไซม์ 2 ชอ้ นโตะ๊ ) นำเสน้ ใยกลว้ ยท่ีฉกี ได้ แชล่ งในน้ำผสมเอนไซม์ ประมาณ 7 นาที เพอ่ื ทำความสะอาดเส้นใยหมดจด ทำให้ย้อม สตี ิดงา่ ย สสี วย สมำ่ เสมอ อีกทง้ั เป็นเอนไซม์ผลติ จากจุลินทรีย์ ไมท่ ำลายเนื้อผ้าเหมือนสารเคมี เสน้ ใยที่ไดม้ ี ความนมุ่
15 4. นำเส้นใยกลว้ ยที่แช่เสร็จแล้วมามดั รวมกัน แล้วนำไปห้อยเพ่ือตากให้แห้ง สามารถนำไปแปรรปู ต่อไป 2.2 ขั้นการแปรรปู เป็นผา้ ทอ 1. นำเสน้ ใยกล้วยที่ได้มาทอสลบั กบั เสน้ ฝ้าย เป็นผ้าผนื 2.2 ข้ันการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ 1. นำเสน้ ใยกล้วยที่ไดม้ าทอสลบั กบั เสน้ ฝา้ ย เปน็ ผา้ ผนื แลว้ นำมาตดั เป็นจานรองแกว้ ผา้ รองจาน กระเป๋าหรือนำไปแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑ์อื่นๆได้ ดังนี้
16 บทที่ 4 ผลการศึกษา โครงงานวทิ ยาศาสตร์ดา้ นสง่ิ แวดล้อม ประเภท นัวตกรรมจากขยะเสน้ ใยกล้วย เนื่องจากกลว้ ยทถ่ี ูก ตดั เครอื แลว้ ลำตน้ จะต้องถูกตัดท้ิงไปเน่ืองจากไมใ่ ห้ผลผลติ แล้ว ทำใหเ้ กดิ ขยะธรรมชาตมิ ากขนึ้ การทำ นวตั กรรมจากเส้นใยกล้วย สามารถลดปริมาณของขยะธรรมชาติ(ขยะอินทรีย์)ได้ ด้วยการนำเสน้ ใยกลว้ ยที่ ไดม้ าทอเปน็ ผ้าสลับกบั เส้นฝ้าย แลว้ นำผ้าทไี่ ด้นน้ั ไปแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑ์ต่างๆ ผลิตภณั ฑท์ ่ีได้นั้นเกดิ จาก ความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามคงทนแขง็ แรง เปน็ อัตลักษณช์ องชมุ ชน สามารถพัฒนาสง่ิ ประดิษฐห์ รอื ผลิตภัณฑ์ ต้นแบบสรา้ งมลู คา่ เพิม่ ต่อยอดสู่อาชีพได้ ภาพขยะต้นกลว้ ย (ตน้ กลว้ ยที่ไม่ใหผ้ ลผลิตแลว้ ) เสน้ ใยกล้วย ผา้ ทอเส้นใยกล้วย ผลิตภัณฑ์จากผา้ ทอเส้นใยกล้วย
17 บทที่ 5 สรุปผลและอภปิ รายผล 1. สรปุ ผลและอภปิ รายผล จากการทำโครงงานวิทยาศาสตรด์ ้านสง่ิ แวดล้อม ประเภทนวตั กรรมจากขยะ มหัศจรรยผ์ ลติ ภัณฑ์จาก เสน้ ใยกลว้ ยในคร้งั น้ี พบวา่ ปรมิ าณขยะอินทรยี จ์ ากต้นกลว้ ยที่ถูกตดั ทง้ิ มีปริมาณลดลง และสามารถนำไป สรา้ งเป็นนวตั กรรมหรอื เปน็ ผลติ ภัณฑต์ ่อได้ และผู้ศกึ ษาได้ทราบถึงกระบวนการสรา้ งนวัตกรรมใหม่จากเสน้ ใย กล้วย เพื่อลดปรมิ าณขยะธรรมชาติจากต้นกล้วยท่ีไม่ให้ผลผลติ แล้ว และยงั สามารถพฒั นาสิ่งประดษิ ฐ์หรือ ผลิตภัณฑต์ ้นแบบของชมุ ชนเพอื่ สรา้ งมลู ค่าเพิ่มได้ โดยการนำเสน้ ใยกลว้ ยมาทอกบั เสน้ ฝ้าย เป็นผา้ ทอจากใย กลว้ ยที่สวยงามและมีความแขง็ แรง อีกทั้งเส้นใยกลว้ ยยงั สามารถนำไปย้อมสีธรรมชาติ และนำมาทอเป็น ลวดลายตา่ งๆ รว่ มกับลายผ้าภูมิปัญญาชาวบา้ น ออกแบบเปน็ ผลติ ภัณฑ์เปน็ อตั ลักษณ์ของชุมชน และนำไป ต่อยอดสู่การสร้างงานสร้างอาชีพได้ 2. ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา 1. เสน้ ใยกล้วยสามารถนำไปยอ้ มสีธรรมชาตไิ ด้ตามที่ต้องการ และนำมาทอเปน็ ลวดลายตา่ งๆ 2. การนำเส้นใยกล้วยไปทอเปน็ ผ้าผืน สลับกบั เสน้ ฝ้าย สามารถนำผา้ ท่ีได้ไปแปรรูปเป็นผลติ ภัณฑอ์ ืน่ ๆท่ี หลากหลาย เชน่ ตดั เยบ็ เปน็ กระเปา๋ หนงั เพ่ิมมูลค่าใหก้ บั ผลิตภณั ฑไ์ ด้ 3. เศษกล้วยทเี่ หลือจากการขูด สามารถนำไปทำปุ๋ยหมักหรือเปน็ อาหารให้สัตว์เลยี้ งได้
ง บรรณานกุ รม บุษรา สร้อยระย้า. จากเส้นใยต้นกล้วยมาเปน็ 'เส้ือใยกล้วย' ...ระบายร้อนได้ดี (Green Trends in Food, Crafts, Fashion and Textiles? ) : คณบดคี ณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (มทร.). วิทยา เขตพระนคร.2552. มัณฑนา ขาํ หาญ และคณะ. การออกแบบผลติ ภัณฑ์งานหตั ถกรรมเครอ่ื งเรือนจากเส้นใยต้นกลว้ ย (วารสารวิชาการศิลปะสถาปตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปที ่ี 7ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559). ยงยุทธ จนั ทรอัมพร. ผนงั เฟอรน์ เิ จอร์จากใยกลว้ ย องิ ธรรมชาติ: สาขาวิชาเทคโนโลยที างอาคาร. คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร.์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (มก.)2552. การทอผ้า และแนวคิดเก่ยี วกับภมู ปิ ญั ญาการทอผ้า วิธสี บื ค้น. [ออนไลน์]. https://th.wikipedia.org/wiki. (วันท่คี น้ ข้อมูล : 20 มถิ ุนายน 2566). สภุ ทั ราโอฬารกิ เดช. แนวคดิ เกีย่ วกับภมู ิปัญญาการทอผา้ วิธสี ืบคน้ . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2556/edvoc40556tc_ch2.pdf (วนั ท่ีค้นขอ้ มูล : 20 มิถุนายน 2566). อตั ลกั ษณ์ผ้าทอไทลื้อ จ.น่าน วิธสี ืบค้น. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://mgronline.com/smes/detail/9550000105824 (วนั ทีค่ น้ ข้อมูล : 20 มิถนุ ายน 2566). เส้นใยกลว้ ย วิธีสืบค้น. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.bangkokcrafter.com/banana- fibers (วนั ท่ีค้นข้อมลู : 20 มิถุนายน 2566). วธิ กี ารทำ เครือ่ งแยกเสน้ ใยกลว้ ย วธิ สี บื คน้ . [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.atdp- textiles.org/blog_banana_fiber/ . (วนั ทค่ี ้นข้อมูล : 20 มิถนุ ายน 2566).
จ ภาคผนวก
ภาพผลงาน /นวัตกรรมจากขยะ นวัตกรรมจากขยะเสน้ ใยกลว้ ย
นวตั กรรมจากขยะเสน้ ใยกลว้ ย
นวตั กรรมจากขยะเสน้ ใยกลว้ ย
นวตั กรรมจากขยะเสน้ ใยกลว้ ย
นวตั กรรมจากขยะเสน้ ใยกลว้ ย
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภท นวัตกรรมจากขยะ เรื่อง มหัศจรรย์ผลิตภัณฑ์จากเส้นใยกล้วย สกร.อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: