Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RDI_SynKnowledge2561

RDI_SynKnowledge2561

Published by rdi, 2019-09-08 23:40:25

Description: RDI_SynKnowledge2561

Keywords: rdi,psru,synthesis,knowledge,thai version

Search

Read the Text Version

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ การบริหารจดั การทรพั ยากรนาและระดับการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการป้องกนั ปัญหาอทุ กภัย ในพืนทล่ี มุ่ นายมตอนล่าง ปิยะดา วชิระวงศกร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ ลุ่มน้ายมเป็นพ้ืนที่ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาอุทกภัย โดยเฉพาะใน พ้ืนที่ลุ่มน้ายมตอนล่างที่เกิดปัญหาซ้าซากทุกปี เน่ืองจากลาน้ามีขนาดเล็กและ สภาพพ้ืนที่เป็นพ้ืนที่ราบลุ่ม จึงมักประสบปัญหาน้าเอ่อล้นตลิ่งอย่างรวดเร็วและ น้าท่วมขังเป็นระยะเวลานาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อประชาชนอย่างมากตลอด ระยะเวลาที่ผ่านมา โดยเฉพาะกรณีภัยพิบัติอุทกภัยครั้งรุนแรงในปี พ.ศ. 2554 ภาครัฐจึงมีการจัดทาแผนแก้ไขปัญหาอุทกภัยทั้งระยะเร่งด่วนและระยะยาว แต่ - 40 - อย่างไรก็ตามแผนการบริหารจัดการน้าของภาครัฐยังไม่มีความชัดเจนและเป็น รูปธรรมเท่าที่ควร การดาเนนิ การเพ่ือแก้ไขปัญหาของรัฐบาลในภาพรวมขั้นต้นยงั เป็นการพิจารณาแก้ไขปัญหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เช่ียวชาญด้านต่างๆ มา วางแผนแก้ไขปัญหาและส่งต่อแผนและโครงการไปยังระดับท้องถิ่นต่างๆ โดยที่ ประชาชนยังไม่ได้มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการปัญหาดังกล่าว และ ถึงแม้ว่าที่ผ่านมารัฐบาลไทยได้ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมใน การพัฒนาโครงการต่างๆ และเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นแสดง ความสามารถในการพัฒนาท้องถิ่นด้วยตนเอง (Local self-development) จาก ปัญหาและความสาคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น การจัดการปัญหาภัยพิบัตจิ าก อุทกภัยจึงเป็นภารกิจที่สาคัญของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น โดยการเปิด โอกาสให้ประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน และวางแนวทางในการจัดการกับปัญหาอุทกภัยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ผู้วิจัย

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ จึงศึกษาวิเคราะห์การบริหารจัดการทรัพยากรน้าของชุมชนกับการมีส่วนร่วมใน - 41 - การจัดการปัญหาอุทกภัยของประชาชน รวมถึงศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันปัญหาอุทกภัยในพ้ืนที่ลุ่มน้ายมตอนล่าง เพ่ือ นาไปวางแผนแก้ปญั หาและพฒั นารูปแบบการมสี ่วนร่วมเพ่ือใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งอันจะเกิดจากการจัดการปัญหาอุทกภัย ซึ่งส่งผลกระทบต่อความ อุดมสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และ คุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนอย่างยั่งยืน ซึ่งพ้ืนที่ที่ศึกษาเป็นพ้ืนที่ที่ประสบ ปัญหาอุทกภัยซ้าซากอยู่ในลุ่มน้าสาขาแม่น้ายมตอนล่าง 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด แพร่ สุโขทัย พิษณุโลก และพิจิตร โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) ผู้ใหญ่บ้านจานวน 48 คน และเจ้าหนา้ ท่เี ทศบาล/อบต. ทั้งส้นิ 10 แห่ง จานวน 20 คน และสัมภาษณ์ประชาชนโดยใช้แบบสอบถามจานวน 861 คน ซึ่งสถิติที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยแบบมัชฌิมเลขคณิต ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน นอกจากน้ียังใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน (one-way analysis of variance) ในการอธิบายความแตกต่างของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการแก้ปัญหาอุทกภยั ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความร้จู ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจัย การบริหารจัดการปัญหาอุทกภัยยังมีปัญหาอุปสรรคหลายอย่างที่ทาให้ การจัดการปัญหาดังกล่าวยังไม่มีประสิทธิผลเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาหลัก ๆ จะมา จากเรื่องกระบวนการของบประมาณเพ่ือช่วยเหลือประชาชนมีข้ันตอนที่ซับซ้อน และล่าช้า ทาให้ไม่สามารถให้ความช่วยเหลอื ประชาชนได้ทันเวลาในกรณีทีเ่ กิดภัย พิบัติเกิดขึ้น ซึ่งงบประมาณที่ได้รับจัดสรรลงมาให้นั้นส่วนใหญ่จะมีเพียงพอแค่ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ทั่วถึงหรือ ในระยะยาวได้ นอกจากน้กี ารแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นยังเป็นการแก้ไขปัญหาท่ีไมเ่ กิด การเช่ือมโยงปัญหาทรัพยากรน้าได้ท้ังหมด กล่าวคือ ในช่วงปีหลังจากภัยพิบัติ อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 พ้ืนที่น้าท่วมซ้าซากส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดปัญหาน้าท่วม แต่ กลับเกิดปัญหาน้าแล้งแทน ซึ่งทาให้ประชาชนส่วนใหญ่เดือดร้อนอย่างหนัก เน่ืองจากไม่มีน้าใช้ในการทาการเกษตร ซึ่งจากการสัมภาษณ์ประชาชนจะเห็นได้ ว่าในปัจจุบันนอกจากประชาชนจะได้รับผลกระทบจากน้าท่วมแล้ว ยังประสบ ปัญหาน้าแลง้ ถึงร้อยละ 36.12 โดยประชาชนที่ประสบปญั หาน้าแลง้ เห็นว่าปัญหา ขาดแคลนน้าทาให้เกิดปัญหาในการดารงชีวิตอย่างมาก ท้ังน้ีอาจอาจเป็นเพราะ - 42 - ประชาชนมีความเคยชินกับสภาพปัญหาน้าท่วมซ้าซากทุกปี ทาให้ประชาชนมี ความเคยชินกบั สภาพปัญหาน้าท่วมซึง่ ถือเปน็ เรื่องปกติ โดยสามารถเตรียมพร้อม รับมือและปรับการดาเนินชีวิตในช่วงน้าท่วมได้อย่างดี ถึงแม้ว่าพ้ืนที่การเกษตรจะ ถูกทาลายแต่ก็ยังมีรายได้จากการหาปลาขายเป็นอาชีพเสริม ในขณะที่ช่วงฤดูน้า แลง้ นน้ั ปริมาณน้าในแม่นา้ ยมจะแห้งขอดทาให้ประชาชนมีนา้ ไม่เพยี งพอสาหรับใช้ ในการทาการเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักได้ ท้ังน้ีเม่ือสอบถามระดับความพึงพอใจ ของประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรน้าของภาครัฐในภาพรวมนั้น พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง โดยประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการแก้ไขปัญหา น้าท่วมอยู่ในระดับปานกลาง ในขณะที่ความพึงพอใจของประชาชนในการแก้ไข ปัญหาน้าแล้งอยู่เพียงในระดับต่า ในขณะที่ความพึงพอใจของประชาชนในการ ดาเนินการแก้ไขปัญหาอุทกภัยของผู้ใหญ่บ้าน/กานัน และเทศบาล/อบต. อยู่ใน ระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ปัญหาอุทกภัย พบว่าประชาชนมีส่วนร่วมเพียงการรับรู้ข้อมูลข่าวสารซึ่งอยู่ใน - 43 - ระดับปานกลาง (x̅=2.53) ส่วนการมีส่วนร่วมในการกาหนดปัญหา การวางแผน ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค แก้ไขปัญหา การดาเนินการ และการติดตามประเมินผลนั้นอยู่ในระดับไม่มีส่วน ร่วม โดยวิธีการที่ใช้ในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นจะ เป็นการพูดคุยหรือสนทนากลุ่มย่อยมากที่สุด ส่วนในการตัดสินใจภายในชุมชนที่ ผ่านมาจะใช้วิธีการลงคะแนนเสียงโดยวิธีเปิดเผยเท่าน้ัน และเม่ือเปรียบเทียบ ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาอุทกภัยในพ้ืนที่ลุ่มน้ายม ระหว่างพ้ืนที่ที่อยู่ภายใต้การจัดการแบบมีโมเดล (วังจิกโมเดล ในอาเภอวังจิก จังหวัดพิจิตร และ บางระกาโมเดล ในอาเภอบางระกา จังหวัดพิษณุโลก) และ พ้ืนที่อ่ืนๆ ที่ไม่มีโมเดลน้ัน พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ท้ังในการมีส่วนร่วมในการกาหนดปัญหา การมีส่วนร่วมในการ ดาเนนิ การ และการมสี ่วนร่วมในการติดตามประเมนิ ผล โดยปจั จยั สว่ นบุคคลของ ประชาชนที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาอุทกภัยในพ้ืนที่ลุ่มน้า ยมตอนลา่ ง คือ อายุ ตาแหนง่ ในชมุ ชน อาชีพหลัก และรายได้ สาหรบั ข้อเสนอแนะ จากงานวิจัยนใี้ นประเดน็ เรื่องการบริหารจดั การปัญหาทรัพยากรนา้ ในพืน้ ที่ ควรมี การกระชับขั้นตอนในกระบวนการให้ความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การแก้ไขปัญหาอุทกภัยโดยตรง โดยเฉพาะในเรื่องงบประมาณ ซึ่งในการของบ ประประมาณในการเยียวยาหรือแก้ไขปัญหาฉุกเฉินต่างๆ มักมีความล่าช้าจนไม่ สามารถช่วยประชาชนได้ทันต่อเหตุการณ์ และควรมกี ารวางแผนงบประมาณด้าน การจัดการปัญหาทรพั ยากรนา้ อย่างเป็นรูปธรรมและให้เพียงพอตอ่ การแก้ปญั หา อย่างครบวงจรและย่ังยืน นอกจากน้ี ภาครัฐ ผู้นาชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องควรเข้า มามีบทบาทในการสง่ เสริมและพฒั นาอาชพี ให้กับประชาชน เพอ่ื ทาให้ประชาชนใน ชุมชนมีรายได้ที่เพียงพอต่อการดารงชีวิตทั้งในช่วงฤดูน้าหลากและช่วงภาวะขาด แคลนน้า สาหรับประเด็นการมีส่วนร่วมของประชาน เห็นว่าควรมีการสนับสนุน และส่งเสริมให้ประชาชนในพ้ืนที่ที่ได้รับผลกระทบเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ ปัญหาอุทกภัยให้มากขึ้น โดยเริ่มตั้งแต่การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การกาหนดปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหา การดาเนินการ และการติดตามประเมินผล ท้ังน้ีเพ่ือให้

สังเคราะห์ความรจู้ ากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ การดาเนินการบริหารจัดการทรัพยากรน้าในพ้ืนที่ลุ่มน้ายมตรงกับความต้องการ ของประชาชน รวมถึงการแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสของโครงการต่างๆ ที่เกิดข้ึน ในพนื้ ที่ ซึ่งการดาเนนิ การพัฒนาตามนโยบายสาธารณะด้วยการรับฟงั และพัฒนา ตามความต้องการและความเห็นชอบจากประชาชนเป็นหลักจะนาไปสู่การมีส่วน ร่วมโดยภาคประชาชนมากขนึ้ ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ผู้ที่อานาจหน้าท่ีหรือดาเนินการในการจัดการปัญหาเกี่ยวกบั ปัญหาด้าน ปริมาณน้าในพ้ืนที่ลุ่มน้ายมหรือพ้ืนที่ลุ่มน้าอ่ืนๆ ที่ประสบปัญหาเช่นเดียวกัน สามารถนาผลการวิเคราะห์ปัญหาการดาเนินการจัดการ ความพึงพอใจของ ประชาชนในการจัดการ การมีส่วนร่วมของประชาชน รวมถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การมสี ่วนร่วมของประชาชนไปใชใ้ นการวางแผนแก้ไขปญั หาเพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพ ในการจดั การปัญหาด้านปริมาณน้าให้ตรงกับความต้องการของประชาชนและเกิด ประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ - 44 - สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การประเมินความเสี่ยงดา้ นสขุ ภาพจากการบริโภคผกั ท่ปี นเปือ้ นโลหะหนกั ทีจ่ าหน่ายในตลาดสด: กรณีศึกษาเขตภาคเหนือของประเทศไทย ปิยะดา วชิระวงศกร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ - 45 - ผักมีความสาคัญในฐานะเป็นแหล่งอาหารที่มีความจาเป็นต่อร่างกาย ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค อย่างมาก เน่อื งจากผกั มีคุณค่าทางอาหารสูงรวมทั้งเป็นแหล่งวิตามิน โปรตนี และ แร่ธาตุต่างๆ มีส่วนประกอบที่จาเป็นในการดารงชีวิตของเราย่ิงนัก หากขาด อาหารประเภทผักหรือเราได้รับได้ไม่เพียงพอจะทาให้ร่างกายอ่อนแอ ทาให้มี ความต้านทานต่อโรคลดลง นอกจากน้ีผักยังเป็นสินค้าที่สาคัญและมีมูลค่าทาง เศรษฐกิจอย่างมหาศาล เนอ่ื งจากพืชผักทผ่ี ลิตออกมานั้นจะตอ้ งเพยี งพอต่อความ ต้องการของผู้บริโภค ซึ่งตลาดพืชผักภายในประเทศไทยยังต้องการพืชผักแต่ละ ชนิดที่แตกต่างกันไปตามพฤติกรรมและรสนิยมของผู้บริโภค และยังเป็นสินค้า ส่งออกต่างประเทศที่สาคัญอีกด้วย ด้วยความนิยมบริโภคผักของคนไทย รวมถึง ความสาคัญในแง่เศรษฐกิจตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ทาให้เกษตรกรพยายามทา การเกษตรเพ่ือตอบสนองความต้องการของตลาดท้ังในด้านปริมาณและคุณภาพ เป็นผลทาให้เกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกาจัดศัตรูพืชกันมากเพ่ือให้ได้ พืชผักที่มีผลผลิตที่ดีส่งออกตลาดที่ได้กาไรสูง ซึ่งการใช้สารเคมีเหล่าน้ีอย่าง ต่อเน่ืองในที่ดินทาการเกษตรจะเป็นสาเหตุให้เกิดการแพร่กระจายและปนเปื้อน ของโลหะหนักซึ่งนับว่าเป็นสารพิษประเภทหน่ึงที่มีความเป็นพิษสูงต่อสิ่งมีชีวิต และโลหะหนักก็สามารถเข้าไปสะสมอยู่ในพืชผักและจะเพ่ิมปริมาณสูงขึ้นได้ตาม ห่วงโซ่อาหาร เม่ือได้รับเข้าไปสะสมในร่างกายเกินกวา่ ที่ร่างกายจะสามารถกาจดั สารพิษได้หมดกจ็ ะทาให้เกิดการล้มป่วยหรือตายในที่สุดในขณะเดียวกนั ท้ังน้ีการ

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะหค์ วามรจู้ ากงานวิจัยและผลงานสรา้ งสรรค์ จาหน่ายผักภายในประเทศก็ไม่ได้มีหน่วยงานใดที่รับผิดชอบติดตามตรวจสอบ คุณภาพของพืชผักที่วางจาหน่ายอย่างจริงจังและต่อเน่ือง ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมาก็ได้มีการศึกษาวิจยั หาปริมาณการสะสมโลหะหนักของพชื หลายๆ ประเภท และพบว่าพืชได้มีการสะสมโลหะหนักในปริมาณที่แตกต่างกัน จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยมีความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพของผู้บริโภค จึงได้ดาเนินการศึกษาและ วิเคราะห์การปนเปื้อนโลหะหนัก ได้แก่ ตะกั่ว แคดเมียม สังกะสี ทองแดง และเหล็ก ในผกั ทีว่ างจาหนา่ ยในตลาดสดในเขตภาคเหนือซึ่งเป็นภมู ิภาคที่มกี าลังการผลิตมาก ที่สุดเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ รวมถึงประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้บริโภค ผกั ท้ังหมด 5 ประเภท จานวน 20 ชนดิ ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย ผักคะน้าเป็นผักที่ประชาชนนิยมบริโภคมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 97.18 ถึงแม้ผักท้ังหมดจะเป็นที่นิยมในการบริโภคแต่อัตราการบริโภคผักดังกล่าวยังจัด ว่าอยู่ในปริมาณที่ต่ามากเม่ือเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่ WHO กาหนดไว้ คือ 400 กรัม หรือ 5 ถ้วยมาตรฐานต่อวัน ถึงแม้จะประมาณการณ์สูงสุดว่าประชาชนจะ รับประทานผัก 3-4 ชนิด/วัน เม่ือพิจารณาถึงการปนเปื้อนของโลหะหนักในผักที่ - 46 - จาหน่ายในตลาดสดบริเวณเขตภาคเหนือของประเทศไทยส่วนใหญ่มีปริมาณการ ปนเปื้อนของทองแดง สังกะสี และเหล็กอยู่ภายใต้เกณฑ์มาตรฐานมาตรฐาน อาหารสากลของ Codex และค่ามาตรฐานของสถาบันอาหารของประเทศไทย ยกเว้นการปนเปื้อนของตะก่ัวและแคดเมียม ทั้งน้ีการสะสมโลหะหนักในผักแต่ละ ประเภทแตกตา่ งกนั เมื่อพจิ ารณาความสมั พันธ์ระหว่างการปนเปือ้ นของโลหะหนัก ชนิดต่างๆ กับประเภทผักที่ใช้บริโภคแต่ละส่วนที่แตกต่างกัน กล่าวคือจะพบการ ปนเปื้อนของตะกั่วมากที่สุดในผกั ประเภทกินดอกและราก/หัว ซึ่งพบการปนเปื้อน ของตะก่ัวมากที่สุดในบร๊อคโคลี่ รองลงมา คือ หอมหัวใหญ่ และผักบุ้งจีน ตามลาดับ สาหรับการปนเปื้อนของแคดเมียมพบมากในผักประเภทลาต้น แต่เม่ือ พิจารณาถึงการปนเปื้อนของผักแต่ละชนิด กลับพบว่าผักคะน้ามีการปนเปื้อน แคดเมียมมากที่สุด รองลงมา คือ ผักกาดหอม และหอมหัวใหญ่ ตามลาดับ สาหรับการปนเปื้อนของทองแดงพบมากในผักประเภทลาต้นและใบ ซึ่งพบว่ามี

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ การปนเปื้อนในผักบุ้งจีนมากที่สุด รองลงมา คือ ผักชีฝร่ัง และถั่วฝักยาว - 47 - ตามลาดับ ส่วนการปนเปื้อนสังกะสีพบมากในผักในผกั ประเภทดอกมากทีส่ ดุ และ การปนเปื้อนของเหล็กพบมากในผักประเภทใบและลาต้น เม่ือทาการประเมิน ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนในเขตภาคเหนือจากการบริโภคผักที่มีสาร โลหะหนักปนเปื้อนด้วยค่าความปลอดภัยหรือค่าความเสี่ยง (Hazard Quotient, HQ) สูงสุดในระยะเฉียบพลันที่ไม่ใช่มะเร็งที่กาหนดให้มีค่าไม่เกิน 1 จะเห็นได้ว่า การบริโภคผักแต่ละชนิดที่มีการปนเปื้อนตะก่ัว แคดเมียม ทองแดง สังกะสี และ เหล็ก มีค่าความปลอดภัยอยู่ระหว่าง 0.0033-0.4261 ซึ่งถือได้ว่ายังมีความ ปลอดภัยจากสารโลหะแต่ละชนิดดังกล่าวจากการบริโภคผักทั้ง 20 ชนิด และเมอ่ื พจิ ารณาค่าความเส่ยี งรวม (Total Hazard Quotient, THQ) ของผกั ท่มี กี ารปนเปื้อน โลหะหนักรวมทั้งหมด 5 ชนิด ดังกล่าวซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกิน 1 เช่นเดียวกัน ก็จะ พบว่าการบริโภคผักเกือบทุกชนิดของประชาชนในเขตภาคเหนืออยู่ในภาวะที่ไม่ ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพหรืออยู่ในระดับที่ปลอดภัย ยกเว้นการบริโภค ผักคะนา้ ท่มี คี ่าความเสี่ยงรวมถึง 1.1755 ซึ่งช้ใี ห้เหน็ ว่าผู้บริโภคอาจพบความเสี่ยง ต่อสุขภาพที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับโลหะท้ัง 5 ชนิดน้ี ซึ่งมีความจาเป็นที่จะต้อง ดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงเพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพในอนาคตในระยะสั้นต่อ ผู้บริโภคในเขตภาคเหนือ สาหรับการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งของ ประชาชนจากการบริโภคผักที่มีแคดเมียมปนเปื้อน พบว่าการบริโภคคะน้า ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งมากที่สุด กล่าวคือ หากประชาชนในเขต ภาคเหนือได้รับสัมผัสสารแคดเมียมจากการบริโภคผักคะน้า 0.00095 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม/วัน เป็นระยะเวลาต่อเน่ืองจะสามารถเพ่ิมความเสี่ยงต่อการเกิด โรคมะเรง็ ได้ 6 คน ใน 1,000 คน ซึง่ ถือวา่ เป็นค่าความเสี่ยงที่เกินกวา่ ค่าท่ียอมรับ ได้ทีก่ าหนดให้มคี วามเสีย่ งได้ไม่เกิน 1 ใน 10,000 คน รองลงมา ได้แก่ ผักกาดหอม กวางตุ้ง หัวไชเท้า และแตงกวา และจะเห็นได้ว่าการบริโภคผักเกือบทั้งหมดมีค่า ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเฉลี่ยเกินค่าที่ยอมรับได้ ยกเว้นเพียงแค่ต้นหอม เท่านั้น ดังนั้นเพ่ือความปลอดภยั ต่อสุขภาพ ผู้บริโภคควรตระหนักในการเลอื กซือ้ ผกั จากแหล่งที่มีความสะอาดปลอดภัยและปราศจากสารพษิ ตกค้าง อย่างไรก็ตาม

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะหค์ วามรจู้ ากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ สิ่งที่สาคัญที่สุด คือ การควบคุมและป้องกันการเกิดการสะสมสารพิษโลหะหนัก ในดนิ ที่ใชท้ าการเกษตร เพ่อื ลดการปนเปือ้ นโลหะหนกั ในพืชผกั ซึ่งจาเป็นอยา่ งมาก ในการบริโภคในชีวิตประจาวันของประชาชน ซึ่งถึงแม้ว่าประชาชนในบริเวณเขต ภาคเหนือจะมีอัตราการบริโภคผักที่ต่า แต่กลับมีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง จาก สถานการณ์ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าการผลิตพืชผักในประเทศไทยอยู่ในสภาวะท่ีต้องให้ ความใส่ใจอย่างมาก โดยหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาธารณสุขจังหวัด และเกษตรจังหวัด เป็นต้น ควรเข้ามาติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังในกระบวนการ ผลิตทางการเกษตร รวมถึงการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคผัก อย่างสม่าเสมอเพ่ือความปลอดภัยของผู้บริโภค นอกจากนี้ ควรมีการแก้ไขปัญหา การผลิตทางการเกษตรอันนามาซึ่งการตกค้างสารพิษจากโลหะหนักอย่างจริงจัง เพ่อื นาไปสู่การแก้ไขปัญหาสขุ ภาพของคนไทยได้ต่อไปในอนาคต ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ 1) ใชข้ ้อมลู พืน้ ฐานสาหรบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการตดิ ตามตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตรประเภทอาหาร เพ่ือ ป้องกันไม่ให้ผู้บริโภคมีความเสี่ยงต่อสุขภาพที่จะนาไปสู่การเจ็บป่วยเรื้อรัง - 48 - โดยเฉพาะมะเร็งอันจะเกิดจาการสะสมโลหะหนกั ในพืชผัก 2) ใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานให้หน่วยงานทางด้านสาธารณสุขใช้ในการ วินิจฉัยสาเหตุของโรคมะเร็งประการหน่ึง และสามารถให้ใช้เป็นข้อมูลในการ ประชาสมั พันธ์เตือนภัยให้กับประชาชนในการเลอื กซื้อพชื ผักในการบริโภค ซึ่งจะเป็น การคุ้มครองผู้บริโภคไมใ่ ห้เกิดความเสี่ยงต่อสขุ ภาพได้ทางหนึ่ง

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ การพัฒนาบรรจุภณั ฑ์กลุม่ วิสาหกจิ ตาบลคนั โช้ง จังหวัดพิษณุโลกระยะที่ 2 พรชัย ปานทุ่ง คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ - 49 - ตาบลคนั โช้ง อยู่ในเขตของอาเภอวัดโบสถ์ ซึ่งเปน็ อาเภอหนึ่งใน 9 อาเภอ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ของจังหวัดพิษณุโลกประกอบด้วย 10 หมู่บ้าน สภาพพ้ืนที่เป็นที่ราบสูง สลับกับ ภูเขามีป่าไม้ทุกหมู่บ้าน มีแม่น้าแควน้อยไหลผ่าน เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชไร่ และทาสวน เลี้ยงสัตว์ และสถานที่สาคัญคืออุทยานแห่งชาติแก่งเจ็ดแคว และ เขื่อนแควน้อย (เขื่อนแควน้อยบารุงแดน) จัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวโครงการอัน เน่ืองมาจากพระราชดาริ โดยหมู่ที่ 1 บ้านคันโช้ง ได้มีการรวมกลุ่มเพ่ือผลิต ผลิตภัณฑ์น้าพริกแปรรูปที่ใช้วัตถุดิบในพ้ืนที่ เพ่ือออกจาหน่ายโดยมีการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพให้เป็นที่รู้จักต้องการของผู้บริโภคเป็นการเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ ชุมชน และให้เป็นที่ต้องการของตลาดอยู่เสมอ จึงต้องการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มี เอกลักษณ์ที่โดดเด่นโดยการสร้างตราสญั ลักษณ์ที่บ่งบอกพ้ืนที่ และเรื่องราวของ ผลิตภัณฑ์ รปู แบบของบรรจุภัณฑท์ ี่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนได้ในอนาคต ดังน้ันทางคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มีนโยบายด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชนที่ ชัดเจน ตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาและจัด หลักสูตรการฝึกอบรมที่มีคุณภาพ โดยมุ่งสนองความต้องการของท้องถิ่น สาขา ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมจึงได้จัดโครงการ พัฒนาบรรจุภัณฑ์กลุ่มผลิตภัณฑ์น้าพริก แปรรูป ตาบลคันโช้ง จังหวัดพิษณุโลก โดยจัดเป็นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการบูรณาการกับการเรียนการสอน เพ่ือการมี ส่วนร่วมของชุมชนและผู้ประกอบการ เพ่ือทราบปัญหาและปฏิบัติการพัฒนา บรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้าพริกต่างๆ ให้มีเอกลักษณ์สามารถส่งเสริมการขายและ

สังเคราะหค์ วามร้จู ากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ เพ่ิมมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน เพ่ือตอบสนองความต้องการและสามารถ ส่งเสริมการท่องเที่ยวในพ้ืนที่ ตลอดจนการเรียนรู้กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภณั ฑใ์ ห้มีรายได้ตอ่ ยอดไปยังผลิตภณั ฑอ์ ่นื ๆ ของกลุ่มชมุ ชนในอนาคต ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจยั กระบวนการทใี่ ช้ในการถา่ ยทอดองค์ความรู้ 1. แนวทางพฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชนให้เกิดความย่งั ยนื 2. การพฒั นาสินค้าระหวา่ งกลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชนกับผู้เช่ยี วชาญด้านอาหาร 3. แบ่งกลุ่มระหวา่ งนักออกแบบกบั สินค้าในการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ องค์ความรทู้ ไี่ ดใ้ ชใ้ นการบรกิ ารวิชาการ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑก์ ลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีดังน้ี 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้าพริกลาบ ปลาส้ม และไข่เค็ม ได้ทาการเก็บ ข้อมูลจากกลุ่มแม่วิสาหกิจชุมชนบ้านคันโช้ง แล้วนามาพัฒนาคุณภาพโดยผ่าน กระบวนการตรวจสอบข้อมลู โภชนาการผลิตภณั ฑ์ทั้ง 3 ชนดิ 2. การพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์น้าพริกลาบ ปลาส้ม และไข่เค็ม โดย - 50 - สร้างความตระหนักให้กับชุมชนถึงการสร้างแบรนด์สินค้า รูปลักษณ์ของ ผลิตภัณฑม์ คี วามสวยงามทาให้เกิดความนา่ สนใจของผู้บริโภค สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค 3. การส่งเสริมตลาดและจัดแสดงผลิตภัณฑ์ โดยนาผลิตภัณฑ์ที่ ตรวจสอบคุณภาพแล้วมาบรรจุภัณฑ์ที่ได้รับการออกแบบรูปแบบบรรจุภัณฑ์แบบมี ส่วนร่วมของชุมชนมาทดสอบตลาด และนาผลมาพฒั นารูปแบบบรรจุภณั ฑ์ต่อไป ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ 1. กลุ่มวสิ าหกิจชุมชนได้ตระหนกั ถึงคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ เพอื่ ให้ ผู้บริโภคทราบถึงขอ้ มูลของผลิตภณั ฑ์ 2. กลุ่มวสิ าหกิจได้มีแบรนดส์ ินค้า เพ่อื สร้างความจดจาให้กบั ผบู้ ริโภค 3. กลุ่มเกิดการร่วมตวั มากขนึ้ และสามารถหาช่องทางตลาดผ่านระบบ ออนไลนไ์ ด้

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ใบยางพารา เพือ่ ใช้ผลิตภณั ฑข์ องตกแตง่ และของชารว่ ย พรชยั ปานทุ่ง คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ - 51 - ในเขตพ้ืนที่จังหวัดพิษณุโลกมีการปลูกยางพาราเป็นจานวนมาก ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตอาเภอวังทอง อาเภอนครไทยและอาเภอชาติตะการ เม่ือผล การผลิตยางพาราเป็นจามากทาให้ราคาของยางแผ่นมีราคาต่า จากสาเหตุปัจจยั ภายในและภายนอกประเทศ จึงทาให้เกษตรกรต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการ นาผลผลิตจากยางพารามาพัฒนาเป็นรูปแบบผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ จากยางพารา เช่น การใช้ไม้จากต้นยางพาราที่มีอายุมากบางส่วนมาทาเฟอร์นิเจอร์การแปรรูปน้า ยางมาเพม่ิ คุณภาพถุงยางมือเพ่อื ใชใ้ นการจบั ยดึ ของได้งา่ ยขนึ้ เป็นต้น การใช้ผลผลิตจากใบยางพารามาทาเป็นของตกแต่งและของชาร่วยเป็น การใช้วัสดุทีม่ ีให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดดว้ ยกระบวนการคิดสร้างสรรค์ทางผลิตภัณฑ์ ของตกแต่งและของชารว่ ย ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจยั 1. การนาวสั ดุทีม่ ีอยใู่ นท้องถิ่นมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ งู สุด 2. การมสี ่วนร่วมระหว่างชมุ ชนกับสถาบนั ในอดุ มศึกษา 3. แนวทางความคิดสร้างสรรคผ์ ลิตภณั ฑข์ องตกแต่งและของชารว่ ย ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ผลจากการดาเนนิ การวจิ ยั ทาให้ชุมชนมกี ารนาวสั ดุที่มีอยใู่ นท้องถิ่นมา พัฒนาเป็นรปู แบบผลิตภณั ฑข์ องตกแต่งและของชารว่ ย ก่อให้เกิดรายได้ในชุมชน ภาพกิจกรรม .

สงั เคราะหค์ วามรู้จากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 1 ผลิตภัณฑข์ องตกแตง่ และของชารว่ ย - 52 - สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ การศึกษาสว่ นผสมของวตั ถุดบิ จากชานอ้อย และส่วนผสมปนู ปลาสเตอรใ์ นการผลิต ฉนวนกนั ความรอ้ นเพื่อลดการใช้พลงั งานและ รกั ษาสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ ขนั แก้ว สมบรู ณ์ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคิดหรือวัตถุประสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ - 53 - 1. เพ่ือศึกษาและพัฒนาแผ่นฉนวนกันความร้อนจากวัสดุเหลือใช้ทาง ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค การเกษตรจากชานอ้อยโดยมงุ่ เนน้ การลดสภาวะโลกรอ้ นและอนุรกั ษพ์ ลังงานและ สิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ 2. เพ่ือศึกษาสมบัติทางกายภาพสมบัติเชิงกล สมบัติเชิงความร้อนจาก ชานอ้อย ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลทางด้านวัสดุทางการเกษตร เช่น เส้นใยจากชานอ้อย เส้นใยจากกะลาปาล์ม เส้นใยจากเปลือกข้าวโพด และ เส้นใยจากซงั ข้าวโพด ➢ ลักษณะเด่นของงานวิจัย พฒั นาผลิตภณั ฑฉ์ นวนความร้อนในการช่วยลดผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อม และนาวัสดุเหลอื ใชท้ างการเกษตรมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ ูงสุด โดยการนาชานออ้ ย มาเป็นวัตถุดิบหลักและการนาปูนปลาสเตอร์มาเป็นส่วนผสมในการขึ้นรูปเป็น ผลิตภัณฑฉ์ นวนความร้อนเพ่อื นามาใชใ้ นงานทางสถาปตั ยกรรมได้ ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ 1. เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นฉนวนความร้อนและเพ่ือเป็นการเพ่ิม มลู ค่าผลิตภณั ฑ์ 2. สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ในวงการอุตสาหกรรมฉนวนความร้อนที่เป็น ต้นแบบโดยใช้หลักการประหยัดในการใช้วัสดุทางธรรมชาติที่มีในท้องถิ่นอย่าง

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรจู้ ากงานวิจัยและผลงานสรา้ งสรรค์ คุ้มคา่ ไมก่ ่อให้เกิดมลพษิ ในอากาศเปน็ แหล่งเรียนรู้และส่งเสรมิ การนาวสั ดุเหลือใช้ ทางการเกษตรมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนเ์ พ่อื สง่ เสริมการลงทนุ ทางด้านอุตสาหกรรม 3. ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มาใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ภาพที่ 1 ชานออ้ ยและปูนปลาสเตอร์ - 54 - ภาพที่ 2 ชานออ้ ยก่อนและหลงั ลดขนาด ภาพที่ 3 ฉนวนจากชานออ้ ยที่อัดขนึ้ รูปแลว้ ตามอัตราส่วน

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ด้านการผลิตผ้ายอ้ มสีธรรมชาติ บ้านซารัง ต.ชมพู อ.เนนิ มะปราง จ.พิษณโุ ลก อไุ รวรรณ์ รกั ผกาวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ - 55 - การศึกษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการผลิตผ้าย้อมสีธรรมชาติ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค โดยการจัดการความรู้ที่ได้มาเป็นฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการผลิตผ้า ย้อมสีธรรมชาติ เพ่ือให้สามารถศึกษาค้นคว้าได้อย่างเป็นระบบโดยอาศัย เทคโนโลยีเครือข่ายเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ความรู้ในลักษณะฐ านข้อมูล ออนไลน์ เพ่ือฟื้นฟู อนุรักษ์ และสืบสาน และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการ ผลิตผ้ายอ้ มสีธรรมชาติดังกล่าว เพือ่ เป็นประโยชนใ์ ห้กับเยาวชนผู้สนใจเพ่ือศึกษา ขั้นตอนกระบวนการผลิตผ้าย้อมสีธรรมชาติ ได้ตามความต้องการ สามารถนา ความรู้นั้นมาประยกุ ตป์ ฏบิ ตั ใิ ห้เกิดเปน็ รูปธรรมและพฒั นาได้อยา่ งยง่ั ยืนได้ ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจัย คณะวิจัยได้พัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการผลิตผ้าย้อมสี ธรรมชาติ เพ่ือถ่ายทอดขั้นตอนการผลิตผ้าย้อมสีธรรมชาติ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของ บ้านซารัง ตาบลชมพู อาเภอเนนิ มะปราง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก ผ่านสังคมออนไลน์ ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ คณะวิจัยได้นาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการผลิตผ้าย้อมสี ธรรมชาติบ้านซารัง ตาบลชมพู อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เผยแพร่ ให้กับผู้สนใจซึ่งสามารถศึกษาได้ง่ายและสามรถนาไปปฏิบัติตามได้อย่างเป็น รปู ธรรม ผ่าน http://csit.psru.ac.th/~urairux/a/n.php หรือเพอ่ื ความสะดวกในการ เข้าถึงฐานข้อมลู ได้อยา่ งรวดเร็วผ่านทางคิวอารโ์ ค้ด ดังภาพที่ 1

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยและผลงานสรา้ งสรรค์ ภาพที่ 1 คิวอารโ์ ค้ดฐานข้อมลู ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ - 56 - ภาพที่ 2 ลงพ้นื ทีเ่ ก็บขอ้ มลู ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ การผลิตผ้ายอ้ มสีธรรมชาติ ภาพที่ 3 ภาพบคุ คลทใ่ี ห้ขอ้ มลู ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ การผลิตผ้ายอ้ มสีธรรมชาติ

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ วิวัฒนาการของบรรจภุ ัณฑอ์ าหารพืนถนิ่ เมืองพิษณโุ ลก และการพัฒนาบรรจภุ ณั ฑเ์ พื่อมลู คา่ เพิม่ พรดรลั จุลกัลป์* วรลกั ษณ์ สรุ วิ งษ์ และกนกวรรณ พรมจีน คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ - 57 - อาหารและวัฒนธรรมการบริโภคเป็นวิถีการดาเนินชีวิตของบุคคลที่ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค แตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษ อาหารและ วฒั นธรรมการบริโภคจึงแสดงให้เห็นถึงประวัตศิ าสตร์และววิ ฒั นาการได้เป็นอย่าง ดี ในอดีตเรานาวัตถุดิบในท้องถิ่นมาแปรรูปด้วยวิธีการง่ายๆ เพ่ือบริโภคเองใน ครัวเรือน แต่เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม การผลิตอาหารจึง เพ่ือจาหน่ายและกลายเป็นอาชีพที่ทารายได้ให้แก่ชุมชน ดังนั้นงานวิจัยน้ีจึงมี วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาวิวัฒนาการของบรรจุภัณฑ์อาหารพ้ืนถิ่นในจังหวัด พิษณุโลก พัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารพ้ืนถิ่นในจังหวัดพิษณุโลกเพ่ือ สร้างมลู ค่าเพ่มิ ➢ ลักษณะเด่นของงานวิจัย งานวิจัยน้ีเป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์อาหารพ้ืนถิ่นใน จังหวัดพษิ ณโุ ลก ตงั้ แตส่ มัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ 5 จนถึงปัจจุบัน ผ่านการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลวิชาการ งานวิจัย การลงพ้ืนที่ สารวจ และการสัมภาษณ์บุคคลสาคัญ/ปราชญ์ชาวบ้าน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการ พัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม โดยผลิตภัณฑ์อาหาร และบรรจุภัณฑ์อาหารที่พัฒนามี 4 รายการ ได้แก่ แกงหยวกสาเร็จรูปบรรจุรี ทอร์ตเพาท์ นา้ ตาลสดพร้อมดม่ื ในขวดแก้ว กล้วยตาก และเม่ยี งคา

สังเคราะห์ความรูจ้ ากงานวจิ ัยและผลงานสรา้ งสรรค์ ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ผลิตภัณฑ์อาหารและบรรจุภัณฑ์อาหารจากงานวิจัยสามารถใช้เป็น ต้นแบบสาหรับการผลิตเพ่ือจาหน่าย เน่ืองจากบรรจุภัณฑ์และกรรมวิธีในการฆา่ เช้ือที่เหมาะสมสามารถยืดอายุการเก็บรักษาอาหารพ้ืนถิ่นได้นานย่ิงขึ้น แบบ กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์อาหารพ้ืนถิ่นสามารถบ่งบอกความเป็นตัวตนของท้องถิ่น พษิ ณโุ ลกได้เปน็ อยา่ งดี ภาพที่ 1 แกงหยวกสาเรจ็ รูปบรรจรุ ที อร์ตเพาท์ ภาพที่ 2 กล้วยตาก - 58 - สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ภาพที่ 3 น้าตาลสดพร้อมดืม่ ในขวดแกว้ ภาพที่ 4 เมย่ี งคา (ชุด)

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสมะขามปรุงรสสาเร็จรูป จากมะขามหวานตกเกรด พรดรลั จุลกลั ป์* และกมลทิพย์ เดชะปรากรม คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลัยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ - 59 - ผลการสารวจตลาดผลิตภัณฑ์เครอ่ื งปรุงรสอาหารพบวา่ ผลิตภัณฑก์ ลุ่ม ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค เครื่องปรุงรสอาหารโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ซอสปรุงรสอาหารมีแนวโน้มเติบโต ทางการตลาดอย่างมากและต่อเน่ือง เพราะนอกจากผู้บริโภคคนไทยแล้วกระแส ความนิยมบริโภคอาหารไทยของคนต่างชาติก็มีมากขึ้น งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื ศึกษาสูตรและกรรมวธิ ีทีเ่ หมาะสมในการผลิตซอสมะขามปรงุ รสสาเรจ็ รูปจาก มะขามหวานตกเกรด ประเมินการยอมรับของผู้บริโภค และอายุการเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั ผลิตภัณฑ์ซอสมะขามปรุงรสสาเร็จรูปจากมะขามหวานตกเกรด จะเป็น การใช้ประโยชนจ์ ากผลพลอยได้ (by product) ในกระบวนการแปรรปู เพ่อื การสร้าง มูลค่าเพ่ิม และเป็นผลิตภัณฑ์ใหมท่ ี่มีศกั ยภาพในการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชยไ์ ด้ ในอนาคต สูตรที่เหมาะสมประกอบด้วย เน้ือมะขามหวานร้อยละ 38.46 ถ่ัวลิสง บดร้อยละ 9.62 นา้ มะนาวร้อยละ 4.81 เกลือป่นร้อยละ 1.92 นา้ ตาลทรายร้อยละ 17.31 พริกแดงร้อยละ 1.92 กระเทียมร้อยละ 6.73 และน้าร้อยละ 19.23 ตามลาดบั ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ผลิตภัณฑซ์ อสมะขามปรุงรสสาเร็จรูปจากมะขามหวานตกเกรด เปน็ การ ใชป้ ระโยชนจ์ ากผลพลอยได้ (by product) ในกระบวนการแปรรปู มะขามหวานของ

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรู้จากงานวิจัยและผลงานสรา้ งสรรค์ ผู้ประกอบการ เพ่อื การสร้างมูลคา่ เพิ่ม และเป็นผลิตภณั ฑ์ใหมท่ ีม่ ีศักยภาพในการ พฒั นาต่อยอดเชงิ พาณิชยไ์ ด้ในอนาคต ภาพที่ 1 ลักษณะของซอสมะขามปรงุ รสสาเรจ็ รปู - 60 - ภาพที่ 2 ซอสมะขามปรงุ รสสาเรจ็ รปู จากมะขามหวานตกเกรดในบรรจภุ ัณฑข์ วด แก้ว

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การพฒั นาสูตรเนอื ดินป้นั สาหรับผลิตภัณฑ์สโตนแวร์ จากดนิ บา้ นปลักแรด อาเภอบางระกา จังหวดั พิษณโุ ลก วมิ ล ทองดอนกลงิ้ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม Email: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถปุ ระสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ - 61 - การนาไปใช้ประโยชน์ เปน็ การทดลองเพื่อหาสตู รส่วนผสมที่ เหมาะสมสาหรับผลิตภัณฑ์สโตนแวร์ จากดินบ้านปลกั แรด ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจัย ลดต้นทนุ เพิ่มมลู ค่าของวัตถดุ ิบในท้องถิ่น ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ นาไปใช้ประโยชน์สามารถนาไปใช้เป็นวตั ถดุ ิบหลกั ในการผลิต เครือ่ งปัน้ ดินเผาได้เพื่อการลดต้นทนุ สร้างมูลค่าด้วยวัตถุดิบในท้องถิน่ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ภาพที่ 1 ขั้นตอนการผลิตภัณฑ์สโตนแวร์

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การพฒั นาผงกล้าเชือสาหรบั หมกั ขา้ วหมาก และเครอ่ื งดื่มข้าวหมากท่มี ีสารต้านอนมุ ูลอิสระสงู เกตกุ าร ดาจันทา* และ อุทยั วรรณ ฉตั รธง คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถปุ ระสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษากระบวนการผลิตผงกล้าเช้ือสาหรับ หมักข้าวหมาก และศึกษากระบวนการผลิตเครื่องด่มื ข้าวหมากท่ีมีสารต้านอนมุ ูล อสิ ระสงู ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจยั ผลงานวิจัยได้คัดเลือกเช้ือจุลินทรีย์ที่บทบาทในการหมักข้าวหมากที่ เหมาะสมแล้วนามาพัฒนาเป็นผงกล้าเช้ือบริสุทธิ์สาเร็จรูปที่สามารถนาไปใช้หมักข้าว - 62 - หมากได้อย่างสะดวก ปลอดภัยจากจุลินทรีย์ก่อโรค และได้ข้าวหมากที่มีความ หวานสูง แอลกอฮอล์ต่า ไม่มีรสเปรี้ยว และได้กระบวนการผลิตเครื่องด่ืมข้าว หมากที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง โดยเริ่มจากการหมักข้าวเหนียวดาก่าม้งด้วย ผงกล้าเช้ือบริสุทธิ์และนาไปผลิตเป็นน้าข้าวหมากพร้อมด่ืมที่มีองค์ประกอบของ สารต้านอนุมูลอิสระสูงหลายชนิด ได้แก่ สารประกอบฟีนอลและแอนโทไซยานิน นอกจากน้ียังมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH และฤทธิ์ Ferric reducing antioxidant powder สงู อีกดว้ ย ➢ การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เครื่องด่ืมข้าวหมากที่พัฒนาได้สามารถเก็บรักษาไว้ได้อย่างน้อย 30 วัน โดยที่ยังคงมีปริมาณของสารประกอบฟีนอลและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง และมี ความปลอดภยั ทางด้านจุลชีววทิ ยา

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 1 บรรจภุ ณั ฑ์เครอ่ื งดื่มข้าวหมาก - 63 - ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรจู้ ากงานวิจัยและผลงานสรา้ งสรรค์ การพัฒนาโลช่ันบารงุ ผิวขาวจากสารสกัดเปลือกห้มุ เมล็ดมะขามสตู รนาโมอิมลั ชนั เกตุการ ดาจันทา* และ เปรมนภา สีโสภา คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ มะขามเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของจังหวัดเพชรบูรณ์และพิษณุโลก มี การบริโภคทั้งในรูปของฝักสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปหลายรูปแบบ ทาให้มีเมล็ด มะขามเปน็ ของเหลอื จากกระบวนการแปรรปู อาหารจานวนมาก ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั งานวิจัยน้ีได้ศึกษาวิธีการสกัดเปลือกหุ้มเมล็ดมะขามเพ่ือให้ได้สารต้าน อนุมูลอิสระมากที่สุดและนาไปประยุกต์เป็นสารออกฤทธิ์ทางเวชสาอางใน - 64 - ผลิตภัณฑ์โลช่ันบารุงผิวสูตรนาโนอิมัลชัน ผลของงานวิจัยทาให้ได้วิธีการสกัด เปลือกหุ้มเมล็ดมะขามที่เหมาะสม ได้สารสกัดที่อุดมด้วยสารออกฤทธิ์ทางเวช สาอางหลายชนิด ได้แก่ Proanthocyanidins, Phenolic compounds และ Flavonoids ซึ่งมีสรรพคุณในการปกป้องการเส่ือมของผิวหนังด้วยการทาหน้าที่เป็นสารต้าน อนุมูลอิสระที่เกิดจากการกระตุ้นของรังสียูวี ทาหน้าที่ช่วยยับย้ังการเส่ือมสลาย ของเซลล์ ทาให้ผิวเรียบเนียน ลดการอักเสบ ยับยั้งการสลายตัวของคอลลาเจน ช่วยเพ่ิมการไหลเวียนของเลือดที่มาหล่อเลี้ยงผิว นอกจากน้ียังพบว่าสารสกัด เปลือกหุ้มเมล็ดมะขามมีฤทธิ์ DPPH radical scavenging activity สูงกว่าวิตามินซี มากถึง 4-8 เท่า และมีฤทธิ์ Tyrosinase inhibition activity ซึ่งเป็นฤทธิ์ในการ ยบั ยง้ั การสร้างเมด็ สผี ิว กระ จุดด่างดา สงู กว่ากรดโคจิมากถึง 4-7 เท่า

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ งานวิจัยน้ีได้นาสารสกัดเปลือกหุ้มเมล็ดมะขามไปใช้เป็นสารออกฤทธิ์ ทางเวชสาอางในโลชั่นบารุงผิวขาวและเสริมประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีการผลิต แบบนาโนอิมัลชันซึ่งเป็นระบบนาส่งสารออกฤทธิ์ทางเวชสาอางเข้าสู่ผิวได้อย่าง รวดเร็วและเข้าสู่ช้ันผิวที่ลึกกว่าโลชั่นทั่วไป อุดมด้วยสารต้านอนุมูลอิสระหลาย ชนิดและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง มีความคงตัวและไม่ก่อให้เกิดการระคายเคือง ตอ่ ผิวเมอ่ื ทดสอบด้วยวิธี Close patch test ภาพที่ 1 เมด็ มะขาม - 65 - ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ภาพที่ 2 บรรจุภัณฑโ์ ลชัน่ บารงุ ผิวขาวจากสารสกัดเปลอื กหมุ้ เมล็ดมะขาม

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรูจ้ ากงานวิจัยและผลงานสรา้ งสรรค์ การพฒั นาสือ่ การเรียนรู้ และออกแบบผลิตภัณฑ์สนิ คา้ ของท่รี ะลึกเชงิ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ พิพิธภณั ฑ์พืนบ้านจา่ ทวี จังหวัดพิษณโุ ลก ปรารถนา ศิริสานต์ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ุลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ เดิมพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านแห่งน้ีไม่ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานใดและมี รายได้ไม่เพียงพอ เพียงต้ังตู้รับบริจาคหรือช่วยอุดหนุนสินค้าของที่ระลึก ปัจจุบัน สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) ร่วมกับ จังหวัดพิษณุโลก, เทศบาล นครพิษณุโลก, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสานักงานพิษณุโลก จัดพิธีลงนาม ความร่วมมือและแถลงข่าวการเปิดตัวพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านจ่าทวี จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 ในรูปแบบพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ต้นแบบแห่งแรกใน - 66 - จังหวัดพิษณุโลก ด้วยพ้ืนที่แหล่งเรียนรู้น้ี เปรียบเสมือนขุมทรัพย์ทาง ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญาไทย ที่เก็บรวบรวมวิถีพ้ืนบ้านที่นับวันหาดไู ด้ยากใน ปัจจุบัน แต่ยังไม่เป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชนนัก และยังขาดสิ่งที่ส่งเสริมการ ถ่ายทอดเรื่องราววิถีชีวิต และประวัติศาสตร์ที่สาคัญ การพัฒนาในเรื่องของส่ือ การให้ข้อมูลความรู้ในแต่ละพ้ืนที่จัดแสดงให้น่าสนใจ การออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑส์ ินค้าของที่ระลึกของพิพิธภัณฑ์พนื้ บ้าน เพ่อื ประชาสัมพันธ์ และเป็นการเพ่ิมรายได้ให้แก่พพิ ิธภัณฑ์ สามารถรองรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเย่ยี ม และตลอดจนเป็นแบบอย่างให้สถาบันทางการศึกษาได้ดาเนินการเก็บรวบรวม ศลิ ปะภูมปิ ัญญาไทยทีก่ าลังจะหายไปให้คงอยู่ต่อไปในอนาคต

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 1 ตน้ แบบเส้ือและสมุดของทีร่ ะลึก ➢ ลักษณะเด่นของงานวิจยั - 67 - การสร้างองค์ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการออกแบบเบื้องต้น ถ่ายทอดองค์ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ความรู้เป็นไปในรูปแบบของการอบรมเชิงปฏิบัติการการระดมความคิด การสร้าง แนวคิดในการออกแบบให้สอดคล้องตรงกับความต้องการ เพ่ือตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภคหลักของกลุ่ม ร่วมกันวิเคราะห์รูปแบบเพ่ือหาแนวทางในการ ออกแบบรูปแบบใหม่ที่ส่งเสริมให้มีเอกลักษณ์โดดเด่น โดยการยกตัวอย่างให้ สามารถเห็นภาพได้ง่ายขึ้น โดยกาหนดแนวคิด ได้มาจากผลิตภัณฑ์ต่างๆ ท่ีอยู่ ภายในพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี เช่น ของเล่นไทยโบราณ และม้าน่ังควายไทยที่เปน็ เอกลกั ษณ์ของพิพธิ ภณั ฑ์ โดยนามาตัดทอน และจดั วางเพือ่ ให้เกิดเปน็ ลวดลายบน ของทีร่ ะลึกของพิพิธภณั ฑ์ ให้มีความทันสมยั และน่าดงึ ดดู ต่อนกั ท่องเที่ยว ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ เป็นประโยชน์ต่อการรองรับนักท่องเที่ยวในเชิงข้อมูลการเรียนรู้แสดงวิถี พ้ืนบ้านของชาวเมืองพิษณุโลก และภาคเหนือตอนล่าง และเป็นการดึงดูด นักท่องเทีย่ วเข้ามาเยย่ี มชมให้พิพิธภณั ฑก์ ่อเกิดรายได้ ซึง่ การคงอยู่ของพพิ ธิ ภัณฑ์ ส่งผลให้เกิดประโยชนต์ อ่ การเรียนรู้วัตถทุ างวัฒนธรรม ศลิ ปะ ภมู ิปญั ญาพืน้ ถิ่นที่ เก่าแก่ทรงคุณค่า ทั้งยังสามารถส่งเสริม และอนุรักษ์พิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านน้ีให้เป็น มรดกทางการศึกษาให้คงอยู่คู่จังหวัดพิษณุโลก ตลอดจนเผยแพร่ขุมทรัพย์ทาง ประวตั ศิ าสตร์และภูมปิ ญั ญาไทย ให้กวา้ งขวางเปน็ มรดกตกทอดสืบไป

สงั เคราะหค์ วามรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 2 การร่างแบบและปรับปรุงแบบการออกแบบสอ่ื การเรียนรู้ - 68 - สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ บรรจภุ ัณฑก์ ลว้ ยแปรรปู เพื่อเป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ปรารถนา ศริ ิสานต์ สาขาออกแบบผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ - 69 - ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวไกลจึงส่งผลให้เกิดการแข่งขันทางการค้าที่ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ค่อนข้างสูง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จึงเป็นทางเลือกเพ่ือการยกระดบั ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดเล็ก ให้มีความแตกต่าง การสร้างบรรจุภัณฑ์ที่มีความแตกต่าง เพ่ือบ่งบอกความเฉพาะตัวของผลิตภัณฑ์ หรือเอกลักษณ์พ้ืนที่การผลิต สามารถเพ่ิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ และเป็นการ ส่งเสริมทางการตลาด ในสังคม ผู้อุปโภคบริโภคให้ความสนใจต่อบรรจุภัณฑ์มาก เป็นทวีคูณ ผู้บริโภคนอกจากจะมีความต้องการความสวยงามภายนอกของตัว บรรจุภัณฑ์แล้ว ยังต้องการบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมการออกแบบ บรรจุภัณฑ์จาต้องพิจารณาถึงความสามารถในการลดปริมาณบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ แล้วในขยะ การนากลับมาใช้ใหม่ หรือ นากลับมาแปรรูปใหม่หรือกระบวนการ ผลิตทีล่ ดตน้ ทุน อกี ทง้ั ใชว้ สั ดุที่สง่ เสริมการ รักษาสง่ิ แวดลอ้ ม รวมถึงการคานึงถึง กระบวนการพมิ พ์ ดังนั้นการทาความเข้าใจความหมาย ความเป็นมาตลอดจนความสาคญั ของบรรจุภัณฑ์ และหลักการออกแบบเบื้องต้น เพ่ือเป็นการเรียนรู้และสามารถ นามาพัฒนาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผลิตภัณฑ์ของ ตนเองให้โดดเด่นและนา่ สนใจ ➢ ลักษณะเด่นของงานวิจยั 1. ตราสัญลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านพลายชุมพล จงั หวัดพษิ ณุโลก (แมท่ บั ทิม)

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรจู้ ากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ 2. รูปแบบของบรรจุภัณฑ์ตามแนวคิดในการออกแบบ ให้เป็นมิตรต่อกับ สิง่ แวดลอ้ ม 3. บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการใช้วัสดุที่สามารถย่อย สลายได้งา่ ย และเป็นวสั ดทุ ีเ่ ปน็ กระดาษรีไซเคิล (กระดาษคราฟ) 4. บรรจุภัณฑ์ในลักษณะกล่อง เพ่ือบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์หลายช้ินเข้า ด้วยกัน และลกั ษณะถุง เพื่อการนากลบั ที่สะดวก 5. เพม่ิ เอกลกั ษณ์โดยการหอ้ ยป้ายที่ใชว้ สั ดุเชอื กกล้วยทีส่ อดคล้องกับตวั ผลิตภณั ฑภ์ ายใน และมีขอ้ มลู ของผลิตภณั ฑบ์ ่งบอกอยา่ งชัดเจน ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ 1. สามารถนาความรู้ไปใช้ต่อยอดเชิงพาณิชย์ ทั้งกระบวนการสร้าง ตน้ แบบบรรจภุ ัณฑ์ ได้สร้างความตา่ งให้มีเอกลกั ษณ์สามารถส่งเสริมการขาย เปน็ การเพม่ิ มลู คา่ ให้แกผ่ ลิตภัณฑ์ 2. เกิดกระบวนการเผยแพร่สู่ชุมชนใกล้เคียง ขยายวงกว้างสู่ชุมชนที่ แนวคิดเดียวกัน ตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่คล้ายคลึงกัน ให้มีเอกลักษณ์ที่สามารถ ดึงดูดผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมายของกลุ่มชุมชนนั้น เพ่ือการขยายตัวของกลุ่ม - 70 - ผลิตภัณฑช์ ุมชน ให้มีความเข้มแข็งและยัง่ ยืน ภาพที่ 1 ตัวอยา่ งบรรจุภัณฑ์ ภาพที่ 2 ตัวอยา่ งบรรจุภัณฑต์ น้ แบบ

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ของทร่ี ะลึก จากภูมิปญั ญามัดย้อมครามธรรมชาติ ปรารถนา ศริ ิสานต์ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ - 71 - ส่งเสริมกิจกรรมชุมชน เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพชุมชน หรือ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค กิจกรรมส่งเสริมสมั พนั ธภาพในครัวเรือน ตลอดจนกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนให้แสดง ความสามารถของตนเอง เห็นคุณค่าของตนเอง อีกท้ังยังสามารถเป็นการสร้าง รายได้ให้กับชมุ ชน ด้วยการให้ความรู้ในการสร้างผลิตภณั ฑ์ ของที่ระลึกจากภูมิปัญญามัดย้อมครามธรรมชาติ โดยการสร้างสรรค์ลวดลาย และวิธีการใหม่ ให้เกิดลวดลายที่ทันสมัย ให้เป็นแนวทางในการต่อยอดและ ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ประกอบการกิจกรรมในครัวเรือน อีกทั้งยังเป็นการสบื สานภมู ิปญั ญาให้แพรห่ ลาย ให้คงอยคู่ ู่ชุมชนตลอดไปในอนาคต ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั การถ่ายทอดองค์ความรู้เป็นไปในรูปแบบของการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมีกระบวนการบรรยาย เรื่องการออกแบบของที่ระลึก และการทาผ้ามัดย้อม การให้สีจากธรรมชาติต่างๆ และกระบวนการสร้างสรรค์ลวดลาย เพ่ือการสร้าง แนวคิดในการออกแบบเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ให้ผลิตภัณฑ์ สามารถโดดเด่นและส่งเสริมการขายได้ โดยการยกตัวอย่างให้กลุ่มชุมชนสามารถ เหน็ ภาพได้งา่ ยขนึ้ องคค์ วามรู้ในการสร้างสรรค์ลวดลายผ้ามดั ยอ้ ม และการนามาประยุกต์ สร้างสรรค์ให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก ที่สามารถเพ่ิมมูลค่าได้มากขึ้น ไ ด้ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม กิ จ ก ร ร ม ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ส า ห รั บ ก ลุ่ ม ค ร อ บ ค รั ว และผู้สงู อายุในเขตเทศบาลจงั หวดั พษิ ณโุ ลก

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะห์ความร้จู ากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ได้รูปแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากภูมิปัญญามัดย้อม และลวดลายที่ สร้างสรรค์แปลกใหม่ เป็นการสร้างกิจกรรมและแนวทางส่งเสริมอาชพี ให้กับชุมชน และสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ อ่ืนๆ เพ่ือการขยาย หรือตอ่ ยอด อกี ทง้ั เปน็ การเผยแพร่ให้แก่ชมุ ชนขา้ งเคยี ง หรือผู้ที่สนใจการออกแบบ ของทีร่ ะลึกจากผ้ามัดย้อมเพ่อื ขยายวสิ าหกิจชุมชนในอนาคตต่อไป ภาพที่ 1 ปฏบิ ตั กิ ารเรียนรู้ - 72 - ภาพที่ 2 แบบผา้ ย้อมครามธรรมชาติ

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ โครงการพัฒนาบรรจุภัณฑก์ ลมุ่ ผลติ ภัณฑ์แปรรูป ตาบลคันโชง้ อาเภอวดั โบสถ์ จังหวัดพิษณโุ ลก ปรารถนา ศริ ิสานต์ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ - 73 - ตาบลคนั โช้ง อยู่ในเขตของอาเภอวัดโบสถ์ ซึง่ เปน็ อาเภอหน่งึ ใน 9 อาเภอ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ของจังหวัดพิษณุโลก ประกอบด้วยหมู่บ้าน หมู่ 1 บ้านคันโช้ง, หมู่ 2 บ้านหนอง ลวก, หมู่ 4 บ้านน้าโจน, หมู่ 5 บ้านหนองกระบาก, หมู่ 6 บ้านปากพาน, หมู่ 7 บ้านแก่งคนั นา, หมู่ 8 บ้านหนองบอน, หมู่ 10 บ้านถ้าดิน สภาพพ้ืนที่เป็นทีร่ าบสงู สลับกับภูเขามีป่าไม้ทุกหมู่บ้าน มีแม่น้าแควน้อยไหลผ่าน เหมาะแก่การเพาะปลกู พืชไร่ และทาสวน เลี้ยงสัตว์ และสถานที่สาคัญคือ อุทยานแห่งชาติแก่งเจ็ดแคว และเขื่อนแควน้อย (เขื่อนแควน้อยบารุงแดน) จัดเปน็ สถานทีท่ ่องเทีย่ วโครงการอัน เน่ืองมาจากพระราชดาริ จึงได้มีการรวมกลุ่มเพ่ือผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ใช้ วัตถุดิบในพ้ืนที่ตามสภาพที่หลากหลายของหมู่บ้าน เพ่ือออกจาหน่ายโดยมีการ ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพให้เป็นที่รู้จักต้องการของผู้บริโภค เป็นการเพ่ิมมูลค่า ผลิตภัณฑ์ชุมชน และให้เป็นที่ต้องการของตลาดอยู่เสมอ จึงต้องการพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น โดยการสร้างตราสัญลักษณ์ที่บ่งบอกพ้ืนที่ และ เรือ่ งราวของผลิตภัณฑ์ รูปแบบของบรรจภุ ณั ฑท์ ีส่ ามารถตอบสนองความตอ้ งการ ของผู้บริโภค สรา้ งรายได้ให้แก่ชุมชน และสามารถส่งเสริมเปน็ ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ โดดเด่นเพ่อื การท่องเที่ยวเชงิ อนุรักษอ์ ย่างยง่ั ยนื ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั การร่วมกันหาแนวทางในการออกแบบบรรจภุ ณั ฑต์ น้ แบบ ของกลมุ่ ชมุ ชน และนักศึกษา สาหรับน้าพริกแปรรูป เน้นการจาหน่ายปลีก สามารถดึงดูดความ สนใจของผู้บริโภคบนช้ันวาง และบรรจภุ ณั ฑน์ า้ พริกสาหรับเป็นผลิตภณั ฑข์ องฝาก มีรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่สามารถวางขายนากลับได้โดยไม่ต้องใช้ถุงพลาสติก และ

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรูจ้ ากงานวจิ ัยและผลงานสรา้ งสรรค์ ฉลากน้าพริกแปรูปในประเภทต่างๆ เพ่ือในมีเอกลักษณ์ของน้าพริกรสไทยไปใน ทิศทางเดียวกัน และแยกประเภทโดยการใช้ลวดลายสีสันที่แตกต่างกัน เพ่ือความ สะดวกในการเลอื กซือ้ ของผู้บริโภค ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ได้รูปแบบบรรจุภัณฑ์น้าพริกแปรรูป ที่สร้างเอกลักษณ์ให้แก่ชุมชน เพ่ือ เป็นการส่งเสริมการขาย และสามารถเพ่ิมมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้เกิดการ เพ่ิมกลุ่มผู้บริโภค เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนอีกทางหน่ึง และสามารถใช้เป็น แนวทางในการพฒั นารปู แบบบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ เพ่ือการขยายหรือตอ่ ยอด อีกท้ังเป็นการเผยแพร่ให้แก่ชุมชนข้างเคียง หรือผู้ที่สนใจการออกแบบบรรจุ ภัณฑเ์ พอ่ื ขยายวสิ าหกิจชุมชนในอนาคตต่อไป - 74 - ภาพที่ 1 การให้ความรู้เรือ่ งการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ภาพที่ 2 บรรจภุ ัณฑต์ น้ แบบ

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การสร้างมูลคา่ เพิม่ และการพัฒนาภมู ิปัญญาการทา กระยาสารทสมุนไพรปรงุ รสของกลมุ่ แมบ่ า้ นใน นา้ ทพิ ย์ วงษ์ประทปี คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถุประสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ - 75 - ผลิตภณั ฑก์ ระยาสารทนับเป็นผลิตภณั ฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค มคี ณุ ค่าต่อลกู หลานชาวไทย การรกั ษาองค์ความรู้ไว้คอื การสืบสานและพัฒนาต่อ ยอดภูมิปัญญา ซึ่งแนวคิดดังกล่าวได้รวมกับการลงพ้ืนที่ของนักวิจัยยังกลุ่ม แม่บ้านเกษตรรายชะโดร่วมใจ (กลุ่มแปรรูปกระยาสารท) ผู้ผลิตและจาหน่าย กระยาสารท ในเขตจังหวัดพิจิตร จึงเกิดแนวคิดที่จะการพัฒนาการใช้ประโยชน์ จากข้าวที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เป็นวัตถุดิบที่หาได้ในพ้ืนที่และราคาต้นทุนไม่ แพง เพ่อื นามาใชใ้ นกระบวนการผลิตกระยาสารทเพ่อื สง่ ออก ➢ ลักษณะเด่นของงานวิจัย การวิจัยที่เน้นการสร้างเอกลักษณ์ความแตกต่างในส่วนผสมของพันธุ์ และชนิดข้าวที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น รวมทั้งรสชาติ กลมกล่อมที่ไม่เหมือนกระยาสารทท้องถิ่นอื่น ผนวกกับการยกระดบั กระบวนการ ผลิตให้ได้มาตรฐาน และสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นให้ได้รับการยอมรับ ช่วยยกระดับมาตรฐานสินค้าให้สามารถแข่งขันได้ในเชิงธุรกิจได้ และสามารถ กระจายสินค้าที่เป็นภูมิปัญญาของคนไทยให้เป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ เกิดการ สร้างมูลค่าให้แก่อุตสาหกรรมข้าว ซึ่งมีบทบาทสาคัญต่อเศรษฐกิจนับเป็นภาค ส่วนที่มีความสาคัญต่อการพฒั นาท้ังทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทา ให้เกิดการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นและเพ่ิมศักยภาพของเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ตลอดจนระดับประเทศได้

สังเคราะห์ความรจู้ ากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ จากผลการศึกษาวิจัยที่ได้ ผู้วิจัยได้นาองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การแปรรูป ผลิตภัณฑ์กระยาสารทสมุนไพรเพ่ือเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์” ไปถ่ายทอดให้แก่กลุ่ม แม่บ้านเกษตรกรรายชะโด จังหวัดพิจิตร และกลุ่มแม่บ้านหนองกุลา จังหวัด พิษณุโลก ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ผลิตกระยาสารท โดยผู้วิจัยได้ถ่ายทอดเทคนิคและสูตร การผลิตกระยาสารทสมุนไพร พร้อมทั้งแนะนาการผลิตผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ ท้ังเรื่องของการเลอื กใชว้ ัตถุดิบ การเตรียมวตั ถดุ ิบ กระบวนการผลิต และบรรจุภัณฑ์ ซึ่งการการถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าว ทาให้กลุ่มสามารถสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ใหม่โดยการเพ่ิมมูลค่าทางโภชนาการ นอกจากน้ียังเป็นการพัฒนา รสชาติและเน้ือสัมผัสใหม่ๆ ให้กับผลิตภัณฑ์กระยาสารท จึงเป็นการช่วยส่งเสริม ให้พัฒนาความสามารถในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ เพ่ิมขีดความสามารถเชิงการ แข่งขันด้วยการเพ่ิมช่องทางการจัดจาหน่าย แต่ยังคงรักษาภูมิปัญญาดั้งเดิมไว้ ทาให้คนในชุมชนได้มโี อกาสได้รบั องคค์ วามรู้ใหม่ๆ ท่มี วี ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาพัฒนาอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ให้ดาเนินชีวิตอย่าง ยงั่ ยืนตอ่ ไป - 76 - สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook