Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เนื้อเยื่อพืช

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เนื้อเยื่อพืช

Published by buddee.nattikarn, 2020-06-15 08:43:51

Description: ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เนื้อเยื่อพืช

Search

Read the Text Version

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูแบบสบื เสาะหาความร(ู 5E) เรื่อง โครงสรา งและหนา ท่ีของพืชดอก รายวชิ า ชวี วิทยาเพ่มิ เติม ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 5 ชุดที่ 1 เน้ือเยื่อพชื นางณัฐฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร โรงเรียนรตั นบุรี อาํ เภอรตั นบุรี จงั หวดั สุรินทร สํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 33 ชุดกิจกรรมการเรียนรู ชดุ ที่ 1 เนื้อเยอื่ พืช โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

ก คาํ นาํ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความร(ู 5E) เรือ่ ง โครงสรา งและหนาท่ีของพืชดอก จดั ทําขึ้นเพอ่ื ใชในการประกอบการเรียนการสอน วทิ ยาศาสตร รายวชิ า ชวี วิทยาเพิ่มเติม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ซึ่งเปนชดุ กิจกรรมท่ีเนน ใหนักเรียนไดลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง สงเสรมิ ทกั ษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร กระบวนการสบื เสาะหาความรู ทักษะการสบื คน ขอมลู กระบวนการคดิ อยางมีเหตุผล และการนาํ ความรูไปใชประโยชน โดยครทู ําหนา ท่ีเปน ผูใหคาํ ปรกึ ษา แนะนํา และคอยอํานวย ความสะดวก ตลอดจนติดตามผลการศกึ ษาอยางใกลชิด การจดั ทําชุดกิจกรรมการเรยี นรแู บบสบื เสาะหาความรู (5E) เรอื่ ง โครงสรา งและหนา ที่ของพชื ดอก ไดจดั ทําทั้งหมด 6 ชดุ ดงั นี้ ชดุ ท่ี 1 เน้ือเย่ือพืช ชดุ ท่ี 2 โครงสรา งและหนา ท่ีของราก ชุดท่ี 3 โครงสรางและหนา ทีข่ องลําตน ชดุ ที่ 4 โครงสรา งและหนา ที่ของใบ ชดุ ที่ 5 การแลกเปลี่ยนแกส และการคายนํ้าของพืช ชุดท่ี 6 การลาํ เลยี งนํ้า สารอาหารและอาหารของพืช สาํ หรบั ชุดนี้เปน ชดุ ที่ 1 เนื้อเย่อื พชื มีจดุ ประสงคเ พอื่ ใหนกั เรียนสามารถสบื คน ขอมลู เก่ยี วกับ โครงสรา ง และหนา ทข่ี องเน้อื เยื่อเจรญิ และเนื้อเย่ือถาวร และสามารถอธบิ าย จาํ แนกลักษณะของเน้ือเยือ่ พืชแตละชนดิ ได ผจู ดั ทําขอขอบพระคณุ ทานผูอํานวยการโรงเรยี นรตั นบุรี ผเู ชยี่ วชาญ และคณะครูทุกทา น ท่ใี หคาํ แนะนาํ จนทํา ใหช ุดกิจกรรมการเรยี นรแู บบสบื เสาะหาความรู(5E) เรื่อง โครงสรา งและหนาที่ของพชื ดอก สาํ เรจ็ ลุลวงไปดวยดี หวังเปน อยา งยิง่ วา ชดุ กิจกรรมการเรยี นรนู ี้ จะสงผลใหน กั เรยี นมี ทกั ษะกระบวนการคิด กระบวนการทาง วิทยาศาสตร ควบคูก ับการพัฒนาจติ วทิ ยาศาสตร สามารถนํา ความรูท่ไี ดไปประยุกตใ ชอยา งมีเหตผุ ล มีคณุ ธรรม และดําเนนิ ชวี ติ อยูในสงั คมไดอยา งมีความสขุ ณฐั ฏิกานต ทองเกษม ชุดกิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เน้ือเย่อื พืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

ข สารบัญ เรอ่ื ง หนา - ผังมโนทัศนหนวยการเรียนรู เรื่อง โครงสรางและหนาทีพ่ ืชดอก 1 2 - คาํ แนะนําในการใชชดุ กิจกรรม - ผงั ข้ันตอนการใชช ุดกิจกรรมการเรยี นรูแบบสืบเสาะหาความร(ู 5E) 3 เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก 4 - มาตรฐานการเรียนรู 4 - ผลการเรียนรู 4 - จดุ ประสงคการเรียนรู 4 - สมรรถนะสาํ คัญ 5 - แบบทดสอบกอ นเรียน ชุดท่ี 1 เนือ้ เยื่อพืช 8 - กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรยี นชุดที่ 1 เน้ือเยอ่ื พืช 9 - ขน้ั สรา งความสนใจ (Engagement) 10 11 - บตั รกิจกรรมท่ี 1 เซลลพ ืชกับสตั วตางกนั อยางไร(Plant & Animal cell) 12 - ขั้นสํารวจและคน หา (Exploration) 26 - บัตรเนอื้ หาท่ี 1 เนื้อเย่ือพชื (Plant tissues) - ขัน้ อธิบายและลงขอสรปุ (Explanation) 27 - บัตรกิจกรรมท่ี 2 เนื้อเย่ือเจรญิ และเนื้อเยอื่ ถาวร 29 30 (Meristematic & Permanent) 33 - ขั้นขยายความรู (Elaboration) 34 - บัตรกจิ กรรมท่ี 3 ศึกษาความรเู พ่ิมเติมจากวีดีทัศนเ ร่อื งเนอ้ื เยอื่ พชื 35 - ข้นั ประเมนิ (Evaluation) 38 - บัตรคําถาม เร่ือง เน้อื เย่อื พืช (Plant tissue) 39 - แบบทดสอบหลังเรยี น ชุดที่ 1 เน้อื เย่ือพืช - กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลังเรียนชดุ ท่ี 1 เนื้อเย่อื พชื - บรรณานุกรม ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เน้ือเยือ่ พชื โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรัตนบุรี

1 ผังมโนทศั นห นว ยการเรียนรู เรื่อง โครงสรางและหนา ที่ของพชื ดอก ชุดที่ 6 การ ชดุ ท่ี 1 เน้ือเยื่อ ชดุ ท่ี 2 ลําเลยี งนาํ้ พืช โครงสรางและ สารอาหารและ หนา ทขี่ องราก อาหารของพชื โครงสรางและ ชุดที่ 5 การ หนาทข่ี อง ชุดท่ี 3 แลกเปลย่ี นแกส พืชดอก โครงสรา งและ และการคายนํ้า ชดุ ท่ี 4 ของพืช หนาท่ขี อง โครงสรางและ ลาํ ตน หนา ท่ขี องใบ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู ชดุ ท่ี 1 เน้ือเยื่อพืช โดยครูณัฐฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

2 คําแนะนาํ ในการใชชุดกิจกรรม ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู (5E) เรือ่ ง โครงสรา งและหนา ทีข่ องพืชดอก ชุดที่ 1 เนื้อเย่อื พชื เปนชุดกิจกรรมทจี่ ัดทาํ ข้ึนเพือ่ ใชในการประกอบการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร รายวิชา ชวี วิทยาเพ่มิ เตมิ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 นกั เรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเอง ใหนกั เรยี นอานคาํ แนะนาํ และปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามขนั้ ตอน ดังตอไปนี้ 1. ใหนกั เรยี นอา นคาํ ชี้แจงเก่ียวกบั ชดุ กิจกรรมการเรียนรูใหเขาใจกอนลงมือศึกษาชุดกิจกรรมการเรยี นรู 2. ใหน กั เรียนแบงกลุมออกเปน 6 กลมุ กลุมละ 5-6 คน โดยคละความสามารถนักเรียนในกลุมทง้ั สาม ระดบั คือ เกง ปานกลาง ออน และคละเพศ 3. นักเรยี นทําแบบทดสอบกอนเรียนประจําชดุ กิจกรรมการเรยี นรแู บบสืบเสาะหาความรู (5E) เรื่อง โครงสรางและหนาท่ีของพชื ดอก ชดุ ที่ 1 เน้อื เยื่อพืช จาํ นวน 10 ขอ โดยทาํ ลงใน กระดาษคาํ ตอบที่ครูแจก ให 4. นกั เรียนแตละกลมุ รว มกนั ศึกษาผลการเรยี นรูและจุดประสงคการเรยี นรู 5. นักเรยี นลงมือปฏิบัตกิ ิจกรรม จากชดุ กิจกรรมการเรียนรูแ บบสบื เสาะหาความรู(5E) เร่ือง โครงสรา งและหนา ที่ของพชื ดอก ชุดที่ 1 เน้ือเย่ือพืช ดังนี้  ขน้ั ที่ 1 ขน้ั สรางความสนใจ (Engagement)  ขนั้ ท่ี 2 ขน้ั สํารวจและคนหา (Exploration)  ขัน้ ท่ี 3 ขั้นอธบิ ายและลงขอสรุป (Explanation)  ขน้ั ท่ี 4 ข้ันขยายความรู (Elaboration)  ขน้ั ท่ี 5 ขั้นประเมนิ (Evaluation) 6. เมือ่ นกั เรียนทํากิจกรรมครบทง้ั 5 ขั้นตอนแลว จึงลงมือทําแบบทดสอบหลังเรยี นจํานวน 10 ขอ เพอ่ื วัดความรคู วามเขาใจอกี คร้งั แลว ตรวจคาํ ตอบ เพื่อเปรยี บเทียบความกาวหนา ทางการเรียน 7. หากมขี อ สงสยั ใหปรกึ ษาครูผสู อนไดท นั ที ชุดกิจกรรมการเรยี นรู ชุดที่ 1 เนอ้ื เย่ือพชื โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

3 ผังขัน้ ตอนการใชชดุ กิจกรรมการเรียนรูแ บบสืบเสาะหาความร(ู 5E) เร่อื ง โครงสรา งและหนา ทข่ี องพืชดอก รายวิชา ชีววทิ ยาเพิ่มเติม รหสั วชิ า ว32242 ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ศึกษาคาํ แนะนาํ ในการใชชดุ กจิ กรรม ไมผานเกณฑ ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรู ผลการเรียนรู จุดประสงการเรยี นรู และสมรรถนะสําคญั ทาํ แบบทดสอบกอนเรยี น ปฏิบัติตามชดุ กิจกรรมการเรียนรู ชดุ ท่ี 1 เนอ้ื เยอ่ื พชื ทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี น นกั เรยี นไดร ะดับคณุ ภาพดมี ากถอื วาผา นเกณฑ ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูช ดุ ถัดไป ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนอ้ื เยือ่ พืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

4 มาตรฐานการเรยี นรู - สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช วี ภาพ สาระชวี วทิ ยา 3. เขา ใจสวนประกอบของพชื การแลกเปล่ียนแกส และคายนํา้ ของพชื การลาํ เลียง ของพืช การสงั เคราะหด วยแสง การสืบพันธุของพชื ดอกและการเจรญิ เตบิ โต และการตอบสนองของพืช รวมทั้ง นาํ ความรูไปใชป ระโยชน ผลการเรยี นรู อธิบายเกี่ยวกบั ชนิดและลกั ษณะของเน้ือเยื่อพชื และเขียนแผนผงั เพอ่ื สรปุ ชนิดของเน้อื เยอื่ พชื จุดประสงคการเรยี นรู 1. ดานความรู (K) 1.1 อธิบายลักษณะและหนาที่และระบบุ ริเวณที่พบเน้ือเย่ือเจริญและเนือ้ เย่ือถาวรของ พชื ดอกได 1.2 เขยี นแผนผังเพือ่ สรุปชนดิ ของเนื้อเย่อื พืชดอกได 2. ดา นทักษะกระบวนการ (P) 2.1 ทักษะกระบวนการกลุม 3. ดานคุณลกั ษณะอันพึงประสงค (A) 3.1 มีวนิ ยั 3.2 ใฝเรยี นรู 3.3 มุง ม่นั ในการทาํ งาน สมรรถนะที่สําคญั 1. การส่ือสาร 2. การคดิ 3. การใชท ักษะชีวติ 4. การใชเทคโนโลยี ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชุดที่ 1 เน้ือเยื่อพืช โดยครูณัฐฏกิ านต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

5 แบบทดสอบกอนเรียน ชุดที่ 1 เนื้อเยื่อพืช คาํ ชแี้ จง 1. แบบทดสอบนี้เปนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ จํานวน 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใชเวลาในการทําแบบทดสอบ 10 นาที 3. ใหน กั เรียนทําเคร่ืองหมาย X เลอื กคาํ ตอบที่ถูกทีส่ ุดเพียงคําตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบ ที่กาํ หนดให 1. ขอใดไมใชลกั ษณะของเนอื้ เย่ือเจรญิ ก. มีการแบง เซลลอ ยตู ลอดเวลา ข. มีขนาดเซลลใหญแ ละแข็งแรง ค. มผี นงั บางและเซลลมขี นาดเล็ก ง. มีขนาดเซลลเลก็ และนิวเคลยี สขนาดใหญ 2. ขอใดไมไ ดเปน ผลมาจากเนื้อเย่ือเจรญิ ก. ตน ไผมปี ลอ งที่ยาวขึน้ ข. ตน ลําไยมีรากขนาดใหญม ากขึ้น ค. ตน มะมวงมีการขยายขนาดออกทางดา นขาง ง. การเกดิ เซลลข นรากในเมลด็ ถว่ั เขียวที่กาํ ลงั งอก 3. เนอ้ื เยื่อถาวรเชิงเดย่ี วท่ผี นังเซลลม สี ารซเู บอรินมาพอก สามารถพบไดในเน้ือเยื่อใด ก. Epidermis ข. Endodermis ค. Vascular bundle ง. Pith ชุดกิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ท่ี 1 เนอื้ เย่ือพชื โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

6 4. อาหารทีพ่ ืชสรางข้ึนมักนาํ ไปสะสมท่ีเซลลช นิดใด ก. Sclerid ข. Sieve tube ค. Parenchyma ง. Spongy cell 5. ผลสาล่ีและฝร่งั พบเน้ือเย่ือชนิดใดมากท่สี ุด ก. Sclerid ข. Parenchyma ค. Collenchyma ง. Chlorenchyma 6. ตนสักลาํ เลยี งน้ําตาลท่ีไดจากการสังเคราะหด วยแสงทางเซลลใดของเน้ือเยื่อลําเลยี งอาหาร ก. Sieve tube ข. Phloem fiber ค. Companion cell ง. Phloem parenchyma 7. ไมยนื ตน มีการลาํ เลียงน้ําและแรธ าตทุ างเนอื้ เยื่อลาํ เลยี งนาํ้ ผานเซลลช นดิ ใดไดดที สี่ ุด ก. Vessel member ข. Companion cell ค. Sieve tube member ง. Xylem parenchyma 8. ขอ ใดเปนเนื้อเย่ือถาวรเชงิ เด่ยี วท้งั หมด ก. Xylem - Phloem ข. Tracheid – Vessel ค. Parenchyma - Collenchyma ง. Sieve tube member - Vessel ชดุ กิจกรรมการเรียนรู ชดุ ที่ 1 เนื้อเยอ่ื พชื โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

7 9. Vessel มลี ักษณะเปนอยางไร ก. เปนเซลลท่ีตายแลว มผี นงั บาง ข. เปนทอสน้ั ๆ มาตอ กนั และยังมีชีวติ อยู ค. เปนเซลลเดยี วคลายทอประปา แตผนังเซลลบาง ง. เปนเซลลหลายเซลลท่ผี นงั ตอนปลายเปดหากัน ผนงั เซลลห นา 10. เซลลใ ดตอ ไปนี้เปนเซลลท ีย่ งั คงมชี ีวิตอยแู ตไมม นี วิ เคลียส ก. Tracheid ข. Parenchyma ค. Vessel member ง. Sieve tube member ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนือ้ เยือ่ พชื โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

8 กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรยี น ชุดท่ี 1 เน้ือเยื่อพืช ชือ่ .....................................................................ชน้ั .............เลขท.ี่ ........... คําชี้แจง ใหนกั เรยี นทําเคร่ืองหมาย X เลือกคําตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ เพียงคําตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบทก่ี ําหนดให ขอ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนท่ีได ขอสอบ งายมากเลย ใชไหมคะ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู ชุดที่ 1 เนอ้ื เย่ือพืช โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

9 ขน้ั สรา งความสนใจ (Engagement) บัตรคําสงั่ 1. ใหน ักเรยี นแตละกลุม เปรยี บเทียบความแตกตา งของเชลลพ ชื และเซลลส ตั ววา มลี ักษณะทแ่ี ตกตางกนั อยางไร และโครงสรางท่ีเราสามารถพบไดในเซลลพืชแตไมพบในเซลลสตั ว 2. ใหนกั เรยี นแตล ะกลมุ ชวยกันอภปิ รายวา ลักษณะและโครงสรา งของเซลลพ ชื ทตี่ างไปจากเซลลสัตวน ัน้ ทําใหพ ืชมลี ักษณะทีต่ างไปจากสง่ิ มีชวี ติ อืน่ ๆ อยางไร 3. ใหนกั เรียนแตล ะกลุมชวยกันวเิ คราะหวาการที่พชื มลี กั ษณะท่ตี างไปจากส่ิงมชี วี ิตชนิดอื่นนนั้ ทําใหพชื มคี วามสาํ คัญตอ ส่งิ มชี ีวติ ชนดิ อน่ื ๆ อยา งไร ชุดกจิ กรรมการเรียนรู ชุดที่ 1 เนอื้ เยอื่ พืช โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

10 บตั รกิจกรรมที่ 1 เซลลพ ชื กับสตั วต างกันอยางไร (Plant & Animal cell) ก. เซลลส ัตว ข. เซลลพืช ทีม่ า http://2.bp.blogspot.com/-(ออนไลน),2558 คําสัง่ จากภาพเซลลพืชและเซลลส ัตว จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. เซลลพชื และเซลลส ตั วม ลี ักษณะแตกตางกนั อยางไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. โครงสรา งใดบางท่ีพบในเซลลส ตั วแตไ มพบในเซลลพ ืช .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. โครงสรางใดบางท่พี บในเซลลพชื แตไมพบในเซลลสตั ว .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. จากโครงสรา งในขอ 3 ทําใหพืชมีลกั ษณะสําคัญที่ตา งไปจากสงิ่ มชี ีวิตอน่ื ๆ อยา งไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 5. จากลกั ษณะสาํ คัญของพืชในขอ ท่ี 4 ทําใหพืชมคี วามสําคัญกับสง่ิ มีชวี ิตชนดิ อื่นๆ อยา งไร .................................................................................................................................................................................... .. ................................................................................................................................................................................. ชุดกิจกรรมการเรยี นรู ชุดท่ี 1 เน้อื เยือ่ พชื โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

11 ข้นั สาํ รวจและคนหา (Exploration) บัตรคําสั่ง 1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เนื้อเยื่อเจริญและเนอื้ เย่อื ถาวร อยูทส่ี วนใดของ โครงสรา งของพชื ประกอบดว ยเน้อื เยือ่ อะไรบาง มลี ักษณะและหนา ท่อี ยางไร 2. นักเรียนแตละกลมุ สืบคน ขอมูลจาก บัตรเนอื้ หาท่ี 1 เนอื้ เย่ือพืช (Plant tissues) ชดุ กิจกรรมการเรียนรู ชดุ ที่ 1 เนื้อเย่อื พืช โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

12 บตั รเนอ้ื หาที่ 1 เนื้อเยอ่ื พืช (Plant tissues) พืช (Plant) คอื ส่ิงมชี ีวติ หลายเซลลท ปี่ ระกอบขึน้ มาจากเซลลยูคาริโอต มผี นังเซลลเปนสารประกอบ พวกเซลลโู ลส มคี ลอโรฟล ลท ่ีเปน สารสีเขยี ว สามารถสงั เคราะหด ว ยแสงไดมชี วงชีวิตท่ีเปน ระยะเอม็ บริโอ ตลอดจนมีวงชีวติ แบบสลบั (Alternation ) เน้ือเย่อื พชื คอื กลมุ ของเซลลพืชชนดิ เดียวกันหรือตางชนิดกันทม่ี าทํางานรวมกนั ภายใตโครงสรา ง หรอื อวยั วะตางๆ ของพชื เชน ราก ลําตน ใบ เปน ตน ในกลุมพืชดอก (Angiosperm) มกี ารจัดจาํ แนก เนอ้ื เย่ือพชื ออกเปนหลายชนิด โดยมีการกาํ หนดเกณฑต างๆ ข้นึ มา เพื่อใชในการจดั จําแนกเน้ือเย่ือพืช สามารถแบง เปน 2 ประเภทใหญ คือ เนื้อเย่ือเจริญ (Meristematic tissue) และ เนือ้ เย่ือถาวร (Permanent tissue) โดยใชเ กณฑการแบงเซลลใ นการจดั จาํ แนกดังน้ี - ถาเน้ือเยือ่ ใดมีการแบง เซลลแบบไมโทซสิ ไดตลอดเวลา จัดเปนเนื้อเยื่อเจรญิ - แตถาเนื้อเย่ือใดหยุดการแบงเซลล จัดเปน เน้ือเยื่อถาวร 1. เนอ้ื เย่ือเจริญ (Meristem tissue) เปน เน้ือเยื่อทปี่ ระกอบดวยเซลลทม่ี ีการแบงตัว แบบไมโทซสิ อยตู ลอดเวลา แตละเซลลในเนือ้ เยื่อน้ี เรยี กวา เซลลเริม่ ตน (Initial cell) มกั พบทีบ่ ริเวณปลายยอด และปลายรากของพืช ลกั ษณะของเซลลใ นเนอ้ื เยอ่ื เจรญิ 1. เปน เซลลท่ียงั มีชีวิตอยู มีนิวเคลยี สขนาดใหญเกอื บเต็มเซลล 2. ผนงั เซลลบาง มีความยืดหยนุ สงู มีแวคิวโอลขนาดเลก็ หรือไมมีเลย 3. เซลลเรียงชิดติดกนั จนไมม ีชองวางระหวางเซลล 4. เซลลท ่ีเกิดขึน้ จากการแบงตัวของเนื้อเยอ่ื เจริญจะยังคงรักษาลักษณะความเปน เน้ือเยื่อเจรญิ เอาไว เนือ้ เยื่อเจริญจาํ แนกตามบริเวณท่พี บ แบงออกเปน 3 ชนิดดังนี้ 1.เน้ือเยอ่ื เจรญิ สวนปลาย (Apical meristem) 2.เนื้อเย่อื เจรญิ ดานขา ง (Laterral meristem) 3.เน้ือเยอ่ื เจรญิ เหนือขอ (Intercalary meristem) ชุดกิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนื้อเยอื่ พืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรัตนบุรี

13 1.เนอ้ื เยื่อเจรญิ สว นปลาย (Apical meristem) เปนเนื้อเย่อื ที่พบไดท ่ีบรเิ วณปลายยอด หรือปลายกิ่ง ของพืช เรียกวา เนอ้ื เย่ือเจรญิ ปลายยอด (Shoot apical meristem; SAM) และเนอ้ื เยอ่ื เจรญิ ที่พบทป่ี ลายราก เรยี กวา เนื้อเยื่อเจรญิ ปลายราก (Root apical meristem; RAM) โดย เน้ือเยื่อเจรญิ สว นปลายเปนเนือ้ เยื่อท่ี ทาํ หนา ท่ีในการแบงเซลลแ บบไมโทซสิ เพ่อื เพ่มิ จํานวนเซลลท าํ ใหส วนปลายยอดและปลายรากของพชื มีการยดื ยาว รูปเน้อื เย่ือเจริญสวนปลาย (apical meristem) (ก) เน้ือเย่อื เจริญสวนปลายยอด (Shoot apical meristem ; SAM) (ข) เน้ือเยือ่ เจริญสวนปลายราก (root apical meristem ; RAM) ทม่ี า : ส่อื การสอนชีววิทยาโดยความรวมมือระหวา งสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐานและ คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั (ออนไลน) , 2558 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนือ้ เย่อื พืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรียนรัตนบุรี

14 2. เนื้อเยอ่ื เจรญิ ดานขาง (Lateral meristem) เปน เน้ือเย่ือเจรญิ ที่อยูท างดา นขา งของลําตนและราก มกี ารแบง เซลลอ อกทางดา นขางทําใหเกดิ การเจริญเตบิ โตทุติยภูมิ (Secondary growth) ซ่งึ เปนการเตบิ โต ทท่ี าํ ใหพชื มีการขยายขนาดออกทางดา นขาง หรือมีเสนรอบวงของลําตน ก่ิงกา น และรากเพิ่มมากข้ึน เนื้อเยอื่ เจรญิ ดา นขางแบงไดเปน 2 ชนิด คือ 1.แคมเบยี มทอลาํ เลยี ง (vascular cambium) แทรกอยูระหวาง ไซเล็ม และโฟลเอ็ม มีหนาท่ี สรา ง Secondary xylem และ Secondary pholem พบในพืชใบเลีย้ งคูท ุกชนดิ และพชื ใบเลีย้ งเด่ยี วบางชนดิ 2 .คอรกแคมเบยี ม (cork cambium) ทาํ หนาท่ีสรา งคอรก เพ่ือทําหนา ทีแ่ ทนเซลลเอพิเดอรมิส ชุดกิจกรรมการเรียนรู ชดุ ท่ี 1 เนื้อเยือ่ พชื โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

15 ที่มา : สื่อการสอนชีววิทยาโดยความรวมมือระหวา งสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานและ คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย (ออนไลน) , 2558 3.เนอ้ื เย่อื เจรญิ เหนอื ขอ (Intercalary meristem) เนื้อเยือ่ เจริญชนดิ นจ้ี ะอยูบรเิ วณเหนือขอของพืช ใบเลยี้ งเดยี่ ว ทําใหป ลองยืดยาวข้นึ ซึ่งมฮี อรโมนจบิ เบอเรลลนิ (Gibberellins) เขามาเกี่ยวของสว นใหญพ บใน พชื ใบเลย้ี งเด่ยี ว โดยเฉพาะพืชตระกูลหญา เชน ไผ ขา ว หญา คมบางกลม เปน ตน ชดุ กิจกรรมการเรียนรู ชุดท่ี 1 เนอื้ เยือ่ พืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรัตนบุรี

16 2. เนอื้ เยอ่ื ถาวร (Permanent tissue) เปน เน้ือเย่ือที่เตบิ โตและเปลย่ี นแปลงมาจากเน้ือเยอ่ื เจรญิ ประกอบดวยเซลลท เี่ จรญิ เตบิ โตเต็มท่ี หยดุ การแบง ตวั จึงทําใหเซลลม รี ูปรางคงท่ี แตละเซลลท ําหนา ท่ีเฉพาะอยา ง จึงทําใหล กั ษณะรปู รางของเซลลและองคป ระกอบภายในเซลล แตกตางกันไปตามแตชนิดและหนาท่ีของเซลลนน้ั ๆ เนื้อเย่ือถาวรบาง ชนิดอาจเปลีย่ นแปลงสภาพและสามารถกลับมาแบงเซลลเ หมือนเนื้อเย่ือเจรญิ ไดอ กี ครง้ั เรียกวา การเปลยี่ นกลบั เปนเนื้อเย่ือเจรญิ (Dedifferentiation) เมือ่ สภาวะบางอยา งเปลี่ยนไป เชน เม่ือเกิดบาดแผลที่ ลาํ ตน เซลลพาเรงคมิ า (Parenchyma) ในชัน้ คอรเทกซ(Cortex) ก็จะแบงตัวเพื่อสรา งเนอ้ื เย่ือขน้ึ มาทดแทน จากน้ันก็กลายเปนเน้ือเยอื่ ถาวรเหมอื นเดมิ ลกั ษณะท่สี าํ คัญของเนอ้ื เยอ่ื ถาวร - ประกอบดว ยเซลลที่เจรญิ เติบโตเต็มทแี่ ลว และหยดุ การแบง เซลล - เซลลม กี ารเปล่ยี นแปลงรปู รางเพ่ือทาํ หนาที่เฉพาะ ท่ีแตกตางกันออกไป - มกี ารสะสมสารตา งๆ ภายในเซลล และเพิ่มความหนาใหแกผนงั เซลล เน้ือเยื่อถาวรที่จําแนกตามชนิดของเซลลทีม่ าประกอบกนั แบงไดเปน 2 กลมุ คือ 1. เนอ้ื เยื่อถาวรเชงิ เด่ยี ว (Simple permanent tissue) 2. เนอ้ื เยื่อถาวรเชิงซอน (Complex permanent tissue) เน้อื เยือ่ ถาวรเชิงเดย่ี ว (Simple permanent tissue) เปนเนอื้ เยื่อถาวรท่ีประกอบดวยเซลลช นิด เดยี วกันลวนๆ ไดแก เนื้อเย่อื ชัน้ ผวิ (Epidermis) พาเรงคิมา (Parenchyma) คอลเลงคมิ า (Collenchyma) และ สเกลอเลงคิมา (Sclerenchyma) 1. เนื้อเย่ือชัน้ ผิว (Epidermis) เปน เน้ือเยื่อถาวรเชิงเดยี่ ว ท่อี ยูดานนอกสดุ ของอวยั วะตางๆ ของพชื เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญกําเนิดผิว ประกอบดวยเซลลเอพิเดอรม สิ (Epidermal cell) เรียงตวั เบียดกนั แนน แถวเดยี วจนไมมชี อ งวางระหวา งเซลล แตในพืชบางชนดิ อาจมีเนื้อเยื่อช้นั ผวิ ทเ่ี รยี งตวั มากกวาหนึ่งช้ัน (Multiple epidermises) เชน มะเด่ือ บีโกเนีย เปน ตน หนาทีข่ องเน้อื เยื่อช้ันผวิ 1. ปองกนั อนั ตรายใหแกเนื้อเยอ่ื ที่อยูขางในและชว ยเสริมความแข็งแรง 2. ผนังเซลลด านนอกมสี ารคิวตนิ (Cutin) เคลือบเพ่ือปองกันการระเหยของนํ้า และชว ยปอ งกนั ไมใหนํ้าซึมเขาไปขางในเรยี กวาชนั้ ควิ ติเคลิ (Cuticle) 3. เกิดการแลกเปลี่ยนแกส การคายนา้ํ ท่บี รเิ วณปากใบ (Stoma) 4. ดดู นํ้าและเกลือแรเขา สูราก โดยเฉพาะท่ีขนราก (Root hair) ชุดกจิ กรรมการเรียนรู ชุดที่ 1 เนือ้ เย่ือพืช โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

17 รปู แสดงเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) (ก) ภาคตดั ขวางของลาํ ตน พชื (ข) ปากใบ จากการลอกผิวใบ (ค) เซลลข นราก (Root hair) (ง) ผนังเซลลดานนอกของเซลลผ ิวทเี่ คลือบควิ ตนิ หนา(สแี ดง) ทม่ี า : ส่ือการสอนชีววิทยาโดยความรวมมอื ระหวา งสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย (ออนไลน), 2558 2. เน้ือเยอ่ื พาเรงคิมา (Parenchyma) เปนเน้ือเยื่อถาวรเชิงเด่ยี ว ทีป่ ระกอบดวยเซลลพาเรงคมิ า (Parenchyma cell) จํานวนมาก สามารถพบไดแ ทบทุกสวนของพืช โดยเฉพาะท่ีชัน้ คอรเทกซ ไสไม (Pith) ของ รากและลาํ ตนและในแพลเิ ซดมโี ซฟล ล (Palisade mesophyll) กับสปองจมี โี ซฟลล (Spongy mesophyll) ของใบ เซลลพ าเรงคมิ าเปนเซลลทย่ี งั มีชวี ติ อยู ผนังเซลลบางสวนใหญเปน ผนงั เซลลป ฐมภมู ิ (Primary cell wall) มรี ปู รา งหลายแบบ มลี กั ษณะ หลายเหล่ยี ม หรอื กลมรี เซลลอ ยกู นั แบบหลวมๆ มีชองวา งระหวางเซลล ภายใน เซลลมแี วควิ โอลใหญเกือบ เต็มเซลล ถึงแมพาเรงคิมาจะเปน เนื้อเยือ่ ถาวรแตยงั สามารถกลบั มาแบงเซลล ได เหมือนเน้ือเยือ่ เจริญอีก สว นมากพบตรงบริเวณท่ีมีรอยแผล ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนื้อเยอ่ื พืช โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

18 รูปแสดงเนื้อเยื่อพาเรงคิมา (Parenchyma) (ก) ภาคตดั ขวางของลําตน (ข) ตัดตามขวางของใบ (ค) พาเรงคมิ า รปู หลายเหลย่ี มเกือบกลม (ง) พาเรงคมิ ารูปรางคลายดาว (P=Parenchyma) ทีม่ า : สอื่ การสอนชีววิทยาโดยความรวมมือระหวา งสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานและ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ออนไลน) , 2558 หนาทีข่ องเน้ือเยอ่ื พาเรงคมิ า 1. สะสมสารภายในเซลล เชน นาํ้ แปง โปรตนี และไขมัน เปนตน (Storage parenchyma) 2. เกิดการสงั เคราะหด วยแสงไดห ากมเี มด็ คลอโรพลาสตอ ยูภายในเซลล (Chlorenchyma) 3. ชวยในการหายใจ (Parenchyma) 4. เปนตอมสรา งสารบางอยา ง เชน นํ้ามันหอมระเหย 5. สามารถเปลยี่ นสภาพกลับมาเปน เน้อื เยื่อเจรญิ ไดง ายทสี่ ดุ ในบรรดาเน้อื เย่ือถาวร ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เน้อื เยอื่ พชื โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

19 รปู แสดงเน้ือเยือ่ พาเรงคมิ าชนิดตางๆ (ก) Chorenchyma (ข) – (ค) Reserved parenchyma หรือ Storage parenchyma (ง) Xylem ท่ีมา : สื่อการสอนชีววิทยาโดยความรวมมอื ระหวา งสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานและ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั (ออนไลน), 2558 3. เน้ือเย่ือคอลเลงคิมา (Collenchyma) เปน เนอื้ เยื่อถาวรเชงิ เด่ียวท่ีพบในช้ันคอรเท็กซ (Cortex) ของลาํ ตนและใบ มีลักษณะเปน แถบ ตอเนอื่ งกนั ในแนววงกลมหรืออยูเปน หยอมๆ ถัดจากเนอ้ื เยื่อชัน้ ผวิ เขามา เชน ทีก่ า นใบ เสนกลางใบ ลาํ ตน สวนในรากไมค อ ยพบ เนื้อเย่ือนีป้ ระกอบดวยเซลลคอลเลงคมิ า (Collenchyma cell) ซ่งึ เปน เซลลท่ีมชี วี ติ มี รปู รางคลา ยเซลลพาเรงคมิ า ผนงั เซลลมีความหนาไมส ม่าํ เสมอ เนื่องจากมกี ารสะสม สารเพคติน (Pectin) และสารอืน่ ๆ บรเิ วณเหลย่ี มหรือมมุ ของเซลลแ ตไ มม ีลิกนนิ หนาที่ของเน้ือเยอ่ื คอลเลงคิมา ชว ยทาํ ใหสว นตา งๆ ของพืชเหนยี วและมคี วามแขง็ แรงสามารถคงรูปอยูได และสามารถปอ งกนั แรงเสยี ดทานได ดว ย ตลอดจนสามารถกลับมาเปน เนื้อเยื่อเจรญิ ไดอกี ดวย ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ท่ี 1 เนอื้ เย่ือพืช โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

20 รูปแสดงเน้อื เย่ือคอลเลงคมิ า (ก)–(ข) ภาคตัดขวางของลาํ ตนหมอนอ ย (ค)-(ง) ภาคตัดขวางของใบหมอนอ ย (C=Collenchyma) ที่มา : สื่อการสอนชีววิทยาโดยความรวมมอื ระหวางสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานและ คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั (ออนไลน), 2558 4. เน้อื เยอื่ สเกลอเลงคมิ า (Sclerenchyma) เปนเน้ือเยื่อถาวรเชงิ เดีย่ วทป่ี ระกอบดวยเซลลท่ีตายแลว เมื่อเซลลเจริญเตบิ โตเต็มที่ไซโทพลาซมึ และนวิ เคลยี สจะสลายไป ผนงั เซลลหนามาก มีทัง้ ผนงั เซลลปฐมภูมแิ ละ ผนงั เซลลท ุติยภูมิ ซ่ึงผนังเซลลท ุติยภูมิท่ีหนาตัวขน้ึ มาเน่ืองมาจากมีการสะสมสารลิกนนิ (Lignin) จนทําให ชอ งในเซลล (Lumen) แคบลงจนเกอื บ มองไมเห็น นอกจากนี้ผนังเซลลด า นขางของสเกลอเรงคมิ าเซลลม ีรู (Pit) ที่ใชตดิ ตอ หรือแลกเปล่ียนสารกับเซลลข างเคยี ง โดยมกี ารจาํ แนกสเกลอเรงคิมาเซลล ออกเปน 2 ชนิดตามรูปราง ของเซลล คอื เซลลเสน ใย (Fiber) และ สเกลอรีด (Sclereid) 1. เซลลเสนใย (Fiber) เปน เซลลที่มีรปู รางเรียวยาว ปลายแหลม มีชองในเซลลขนาดเลก็ ผนังเซลลหนา เพราะวามสี ารลิกนินสะสมอยูม าก เซลลม คี วามเหนียวและยืดหยนุ ได (Elasticity) มกั รวมกนั อยูเปน กระจกุ ๆ ไมค อยพบอยู แบบโดดๆ สามารถพบไดในชั้นคอรเท็กซ ไซเล็ม และโฟลเอ็ม ของทั้งในลําตนและราก ชุดกิจกรรมการเรียนรู ชุดท่ี 1 เนื้อเย่อื พืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

21 หนา ทีข่ องเซลลเสนใย เซลลเ สน ใยมีหนา ทช่ี วยใหความแข็งแรงแกพืช ชวยพยงุ ลําตนใหตั้งตรงแขง็ แรงและมี ประโยชนทางดานเศรษฐกิจ คอื การนาํ เสนใยมาแปรรปู ในเชงิ อุตสาหกรรม เชน การผลิตกระดาษ เสอื้ ผา เสน เชือก เปน ตน 2. สเกลอรีด (Sclereid) หรือ เซลลส โตน (Stone cell) เปนเซลลทีม่ ีรปู รางหลายเหลีย่ ม สนั้ กวา เซลลเสนใย ผนงั หนากวาเซลลเ สน ใยมาก เพราะผนังเซลลมีลกิ นนิ สะสมอยูจํานวนมาก มรี ู (Pit) ทผี่ นังเซลล จํานวนมาก ทําใหเห็นเปน รอยแตกแยกเปน สาขามากมาย ซงึ่ เปน เอกลกั ษณข องสเกลอรีด มชี อ งในเซลลแ คบ พบสเกลอรดี ตามสวนตา งๆของพืช เชน บริเวณคอรเทก็ ซของลําตน บริเวณใจกลางของลําตน (Pith) ปนอยูในเนื้อผลไม เชน ผลสาลี่ ฝรั่ง นอยหนา รูปแสดงเนื้อเย่ือสเกลอเรงคมิ า (Sclerenchyma) (ก)ภาคตัดขวางเซลลเสน ใย (Fiber) (ข) ภาคตัดขวางเซลลส เกลอรีด (Sclereid) (ค) เสน ใย (ง)-(ฉ) สเกลอรีด (ลูกศรช)้ี ที่มา : สอ่ื การสอนชีววิทยาโดยความรวมมือระหวางสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและ คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย (ออนไลน) , 2558 ชุดกิจกรรมการเรียนรู ชุดท่ี 1 เนื้อเยอ่ื พืช โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

22 เนอื้ เย่ือถาวรเชิงซอ น (Complex permanent tissue) เปนเน้ือเยอ่ื ถาวรทป่ี ระกอบขึ้นดวยเซลลหลายชนดิ อยูรวมกันเปนกลมุ ทีเ่ รียกวา มดั ทอลําเลยี ง (Vascular bundle) ซึ่งประกอบดวยไซเลม็ (Xylem) และโฟลเอม็ (Phloem) 1. ไซเลม็ (Xylem) เปนเน้ือเยอ่ื ท่ที าํ หนาท่ีลําเลียงน้าํ และแรธ าตุ จากรากไปยังสว นตางๆ ของพืช มคี วามซบั ซอนท้ังในดา นโครงสราง และชนดิ ของเซลลท พ่ี บ เซลลท ่ีพบไดปกติในเน้ือเย่ือลาํ เลียงนํ้า แบง ไดเปน 3 กลุมดังนี้ 1. เซลลทอ ลาํ เลียงนํ้า (Tracheary element) ทาํ หนา ท่ีหลักในการลาํ เลยี งนํา้ และชวยให ความแขง็ แรงกับ โครงสรางของพชื แบง เปน 2 ชนดิ คือ เทรคดี (Tracheid) และเซลลเวสเซล (Vessel member) 1.1 เทรคดี (Tracheid) เปน เซลลที่มีรูปรางยาว ปลายแหลม เม่อื เซลลเจริญเต็มทแ่ี ลว จะตาย ทําใหเกิดชองวางขนาดใหญ ตรงกลางเซลล ผนังเซลลหนาพบในพืชพวก เฟรน และกลมุ จิมโนสเปรม สวนพืชดอก พบนอ ยหรือไมพบเลย 1.2 เซลลเวสเซล (Vessel member) เปน เซลลที่มเี สน ผา นศูนยก ลางกวา ง แตข นาดสนั้ กวา เซลลเทรคดี เม่ือเจรญิ เตบิ โตเตม็ ทีแ่ ลว เซลลจะตาย ตรงกลางเซลลมชี อ งภายในเซลลข นาดใหญ ปลายเซลล คอ นขางตัดตรงเปนแผน มรี ู (Perforation plate) พบในพืชดอกเทา น้นั เซลลเวสเซลหลายๆ เซลลม าเรยี งตอ กัน กลายเปนทอ เรียกวา “เวสเซล” (Vessel) ทาํ หนาที่หลกั ในการลาํ เลยี งนํ้าใหกับพืชชนั้ สูง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู ชุดท่ี 1 เนอื้ เยอ่ื พืช โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

23 รปู แสดงโครงสรา งเนอ้ื เยื่อทอลําเลียง (ก) ภาคตดั ขวางลาํ ตนแสดงตาํ แหนงของมดั ทอลําเลียง (Vascular bundle) (ข) เซลลท ่ีพบในเน้ือเย่อื ลาํ เลียง (ค) เทรคดี (Tracheid) (ง) เซลลเวสเซล (Vessel member) ทมี่ า : สอื่ การสอนชีววิทยาโดยความรวมมอื ระหวางสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและ คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ออนไลน), 2558 2. เซลลเสนใย (Xylem fiber) เปน เซลลทผ่ี นงั เซลลหนา และหนากวาเซลลเสน ใยท่ัวไป รูปรา งยาว ปลายเซลล เรียวแหลม เมอ่ื เจรญิ เติบโตเตม็ ท่ีเซลลจ ะตาย เปนเซลลท ่ีทาํ หนา ทช่ี วยเสริมความแข็งแรงใหก ับ เนื้อเย่ือไซเล็ม 3. เซลลพาเรงคิมา (Xylem parenchyma) เปนเซลลท ีม่ ชี ีวิต รปู รางคลายเซลลพ าเรงคมิ าท่ัวๆ ไป เรยี งตัวกันตามยาวของตนพชื เมอ่ื อายมุ ากข้ึนผนงั เซลลก็จะหนาขน้ึ และเปน ผนงั เซลลแบบทุตยิ ภูมิ เปน เซลลทท่ี ํา หนาท่สี ะสมแปง นํา้ ตาล และสารอ่นื ๆ 2. โฟลเอม็ (Phloem) เปนเนื้อเยอ่ื ท่ีทาํ หนา ทลี่ ําเลียงอาหารท่ีไดจากกระบวนการสงั เคราะหด วยแสงหรือ จากการสลาย อาหารท่ีสะสม สง ไปยังสว นตางๆ ของพืช เชน ราก ลําตน เพื่อเก็บหรอื นําไปใชในสว นของปลาย ยอดและ ปลายราก ท่กี ําลังเจรญิ เตบิ โต เซลลท ่ีพบไดปกติในเนื้อเยือ่ ลําเลยี งอาหาร แบงไดเ ปน 4 กลุมดังน้ี ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนอ้ื เยือ่ พชื โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

24 1. เซลลลําเลียงอาหาร (Sieve element) เปนเซลลท ่ที ําหนา ทีใ่ นการลาํ เลียงอาหารทไี่ ดจาก การสังเคราะหด วยแสง หรอื จากแหลงสะสมไปยัง สวนตา งๆ ของพืช แบง เปน 2 ชนดิ คือ 1.1 เซลลต ะแกรง (Sieve cell) เปนเซลลเ ดย่ี วๆ รปู รา งเรยี วยาว ปลายทัง้ สองดา นโคงมน มขี นาด ยาวมาก ผนงั เซลลม ีรูพรุน เรียกวา “sieve area” กระจายอยทู ่ัวไปตามผนังดา นขา งของเซลล มีหนาที่เปน ทางผา นของสารตา งๆ ในการลาํ เลียงอาหาร เพ่ือสง ตอใหก บั เซลลอ ื่นๆ 1.2 เซลลทอลาํ เลียงอาหาร (Sieve tube member) เปนเซลลท่ีมีชีวิตอยู รูปรางเปน ทรงกระบอกยาว บริเวณปลายท้ัง 2 ดา นของซีฟทิวบเมมเบอรจะเปน บริเวณทมี่ ีรูพรนุ จํานวนมากคลา ย แผน ตะแกรงเรียกวา “ซีฟเพลต” (Sieve plate) ซึง่ เปนแผน ทีม่ รี ูพรุน ทาํ ใหไซโทพลาสซึมภายในผา นไปมา ระหวา งเซลลท ีอ่ ยูต ิดกันได 2. เซลลประกบ (Companion cell) เปน เซลลท่ีอยูขางเซลลท อ ลําเลียงอาหาร โดยมตี น กาํ เนิดมาจาก เซลลแมเดียวกนั เปน เซลลท ีม่ ชี ีวติ และมนี วิ เคลยี ส รปู รา งผอมยาว เปน เหล่ียมและมีขนาดเล็ก ทาํ หนาทส่ี ราง พลังงานใหกบั เซลลทอ ลําเลียงท่ตี ายแลวและท่ตี อ งการพลงั งาน ในพืชเมลด็ เปลือยและพืชท่มี ที อ ลําเลียงอาหาร กลุมอ่นื ๆ จะไมพบเซลลป ระกบแตพ ืชเมล็ดเปลือยกลุมสน อาจพบเซลลท ี่มลี ักษณะคลายเซลลป ระกบ เรยี กวา Albuminous cell 3. เซลลพาเรงคิมา (Phloem parenchyma) เปนเซลลม ชี วี ติ เซลลเ รยี งตัวตามยาว ผนังเซลลบาง และมี Simple pit สวนใหญมีลกั ษณะคลา ยกบั พาเรงคมิ าเซลลท่วั ไป ภายในเซลลมักพบวามกี ารสะสม ผลึกแทนนิน เมลด็ แปง หรือน้าํ ยางตา งๆ เอาไว 4. เซลลเสนใย (Phloem fiber) มีรูปรา งยาว หวั ทายแหลม ผนงั เซลลม ีสารพวกลิกนิน และมี Simple pit มักอยูรวมกันเปนกลุม ทาํ หนาทีช่ วยเพิ่มความแข็งแรงใหก บั เนื้อเยื่อลาํ เลียงอาหาร ชดุ กิจกรรมการเรียนรู ชุดที่ 1 เนื้อเยอื่ พืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

25 รปู แสดงทอ ลาํ เลยี งอาหาร (ก) ภาคตัดขวาง (ข) ภาคตัดตามยาว (ค) ภาคตดั ขวางลาํ ตนหมอนอย (ง) ภาคตดั ขวางลาํ ตนกก (จ) ภาคตัดขวางลําตน ตะขบ ทม่ี า : สือ่ การสอนชีววิทยาโดยความรวมมอื ระหวางสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานและ คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย (ออนไลน) , 2558 ชดุ กิจกรรมการเรียนรู ชุดท่ี 1 เนอื้ เยอ่ื พืช โดยครูณัฐฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

26 ขั้นอธบิ ายและลงขอสรปุ (Explanation) บัตรคาํ สัง่ 1. นักเรียนแตละกลุมอา นบตั รกจิ กรรมที่ 2 เน้อื เย่ือเจริญและเน้อื เยอ่ื ถาวร (Meristematic & Permanent tissue) แลวรวมกันปฏิบัติกจิ กรรม และ บันทึกขอ สรุปลงในแบบบันทึกกจิ กรรม 2. นักเรียนรายงานผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมตามบัตรกิจกรรม จํานวน 1 กลมุ อกี 5 กลุม ใหซกั ถาม ประเดน็ ทยี่ ังสงสัย (หากมีกลุมไหนที่มีประเด็นทีแ่ ตกตาง จากกลุมท่นี ําเสนอ ใหออกมานาํ เสนอ เพ่ิมเตมิ ) ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ท่ี 1 เนอื้ เยอื่ พชื โดยครูณัฐฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรัตนบุรี

27 บตั รกิจกรรมท่ี 2 เนอื้ เย่อื เจรญิ และเนอื้ เย่ือถาวร (Meristematic & Permanent) คําช้ีแจง จงศึกษาแผนภาพท่ีกาํ หนดใหพ รอมชวยกนั ระดมความคดิ สบื คน ขอมูลวาภาพทเี่ ห็น (บริเวณที่ ลกู ศรช)้ี เปนเน้ือเย่ือหรอื เซลลช นิดใด มีลกั ษณะสาํ คญั อะไรท่บี งบอกวาเปน เนื้อเยื่อชนิดนัน้ และสามารถ พบเหน็ ไดใ นสวน ใดของพชื เชน ราก (Root) ลาํ ตน (Stem) ใบ (Leaf) รปู ภาพ ชนดิ ของเนื้อเย่อื ลักษณะสําคญั บริเวณท่ีพบ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู ชุดท่ี 1 เนอ้ื เยือ่ พชื โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

28 รปู ภาพ ชนดิ ของเนือ้ เย่อื ลกั ษณะสําคัญ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนอ้ื เยื่อพชื โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

29 ข้ันขยายความรู (Elaboration) บตั รคาํ ส่งั ใหนกั เรยี นไดศึกษาความรเู พ่ิมเตมิ จากวีดที ัศนเรื่องเน้อื เยื่อพชื (สอ่ื การสอนภายใน โครงการจัดทาํ สอ่ื การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดย ความรว มมือระวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ) แลวรว มกัน อภิปรายและสรุปความรทู ี่ไดรบั เพ่ิมเติม ชุดกจิ กรรมการเรียนรู ชดุ ท่ี 1 เนื้อเย่อื พชื โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

30 บัตรกจิ กรรมที่ 3 ศกึ ษาความรเู พ่มิ เติมจาก วีดีทศั นเ รือ่ งเนอื้ เยอ่ื พชื คําชแี้ จง ใหนกั เรยี นศกึ ษาความรูเพิม่ เตมิ จากวีดีทศั น เร่ือง เนอ้ื เย่ือพืช (สอ่ื การสอนภายในโครงการจัดทาํ สอื่ การสอนวทิ ยาศาสตรและคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดย ความรว มมือระวา งสํานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย จาก https://www.youtube.com/watch?v=vNuqpKo3A5Q แลว รวมกนั อภปิ ราย และสรุปความรูท่ีไดรบั เพิ่มเตมิ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชุดท่ี 1 เน้ือเย่อื พชื โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรียนรัตนบุรี

31 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชุดท่ี 1 เน้อื เยื่อพชื โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

32 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชุดท่ี 1 เน้อื เยื่อพชื โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี

33 ข้ันประเมิน (Evaluation) บัตรคําสง่ั ใหนักเรยี นระดมความคดิ ทีไ่ ดท้ังหมดจากการทํากจิ กรรมท่ีผานมาแลว นํามาใชใน การตอบคําถามจากบัตรคําถาม เร่ือง เนอ้ื เยอ่ื พชื (Plant tissue) เพ่อื ตรวจสอบความรู ความเขาใจจากการทาํ กจิ กรรมการเรยี นรูทั้งหมด ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชุดท่ี 1 เนอ้ื เย่อื พืช โดยครูณัฐฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรัตนบุรี

34 บตั รคําถาม เรอ่ื ง เนอื้ เยือ่ พชื (Plant tissue) คําช้ีแจง ใหน ักเรียนระดมความคดิ ทั้งหมดเพื่อทําบตั รคาํ ถามตอ ไปน้ี ตอนที่ 1 จงตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem) หมายถึงอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เนอ้ื เยื่อถาวร (Permanent tissue) หมายถึงอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เนื้อเย่ือเจริญชนดิ ใดที่ทาํ ใหพชื มคี วามสงู เพิม่ ขนึ้ และเน้ือเยื่อเจรญิ ชนดิ ใดทีท่ ําใหพืชมีขนาดท่ีใหญข้ึน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เนือ้ เยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue) หมายถึงอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. เนือ้ เย่ือถาวรเชิงซอน (Complex permanent tissue) หมายถึงอะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 2 จงเติมคาํ ลงในผังมโนทัศนต อ ไปน้ีใหสมบรู ณ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู ชุดที่ 1 เนอื้ เย่อื พืช โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

35 แบบทดสอบหลงั เรียน ชุดที่ 1 เนื้อเย่ือพืช คําชี้แจง 1. แบบทดสอบน้ีเปน แบบทดสอบแบบเลือกตอบ จาํ นวน 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใชเวลาในการทาํ แบบทดสอบ 10 นาที 3. ใหน กั เรยี นทําเครื่องหมาย X เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพยี งคาํ ตอบเดียวลงในกระดาษคาํ ตอบ ทีก่ ําหนดให 1. เนอ้ื เย่ือถาวรเชิงเด่ยี วท่ีผนังเซลลม ีสารซเู บอรนิ มาพอก สามารถพบไดในเนอ้ื เยื่อใด ก. Epidermis ข. Endodermis ค. Vascular bundle ง. Pith 2. อาหารที่พชื สรา งขึ้นมักนาํ ไปสะสมท่ีเซลลช นิดใด ก. Sclerid ข. Sieve tube ค. Parenchyma ง. Spongy cell 3. Vessel มลี ักษณะเปนอยางไร ก. เปน เซลลท่ีตายแลว มผี นงั บาง ข. เปน ทอส้ันๆมาตอกนั และยังมีชีวิตอยู ค. เปน เซลลเดยี วคลายทอ ประปา แตผนังเซลลบ าง ง. เปนเซลลหลายเซลลทผี่ นงั ตอนปลายเปดหากัน ผนงั เซลลห นา ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชุดที่ 1 เนื้อเย่อื พชื โดยครูณัฐฏิกานต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

36 4. ขอ ใดไมใชล กั ษณะของเนื้อเย่ือเจรญิ ก. มีการแบง เซลลอ ยตู ลอดเวลา ข. มีขนาดเซลลใหญและแข็งแรง ค. มผี นงั บางและเซลลมีขนาดเล็ก ง. มีขนาดเซลลเลก็ และนิวเคลยี สขนาดใหญ 5. ผลสาล่แี ละฝรัง่ พบเนื้อเย่ือชนดิ ใดมากที่สุด ก. Sclerid ข. Parenchyma ค. Collenchyma ง. Chrorenchyma 6. ไมยนื ตน มกี ารลาํ เลยี งนา้ํ และแรธ าตุทางเนื้อเยื่อลาํ เลียงนาํ้ ผา นเซลลช นดิ ใดไดด ที ี่สุด ก. Vessel member ข. Companion cell ค. Sieve tube member ง. Xylem parenchyma 7. ขอ ใดไมไดเปน ผลมาจากเนื้อเย่ือเจริญ ก. ตน ไผมปี ลอ งทย่ี าวขน้ึ ข. ตนลาํ ไยมรี ากขนาดใหญม ากขั้น ค. ตนมะมวงมกี ารขยายขนาดออกทางดานขาง ง. การเกิดเซลลขนรากในเมลด็ ถ่วั เขยี วท่กี ําลงั งอก 8. ตน สักลาํ เลียงน้ําตาลท่ไี ดจากการสังเคราะหด วยแสงทางเซลลใดของเน้ือเยื่อลาํ เลียงอาหาร ก. Sieve tube ข. Phloem fiber ค. Companion cell ง. Phloem parenchyma ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู ชุดที่ 1 เนอื้ เยื่อพืช โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

37 9. เซลลใดตอไปน้ีเปนเซลลท่ยี งั คงมชี ีวิตอยแู ตไ มม ีนิวเคลยี ส ก. Tracheid ข. Parenchyma ค. Vessel member ง. Sieve tube member 10. ขอใดเปนเนอ้ื เย่ือถาวรเชิงเด่ียวทั้งหมด ก. Xylem - Phloem ข. Tracheid – Vessel ค. Parenchyma - Collenchyma ง. Sieve tube member – Vessel ชดุ กิจกรรมการเรียนรู ชุดที่ 1 เนอ้ื เยือ่ พชื โดยครูณัฐฏกิ านต ทองเกษม ตําแหนง ครู โรงเรยี นรัตนบุรี

38 กระดาษคาํ ตอบแบบทดสอบหลังเรียน ชุดท่ี 1 เนื้อเยื่อพชื ช่ือ.....................................................................ชัน้ .............เลขท่.ี ........... คําชี้แจง ใหนกั เรยี นทําเครื่องหมาย X เลือกคําตอบที่ถกู ทส่ี ดุ เพียงคาํ ตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบทก่ี ําหนดให ขอ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนท่ไี ด ตั้งใจ ทําขอสอบ นะคะ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู ชดุ ท่ี 1 เน้อื เยือ่ พชื โดยครูณฐั ฏกิ านต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรียนรตั นบุรี

39 บรรณานุกรม ชวนพิศ นนั ตา.โครงสรา งและหนาทขี่ องพืชดอก รายวิชาชีววิทยา 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 5.ชดุ กิจกรรม การเรยี นรูแบบสืบเสาะหาความรู(5E).นา น : โรงเรียนสตรีศรีนาน, 2558. ประสงค หลาํ สะอาด และจิตเกษม หลําสะอาด. ชวี วิทยา ม.5 เลม4, กรงุ เทพฯ : พ.ศ. พฒั นา, ม.ป.ป., หนา 2-9. มานติ คดิ อยู. คมู ือประกอบการสอนวทิ ยาศาสตรและคณิตศาสตร ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ชีววิทยา, คณะวิทยาศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554 มลู นธิ ิ สอวน, ชีววิทยา 2, กรงุ เทพฯ : ดา นสุทธาการพิมพ, 2553, หนา 209-212. สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสอื เรียนรายวิชาเพิ่มเตมิ ชีววิทยา เลม 3, กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2554, หนา 1-6. สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. คูมือครูรายวิชาเพ่ิมเติมชีววิทยา เลม 3, กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2554, หนา 1-6. สมบญุ เตชะภิญญาวัฒน. ชีววทิ ยาพชื (PLANT BIOLOGY). จามจุรีโปรดักท: ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2556 สมาน แกวไวยทุ ธ. รวมโจทยขอสอบเขามหาวิทยาลัย ชีววทิ ยา. อมรการพิมพ: ไฮเอ็ดพบั ลิชชิง่ , 2554 แหลงเรียนรูอนิ เทอรเนต็ (Internet) http://2.bp.blogspot.com/ (ออนไลน), 2558 http://www.myfirstbrain.com (ออนไลน), 2558 http:// www.phschool.com (ออนไลน), 2558 http://www.ppk.ac.th (ออนไลน) , 2558 http://www.promma.ac.th (ออนไลน) , 2558 https://www.youtube.com/watch?v=vNuqpKo3A5Q (ออนไลน), 2558 www.meritnation.com (ออนไลน) , 2558 www.nana-bio.com (ออนไลน), 2558 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู ชดุ ที่ 1 เนอ้ื เยอ่ื พชื โดยครูณฐั ฏิกานต ทองเกษม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นรตั นบุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook