Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RDI_SynKnowledge2560

RDI_SynKnowledge2560

Published by rdi, 2019-09-08 23:34:10

Description: RDI_SynKnowledge2560

Keywords: rdi,psru,synthesis,knowledge,thai version

Search

Read the Text Version

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 42 ผศ.ดร. น้าทิพย์ วงษ์ประทปี คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม เรือ่ ง การสร้างมูลคา่ เพิ่มและการพัฒนาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ การทา ข้าวทอดกรอบปรงุ รสสมุนไพร แนวคดิ หรือวัตถปุ ระสงค์ จากการลงพ้ืนที่และสารวจข้อมูล พบว่า ศูนย์เรียนรู้บ้านบาง กระน้อย ผู้ผลิตและจาหน่ายข้าวปลอดสารในเขตพิษณุโลก พันธ์ุข้าว หอมมันปู ข้าวไรซ์เบอรรี่ และข้าวหอมมะลิ 105 ส่วนศูนย์เรียนรู้กสิกรรม ธรรมชาติ เพ่ือขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผู้ผลิตและจาหน่าย ข้าวสารปลอดสารพิษในเขตจังหวัดพิจิตร พันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105 และ ข้าวหอมนลิ ซึง่ มีข้าวหลายพันธุ์ แต่ราคาค่อนข้างต่า และการจัดจาหน่าย ในรูปแบบข้าวสารมีคู่แข่งจานวนมาก จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาการใช้ ประโยชน์จากข้าวที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เป็นวัตถุดิบทีห่ าได้ในพ้ืนที่ และราคาต้นทุนไม่แพง เพ่ือนามาใช้ในกระบวนการผลิตข้าวเพ่ือการ แปรรปู เปน็ ผลิตภณั ฑ์ข้าวอบกรอบปรุงรส เพ่ือส่งออกข้าวแปรรูปคล้าย ลักษณะของข้าวเม่าของชาวเขา และข้าวอบกรอบปรุงรสพร้อม รับประทานโดยแนวคิดของการสร้างเอกลักษณ์เน้นความแตกต่างใน ส่วนผสมของพนั ธ์ุและชนิดข้าวที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และสมุนไพรที่ มใี นท้องถิ่นรวมทั้งรสชาติกลมกลอ่ มทีไ่ ม่เหมอื นแปรรูปข้าวอ่ืนๆ ที่มีของ ท้องถิ่นอ่ืนผนวกกับการยกระดับกระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน และ สร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นให้ได้รับการยอมรับช่วยยกระดับ

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 43 มาตรฐานสนิ ค้าให้สามารถแข่งขันได้ในเชงิ ธรุ กิจได้และสามารถกระจาย สินค้าทีเ่ ป็นภูมปิ ัญญาของคนไทยให้เป็นที่รู้จกั ของชาวตา่ งชาติ เกิดการ สร้างมูลค่าให้แก่อุตสาหกรรมข้าวซึ่งมีบทบาทสาคัญต่อเศรษฐกิจ นับเปน็ ภาคส่วนทีม่ ีความสาคัญต่อการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ ทาให้เกิดการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นและเพ่ิม ศักยภาพของเศรษฐกิจระดับภมู ภิ าคตลอดจนระดับประเทศได้ ลักษณะเด่นของงานวิจยั เป็นงานวิจัยที่ผ่านการศึกษาวิจัยอย่างมีระเบียบและแบบแผน ที่เริ่มจากการศึกษาชนิดและพันธุ์ข้าวในเขตภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ ข้าวหอมมันปู ข้าวไรซ์เบอรรี่ ข้าวหอมมะลิ 105 ข้าวหอมนิล และข้าวลืมผัว วธิ ีการแปรรปู ข้าวเพอ่ื ทาข้าวทอดอบกรอบ ชนิดของน้ามันที่ใช้ในการทอด ได้แก่ น้ามันปาล์ม น้ามันมะพร้าว และน้ามันปาล์มผสมน้ามันมะพร้าว (1:1) และการพัฒนารสชาติข้าวไทยทอดอบกรอบปรุงรสสมุนไพรด้วย ใบมะกรูด กระชาย กล้วย เผือก มันเทศ และขิง ที่มีผลต่อคุณภาพของการ แปรรูปเป็นข้าวไทยอบกรอบปรุงรสสมุนไพร จากนั้นตรวจสอบ วิเคราะห์ผลทั้งทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์และสรุปผลงานที่ได้ เ พ่ื อ จั ด เ ต รี ย ม ข้ อ มู ล สู ต ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม น า ไ ป ถ่ า ย ท อ ด เ ท ค โ น โ ล ยี สู่ กลุ่มเป้าหมาย การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ จากผลการศึกษาวิจัยที่ได้ ผู้วิจัยได้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ เกี่ยวกับ “การแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวอบกรอบสมุนไพร” ให้แก่หมู่บ้าน บางกระนอ้ ยหมทู่ ี่ 2 ตาบลนครป่าหมาก อาเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 44 และศูนย์เรียนรู้กสิกรรมธรรมชาติ เพ่ือขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงหมู่ 2 ตาบลสายคาโห้ อาเภอเมือง จังหวัดพิจิตรซึ่งเป็นผู้ผลิต ข้าวปลอดสารอาหารปลอดภัย เพ่ือนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของ กลุ่มที่มากด้วยคุณค่าทางโภชนาการ เพื่อการจาหน่ายเชงิ พาณิชยต์ อ่ ไป ซึ่งการการถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าว ทาให้กลุ่มสามารถ สร้างสรรค์ผลิตภณั ฑ์ใหม่ ด้วยการเพม่ิ คุณค่าทางโภชนาการ นอกจากน้ี ยังเป็นการพัฒนารสชาตแิ ละเน้ือสัมผัสใหม่ๆ ให้กับผลิตภัณฑ์ข้าวอบกรอบ จึงเป็นการช่วยส่งเสริม ให้พัฒนาความสามารถในการสร้างผลิตภัณฑ์ ใหม่ เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน เพ่ิมช่องทางการจัดจาหน่าย ขณะยังคงรักษาภูมิปัญญาดั้งเดิมไว้ ทาให้คนในชุมชนได้มีโอกาสได้รับ องค์ความรู้ใหม่ๆ ที่มีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาพัฒนาอาชีพและ ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชุมชน ให้ดาเนินชวี ติ อยา่ งยงั่ ยืนตอ่ ไป รูปที่ 1 ผู้วจิ ัยถ่ายทอดการผลติ ขา้ วอบกรอบสมุนไพรแก่ผู้ที่สนใจ

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 45 ผศ.ดร.สภุ าวดี แหยมคง คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร E-mail : [email protected] เรือ่ ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความหลากหลายของลักษณะภายนอก ของไก่พ้ืนเมอื ง ในพนื้ ทีจ่ ังหวดั พิษณุโลก แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ ควรให้ความสาคัญและความจาเป็นของการส่งเสริมและ อนุรักษ์สายพันธ์ุไก่พ้ืนเมืองที่มีความหลากหลายของลักษณะภายนอก ตามอดุ มทศั นีย์ที่แตกต่างกันไป ตามความแตกตา่ งของปัจจยั ที่เกีย่ วข้อง รูปที่ 1 ลักษณะไก่พนั ธ์ุเหลอื งหางขาว รปู ที่ 2 ลกั ษณะไก่ตอ่ ไก่ตง้ั ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจัย การศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความหลากหลายของ ลกั ษณะภายนอกของไก่พืน้ เมอื ง ในจังหวัดพิษณโุ ลก

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 46 การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ เป็นข้อมูลที่จะช่วยนาไปวางแผนการผลิต และส่งเสริม เกษตรกรให้สามารถเลี้ยงไก่พ้ืนเมืองได้อย่างเหมาะสม และสามารถนา ความรู้ที่ได้จากการวจิ ัยไปพัฒนาพันธ์ุเพ่ือเป็นอาชีพในท้องถิ่นและเลี้ยง ตนเองได้ต่อไป รปู ที่ 3 ลกั ษณะหางของไก่พ้ืนเมอื ง รปู ที่ 4 ลกั ษณะของปีกไก่พ้ืนเมอื ง รปู ที่ 5 ลักษณะใบหนา้ ของไกพ่ ้ืนเมอื ง

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 47 ผศ.ดร.อนงค์ ศรีโสภา*, ผศ.ดร.ประกรณ์ เลิศสวุ รรณไพศาล, ผศ.ดร.วษิ ณุ ธงไชย และดร.กาญจนา วงศ์กระจ่าง *คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี *E-mail : [email protected] เรือ่ ง สารสกัดดอกดาวเรืองจากภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ สนู่ วัตกรรม ลดริว้ รอย แนวคิดหรือวัตถุประสงค์ ดาวเรือง (Marigold) เป็นไม้ดอกที่คนไทยรู้จักกันดี นิยมปลูก ประดับสวนหน้าบ้าน เน่ืองจากปลูกง่าย โตเร็ว และมีสีสันสดใสสะดุดตา ดอกดาวเรืองนอกจากจะมีประโยชน์ใช้ทามาลัย และจัดแจกันแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพืชสมุนไพรสาหรับการรักษาโรคผิวหนังและบารุง ผิวพรรณได้อีกด้วย เพ่ือทาการศึกษาฤทธิ์ทางเคมีและชีวภาพของสาร สกดั ดอกดาวเรือง จึงได้ทาการสกัดสารออกฤทธิ์จากดอกดาวเรืองโดย ใชเ้ ทคนิคการสกัด 3 เทคนิค ได้แก่ การสกัดแบบแช่หมัก การสกัดด้วย ไมโครเวฟ และการสกัดด้วยอัลตราโซนิค และศึกษาฤทธิ์การต้านการ เจริญเติบโตของแบคทีเรีย ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดดอก ดาวเรือง เพื่อตอ่ ยอดในการพัฒนาเปน็ ผลิตภัณฑ์ลดรวิ้ รอย ลกั ษณะเด่นของงานวิจยั จากการศึกษาพบว่าในเวลาที่เท่ากัน เทคนิคการสกัดโดยใช้ ไมโครเวฟให้ปริมาณสารสกัดหยาบมากที่สุด นอกจากน้ียังพบว่าสาร สกัดจากดอกดาวเรืองมฤี ทธิต์ ้านแบคทเี รีย แกรมบวก ได้แก่ S. aureus,

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 48 S. epidermidis, B. subtilis และต้านแบคทีเรียแกรมลบ ได้แก่ P. aeruginosa ได้ดี สารสกัดที่ได้มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดี เน่ืองจากมีปริมาณฟีนอลิก และฟลาโวนอยด์โดยรวมสูง ซึ่งมีประโยชน์ช่วยลดริ้วรอยและทาให้ ผิวหนังดอู อ่ นวยั และยังสามารถปอ้ งกนั ผิวหนงั จากรงั สียูวไี ด้ดี รูปที่ 1 ดอกดาวเรืองที่ใชใ้ นการสกัด (ซ้าย) และกลีบดอกดาวเรืองแหง้ (ขวา) การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ เน่อื งจากดอกดาวเรืองมีสารออกฤทธิ์ทางเคมีและทางชีวภาพ ที่มีประโยชนต์ อ่ ผิวหนัง ช่วยทาให้ผิวมีสุขภาพดีและอ่อนวัย ซึ่งสามารถ เตรียมได้ง่าย ใชไ้ ด้ในทุกครัวเรือน เพียงแค่นาดอกดาวเรืองสดหรือแห้ง แช่ในเอทานอล อาจแช่ทิ้งไว้เป็นเวลา 2 – 3 สัปดาห์ หรือแช่ในน้า บริสุทธิ์แล้วให้ความร้อนอย่างน้อย 10 นาที โดยใช้เตาไมโครเวฟจะทาให้ ได้สารสกดั ที่มีสารออกฤทธิท์ ี่มีคุณประโยชนส์ งู นาไปตอ่ ยอดพัฒนาเป็น ผลิตภณั ฑบ์ ารุงผิวต่าง ๆ เช่น บาล์ม ยาหม่อง สเปรย์น้าฉีดผิวหน้าและ

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 49 ผิวกาย ให้ความชุ่มชน่ื บรรเทาอาการระคายเคืองต่อผิว แก้ผื่นคัน หรือ นาไปผสมในครมี หรือโลช่ันทาบารงุ ผิวพรรณเพ่อื ช่วยลดริว้ รอยได้ รปู ที่ 2 ลกั ษณะเน้ือครีมธรรมดาและครมี จากสารสกัดดอกดาวเรือง รปู ที่ 3 สาธติ การทาผลิตภณั ฑ์จากดอกดาวเรืองให้กับกลุ่มผผู้ ลิต ไมด้ อกไม้ประดับ ณ บา้ นคลองวัดไร่ ต.บางระกา อ.บางระกา จ.พษิ ณุโลก

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 50 นางสาวธญั ญาพร มาบวบ*, ผศ.บุษบา หินเธาว์, นางสาวณีรนุช ประเข, และนางสาวศริ ิวรรณ แก้วสขุ *สานกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม *E-mail: [email protected] เรื่อง การวิเคราะห์การดารงอยู่ของพิธีกรรมเย้ืองของชาวไทยทรงดา บ้านบวั ยาง อาเภอวชิรบารมี จงั หวดั พิจิตร แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ จากข้อมลู ของสานักพฒั นาวิชาการและการจัดการความรู้และ สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติปี 2558 ระบุสถานการณ์ด้าน ระบบสขุ ภาพของประเทศไทยในปัจจุบันว่า โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว โดยพบว่ามีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อระบบสุขภาพของประชาชน เพราะระบบสุขภาพคือความสัมพันธ์ของกาย จิตใจ ปัญญา และสังคม ที่เช่ือมโยงกันอย่างสมดุล และปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพหรือความ เจ็บป่วยบางทีไม่ได้อยู่ที่การติดเช้ือโรคทั้งหลายแต่อาจเกิดจากสิ่งที่ ไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งแพทย์หาสาเหตุของการป่วยของคนป่วยไม่ได้ แต่ชาว ไทยทรงดามีการค้นหาสาเหตุของการเจ็บป่วยได้หลังจากปรึกษาจาก แพทย์แผนปัจจุบันรักษาแล้วไม่หายโดยใช้พิธีกรรมเย้ือง เป็นพิธีกรรม ตามอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธ์ุตนเอง ซึ่งการศึกษาการดารงอยู่ของ พธิ ีกรรมเย้ืองของชาวไทยทรงดา จะทาให้ทราบถึงการสืบสาน อนุรักษ์ พธิ ีกรรมดังกล่าว ให้คงอยกู่ ับชาติพันธ์ุต่อไป อีกท้ังสาธารณสุขชุมชนจะได้ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ แ น ว ท า ง ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ข อ ง ก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 51 ในชุมชน เพ่ือจะได้เป็นแนวทางการดูแลประชาชนให้สอดคล้องกับแผน ความเชอ่ื ดา้ นสขุ ภาพของชุมชน ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจัย เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ที่ทาให้ได้ข้อสรุปถึงการดารงอยู่ของ พธิ ีกรรมเย้ืองของชาวไทยทรงดาที่มีต่อพิธีกรรมที่ให้ความอบอุ่นทางใจ เชอ่ื มนั่ เรื่องการรกั ษาอาการของโรคท่แี พทยแ์ ผนปัจจบุ นั รกั ษาไม่หาย การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ด้านเชิงนโยบาย ในการบริหารจัดการด้าน สาธารณสุขชุมชน ให้สอดคลอ้ งกบั ความเช่อื ดา้ นสขุ ภาพของชมุ ชน รปู ที่ 1 หมอเย้อื งทาการบริกรรมคาถาพิธีกรรมการเย้อื ง

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 52 ผศ.บุษบา หินเธาว์ คณะวิทยาการจัดการ E-mail: [email protected] เรื่อง การส่ือสารแบบมีส่วนร่วมเพ่ือโน้มน้าวใจให้ชาวนาใช้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง กรณีศึกษา : บ้านหนองกรับ ต.หนองกลุ า อ.บางระกา จ.พษิ ณโุ ลก แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ แนวทางการทานาแบบเปียกสลับแห้งหรือการแกล้งข้าว เปน็ วธิ ีการทานาทไ่ี ด้รับการสนบั สนุนจากกรมชลประทานว่าสามารถ ลด การใชน้ า้ ขณะเดียวกันสามารถเพม่ิ ผลผลิตได้มากขึ้นเหมาะสาหรับพ้ืนที่ที่ ติดคลองชลประทาน หรือมีบ่อน้าเป็นของตนเอง และต้องการทานาใน ฤดูแล้ง แตเ่ นอ่ื งจากชาวนาส่วนใหญ่เคยชินกับการปลูกข้าวแบบปกติที่ขัง นา้ ในนาจนกระทัง่ จะเก็บเกี่ยวถึงปล่อยน้าออกจากนา ซึ่งการทาเช่นน้ัน ทาให้น้าไปเลี้ยงต้นข้าวทาให้ต้นสูงและล้มง่าย และออกรวงไม่สม่าเสมอ อกี ท้ังยังสนิ้ เปลอื งนา้ การทานาแบบเปียกสลบั แห้งจะแกล้งข้าวโดยปล่อยต้น ข้าวขาดน้าในช่วงที่ต้นข้าวแตกกอ ซึ่งเป็นช่วงที่เหมาะสมเพ่ือเป็นการ กระตนุ้ ให้รากข้าวดูดซบั ธาตุอาหารดีย่ิงขึ้นและทาให้ ลาต้นข้าวแข็งแรง จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว แตกกอดีได้ผลผลิตมากขึ้นและ ประหยัดปุ๋ย แต่ชาวนาน้อยคนนักจะมีความรู้ในการทานาลักษณะน้ี บางคนรับรู้ข่าวสารมาแต่ไม่กล้าลองปฏิบัติจึงเกิดเป็นงานวิจัยเรื่อง การ ส่ือสารแบบมีส่วนร่วมเพ่ือโน้มน้าวใจให้ชาวนาใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง กรณีศึกษา: บ้านหนองกรับ

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 53 ต.หนองกุลา อ.บางระกา จ.พษิ ณุโลก โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือศึกษากลยุทธ์ การส่ือสารเพ่ือโน้มน้าวใจ ให้ชาวนาทานาแบบเปียกสลับแห้งโดยผ่าน กระบวนการสอ่ื สารแบบมสี ่วนร่วม ลักษณะเด่นของงานวิจัย เปน็ งานวิจยั เชงิ คณุ ภาพ เปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอยา่ งมีสว่ นร่วม ในการวิจยั และมีการปฏบิ ัตทิ าแปลงสาธติ ให้ชาวนาได้เห็นผลจริง และ ได้ผลออกมาเปน็ แผนกลยทุ ธ์การสื่อสารเพอ่ื โน้มนา้ วใจให้ชาวนาทานา แบบเปียกสลับแห้ง การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ใช้ประโยชน์ด้านเชิงนโยบาย ในการบริหารจัดการการผลิตข้าวให้ ได้ผลผลิตสูงและประหยดั น้า ใช้ประโยชน์ด้านสังคมและชุมชน มีการรวมกลุ่มทากิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน รูปที่ 1 ภาพชาวบ้านหนองกลบั มาร่วมฟังการบรรยายจากผู้ใหญ่บ้าน เรือ่ ง การทานาแบบเปียกสลบั แห้ง

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 54 รศ.ดร.สุขแกว้ คาสอน คณะครศุ าสตร์ E-mail: [email protected] เรือ่ ง การพัฒนาความสามารถด้านการวิจัยของนักศึกษาครู มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม จังหวดั พิษณุโลก แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือเป็นแนวทางหรือวิธีการสาหรับอาจารย์หรือผู้สอนในการ จัดการเรียนการสอน หรือพัฒนาความรู้ความสามารถในรายวิชาการ วิจัยทางการศึกษาหรือวิชาอ่ืนๆ เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ความสามารถและทักษะด้านการวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ สามารถปฏบิ ัตกิ ารทาวิจยั ได้ ลักษณะเด่นของงานวิจยั เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาความสามารถด้านการ วิจัยของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก มีจุดมุ่งหมายเพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถ ความคิดเห็น พัฒนา ฝึกปฏิบัติและประเมินความสามารถด้านการวิจัยของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มเป้าหมายคือ นักศกึ ษาชน้ั ปีที่ 1 สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ จานวน 50 คน และนักศกึ ษาชนั้ ปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จานวน 30 คน ปีการศึกษา 2555 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ในการวิจัยคร้ังน้ีมี 4 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาความสามารถด้านการวิจัยของนักศึกษาครูก่อน เข้าร่วมโครงการ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาความสามารถด้านการวจิ ยั ของ

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 55 นักศกึ ษาครู ข้ันตอนที่ 3 การฝึกปฏิบัติด้านการทาวิจัยของนักศึกษาครู และขั้นตอนที่ 4 การประเมินความสามารถดา้ นการวจิ ยั ของนักศกึ ษาครู การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ 1. การจัดการเรียนการสอนวิชา การวิจัยทางการศึกษาหรือ รายวิชาท่ัวไป ผู้สอนควรมีการทดสอบความรู้ของผู้เรียนทั้งก่อนและ หลังการสอนท้ังนเี้ พอ่ื จะได้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงการทดสอบความรู้ของผู้เรียนก่อนการจัดการเรียนการสอนเน้ือหา ด้านการวิจัย ผลการสอบจะทาให้ผู้สอนทราบความรู้พ้ืนฐานหรือพ้ืน ความรู้เดิมของผู้เรียนแต่ละคนและท้ังกลุ่มว่ามีมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะ เป็นประโยชน์ต่อผู้สอนนาข้อมูลสารสนเทศดังกล่าวไปใช้ในการวาง แผนการจัดการเรียนการสอนต่อไปทั้งกระบวนการสอน ส่ือการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนรวมไปถึงกระบวนการวัดผลและประเมินผล ส่วนการการทดสอบหลงั การสอนหรือการพัฒนา ข้อมูลสารสนเทศที่ได้ กจ็ ะทาให้ผู้สอนได้ทราบพัฒนาการของผู้เรียนแต่ละคนหรือทั้งกลุ่มว่ามี การพัฒนาขึ้นมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการปรับปรุง เทคนิคหรือกระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชา การวิจัยทาง การศึกษาสาหรบั ผู้เรียนรุ่นตอ่ ไป 2. การจัดการเรียนการสอนรายวิชาการวิจัยทางการศึกษา หรือวิชาทั่วไปในการจัดการเรียนการสอนควรยึดผู้เรียนเป็นสาคัญโดย ให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในการวางแผนการจดั การเรียนการสอนในการแสดง ความคิดเหน็ ให้ขอ้ เสนอแนะท้ังด้านชว่ งเวลาเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน ใบงานหรือการแบ่งกลุ่มทากิจกรรม เกีย่ วกับขนาดของกลุ่มจานวนคนภายใน กลุ่มควรมจี านวนพอเหมาะประมาณ 5 – 7 คน หากนอ้ ยหรือมากเกินไปจะ

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม 56 ทาให้งานดาเนินไปไม่ราบรื่นและผลงานอาจจะไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร และในการเลือกสมาชิกกลุ่มควรให้เสรีภาพผู้เรียนในการสมัครใจและ แนะนาผู้เรียนให้มีการแบ่งหน้าที่ในการทางานกลุ่มเพ่ือทุกคนจะได้ รับผิดชอบตามบทบาทและหน้าที่ของตนเอง อันจะส่งผลต่อคุณภาพงาน ของกลุ่ม 3. การจัดการเรียนการสอนในรายวิชา การวิจัยทางการศึกษา ควรมที ั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ สาหรับภาคทฤษฎี ควรแบ่งสัดส่วนใน ปริมาณที่เหมาะสมเท่า ๆ กัน สาหรับภาคทฤษฎี ในการจัดการเรียน การสอนแต่ละครั้งปริมาณเนือ้ หาวชิ าควรเหมาะสมกับระยะเวลาในการ สอนโดยให้พิจารณาถึงระดับความยากง่ายของเน้ือหาวิชาประกอบกับ การพิจารณาถึงระดับสติปัญญาของผู้เรียนในกลุ่มนั้นๆ ซึ่งอาจ พิจารณาจากคะแนนผลการสอบก่อนสอน และในกระบวนการจัดการ เรียนการสอนควรให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในการอภิปราย ซักถามหรือแสดง ความคิดเห็น และเม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละคร้ังควรมีใบงาน หรือการบ้านให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมหรือฝึกคิดค้นแก้ปัญหา ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเพ่มิ มากขึน้ ส่วนในภาคปฏิบัติ ซึ่ง ถือว่ามีความสาคัญอย่างย่ิงเพราะเม่ือผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับ เทคนิคกระบวนการวิจัยแล้วผู้เรียนต้องได้นาความรู้ลงสู่ภาคปฏิบัติจริง ในภาคสนาม จะทาให้ผู้เรียนมีทั้งองค์ความรู้ และทักษะด้านการวิจัย สาหรับสถานการณ์การลงมือปฏิบัติจริง ด้านการวิจัยควรจัดให้ผู้เรียน ลงภาคสนามหรือทาวิจัยร่วมกับชุมชนท้ังการฝึกให้ผู้เรียนร่วมวิเคราะห์ ปญั หาหรอื คน้ หาปัญหาวิจยั จากชมุ ชน วิเคราะห์ขอ้ มลู และเขียนรายงาน การวจิ ยั ให้ครบทกุ ขั้นตอนของการวจิ ัย

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 57 อาจารย์จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรื่อง การจัดการและพัฒนาองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทาผ้า หมอ้ หอ้ มของชาวไทยพวน เพ่อื พฒั นาวิสาหกิจชุมชนจงั หวัดแพร่ แนวคิดหรือวัตถุประสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาภมู ิปัญญาท้องถิน่ และกระบวนการถ่ายทอดการทาผ้า หม้อห้อมของชาวไทยพวน รวมทั้งเพ่ือพัฒนากระบวนการผลิต การ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าหม้อห้อมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของ ชาวไทยพวนเชอ่ื มโยงไปสู่การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน รปู ที่ 1 การลงพ้ืนที่สารวจความตอ้ งการและความเป็นไปไดใ้ นการ พัฒนารปู แบบผลิตภัณฑ์ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย งานวิจัยเชิงบูรณาการองค์ความรู้จากภูมิปัญญามาต่อยอด เป็นผลิตภณั ฑ์ในเชงิ พาณิชย์ ตามทฤษฏีเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทาให้เกิด

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 58 สินค้าทางวัฒนธรรมเป็นการสร้างมูลค่าของภูมิปัญญาในรูปธรรมจับ ตอ้ งได้และตรงตามความตอ้ งการของกลมุ่ วสิ าหกิจชุมชน รูปที่ 2 ดาเนนิ การสร้างตน้ แบบผลิตภณั ฑป์ ระเภทเส้ือผ้า การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ การนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าหม้อห้อมที่พัฒนาขึ้นจากพ้ืนฐาน องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมกับความนิยมของสมัยนิยม เพ่ือให้ เกิดสัญลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ จนเกิดรูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่ หลากหลายและถ่ายทอดสู่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเป็นทางเลือกของการ ผลิตจาหน่ายเกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ สร้างงานสร้างอาชีพเป็น รายได้สู่ชุมชนเพอ่ื ชุมชนเข้มแขง็ และย่ังยืน

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 59 รปู ที่ 3 ดาเนนิ การสร้างตน้ แบบผลิตภัณฑป์ ระเภทเครอ่ื งแต่งกาย และของทีร่ ะลึก

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 60 อาจารย์สุภาวดี น้อยน้าใส คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรื่อง ความหลากหลายทางรากวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่อื การพัฒนาการท่องเที่ยวเชงิ ประวัตศิ าสตร์สกู่ ารอนุรักษอ์ ย่างย่งั ยนื แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ จั ง ห วั ด พิ ษ ณุ โ ล ก ไ ม่ มี ก า ร จั ด ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ค ว า ม หลากหลายทางรากวฒั นธรรมอาจทาให้ขอ้ มลู เหลา่ นีส้ ูญหายไปได้ วิจัย น้ี จึ ง มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ ส า ร ว จ ข้ อ มู ล ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ร า ก วฒั นธรรม “ของดบี ้านฉัน” และภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจยั การสร้างนวัตกรรมจากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีศักยภาพในการ นาไปสู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ในชุมชน เพ่ือเพ่ิมคุณค่าทางสังคมและ เพม่ิ มูลคา่ ทางเศรษฐกิจ การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ นาข้อมูลที่ได้มาสร้างนวัตกรรมใหม่และพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงเป็นการประชาสัมพันธ์ของสานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดในการจัดกิจกรรมถนนสายวัฒนธรรม ในหัวข้อ “วิถี ชุมชน คนพิษณุโลก” ตลอดจนพัฒนาเป็นเส้นทางการท่องเที่ยวด้วย ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ โดยการประชาสัมพันธ์ลงโซเชียลมีเดียและ เป็นแหล่งเรียนรตู้ อ่ ไปในอนาคต

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 61 รปู ที่ 1 กจิ กรรมการสนทนากลมุ่ ย่อยเพอ่ื สรุปบทเรียน การมสี ่วนร่วมแบบบรู ณาการ รปู ที่ 2 วสิ าหกิจชมุ ชนกลุ่มเย็บผ้ากระเป๋า อ.บางกระทุ่ม จ.พษิ ณุโลก

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 62 อาจารย์ ดร.สพุ ัตรา บดีรัฐ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรื่อง การสารวจชนิดและคัดเลือกราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาที่ สัมพนั ธ์กบั ข้าวฟา่ งหวาน แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ งานวิจัยน้ีต้องการสารวจชนิดและคัดเลือกราอาร์บัสคูลาร์ ไมคอร์ไรซาชนดิ เด่นที่สมั พันธ์กับข้าวฟา่ งหวาน ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจัย ยังไมม่ ขี ้อมูลหรือการรายงานเกี่ยวกบั ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา ที่สมั พนั ธ์กบั ข้าวฟา่ งหวานในประเทศไทยมาก่อน การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ข้อมูลจากงานวิจัยสามารถใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานสาหรับผู้ที่ ต้องการปลูกข้าวฟ่างหวานอินทรีย์หรือผู้ที่ต้องการผลิตปุ๋ยชีวภาพชนิด ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาในการช่วยเพ่ิมผลผลิตและลดต้นทุนในการ ปลูกข้าวฟ่างหวาน โดยการใช้ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาชนิดเด่น คือ Acaulospora sp. ที่พบในดินบริเวณรอบรากข้าวฟ่างหวานท้ัง 4 สายพันธ์ุ ได้แก่ พันธ์ุ KKU40 Suwan-Sweet Sugar-T และ Urja ท้ังในฤดูฝนและ ฤดูแล้ง ซึ่งราชนิดน้ีพบในแปลงปลูกของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีการปลูกข้าวฟ่างหวานมายาวนานมากกว่า

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 63 10 ปี ในอนาคตข้าวฟ่างหวานอาจเป็นพืชพลงั งานทางเลือกที่มีศักยภาพ ในการนาไปผลิตเป็นเอทานอลได้ รปู ที่ 1 ลกั ษณะของตน้ ขา้ วฟ่างหวาน รปู ที่ 2 การเกบ็ ตวั อยา่ งดินและรากเพอ่ื ตรวจหาสปอร์ ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม 64 รปู ที่ 3 การร่อนสปอร์ รปู ที่ 4 สปอร์รา Acaulospora sp. ใตก้ ล้องจุลทรรศน์

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 65 อาจารย์ธญั ญาพร ก่องขันธ์ คณะครุศาสตร์ E-mail: [email protected] เรือ่ ง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง ปัญหา สังคมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์และความพึงพอใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ พบิ ลู สงคราม แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ เปน็ แนวทางสาหรบั ผู้สอนในการพฒั นากิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับการวิจัยเชิง ปฏบิ ัตกิ ารในเนอื้ หาวชิ าอืน่ ๆ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ในรายวิชามนุษย์กับสังคม และเปน็ แนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสอนในรายวิชาศึกษาทั่วไป โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สาหรับ นกั วจิ ยั ทางการศกึ ษาตอ่ ไป ลกั ษณะเด่นของงานวิจยั เป็นงานวิจัยเชิงทดลองเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้การ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนปัญหาเป็นฐานของผู้เรียนก่อนเรียนและหลัง เรียน เพ่อื ให้ได้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับ

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 66 ผู้เรียนในการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน และเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนของผู้สอน การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดการเรียนการสอน การบริหาร จัดการสอ่ื และสิง่ สนบั สนุนการเรียนการสอน ในการพัฒนาคุณภาพการ จัดการเรียนการสอนในรายวิชาศึกษาท่ัวไป และเพ่ือใช้เป็นข้อมูล พ้ืนฐานสาหรับการศึกษาและพฒั นารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน การส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในรายวชิ าศึกษาทั่วไปของผู้เรียนต่อไปเพ่ือให้ได้ ความรู้ทีล่ กึ ซึง้ เป็นประโยชนย์ ง่ิ ขนึ้ รปู ที่ 1 ลงพ้ืนที่ชมุ ชนเป้าหมายเพอ่ื การศึกษาข้อมลู พ้ืนฐาน ด้านสภาพและปญั หาในชุมชน

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 67 รปู ที่ 2 นาเสนอข้อมลู ดา้ นสภาพและปญั หาในชมุ ชน และร่วมกันเสวนาแนะแนวทางการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ รปู ที่ 3 นาเสนอผลงานทีไ่ ด้ลงมอื ปฏบิ ตั แิ ก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์และ ร่วมกันประเมินผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 68 อาจารยธ์ ิปไตย สนุ ทร คณะครศุ าสตร์ E-mail: [email protected] เรื่อง การศึกษาและการอนุรักษ์เพลงพ้ืนบ้านตาบลพลายชุมพล อาเภอเมอื ง จงั หวัดพษิ ณุโลก แนวคดิ หรือวัตถุประสงค์ การศึกษาและอนุรักษ์เพลงพ้ืนบ้านตาบลพลายชุมพล มีแนวคิด และวัตถุประสงค์ เพ่ือเป็นการศึกษาประวัติความเป็นมาและรวบรวม เพลงพ้ืนบ้านที่ยังมีการร้องในตาบลพลายชุมพล และนาเพลงพ้ืนบ้านที่ รวบรวมได้ไปวิเคราะห์ลักษณะทางดนตรีเพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างเพลงพ้ืนบ้านกับวิถีชีวิตของคนในสังคมซึ่งเป็นอัตลักษณ์ เฉพาะถิ่นของชาวตาบลพลายชุมพล อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อการ อนุรักษ์ภูมิปัญญา วรรณกรรม มุขปาฐะที่กาลังจะหายไปจากตาบล พลายชุมพลให้คงไว้ถึงลูกหลานและเป็นข้อมูลเพลงพ้ืนบ้านให้กับชุมชน หนว่ ยงานภาครัฐ และผู้ที่ต้องการจะศึกษาเพลงพ้ืนบ้านตาบลพลายชุม พล อาเภอเมอื ง จงั หวัดพษิ ณุโลก ต่อไป รูปที่ 1 ลงพ้นื ที่ทาความเข้าใจเกี่ยวกับการเกบ็ ขอ้ มูลเพลงพนื้ บ้าน

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 69 รปู ที่ 2 การบันทึกเสียงร้องเพลงพ้ืนบ้าน รูปที่ 3 ภาพบคุ คลทใ่ี ห้ขอ้ มลู ร้องเพลงพนื้ บ้าน ลักษณะเด่นของงานวิจัย ในปจั จบุ ันเพลงพนื้ บ้านในตาบลพลายชุมพล กาลังจะสูญหาย เน่ืองจากยังไม่มีผู้สืบทอดการร้องและไม่มีการจดบันทึกรวบรวมไว้เป็น ลายลักษณ์อักษร ผู้วิจัยจึงได้ทาการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิง คณุ ภาพ โดยเกบ็ ขอ้ มลู จากภาคสนามจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเป็น หลักเพ่ือศึกษาประวัติความเป็นมาและรวบรวมเพลงพ้ืนบ้าน พร้อมทั้ง บันทึกเสียงการร้อง บันทึกโน้ตและเน้ือเพลงเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 70 นามาวิเคราะห์ลักษณะทางดนตรีเพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพลง พ้ืนบ้านกับวถิ ีชีวิตของคนในสังคมตาบลพลายชุมพล การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ผู้วิจัยได้ทาการจัดทาซีดีเสียง (CD Audio) การร้องเพลงพ้ืนบ้าน ตาบลพลายชุมพล พร้อมทั้งจัดทารูปเล่มรายงานวิจัยเพ่ือเผยแพร่ให้ หน่วยงานภาครัฐและผู้ที่เกี่ยวข้อง อาทิ องค์การบริหารส่วนตาบล พลายชุมพล โรงเรียนบ้านพลายชุมพล ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบิ ูลสงคราม ผู้นาชุมชนแต่ละชุมชนในตาบลพลายชุมพล เพ่ือเป็นข้อมูล ให้ผู้ทีส่ นใจในเพลงพืน้ บ้านตาบลพลายชมุ พลได้ศึกษาต่อไป รูปที่ 4 การสาธิตการแสดงการร้องเพลงพนื้ บ้าน

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 71 ผศ.พรชยั ปานทุ่ง คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม E-mail: [email protected] เรื่อง งานการประยุกต์ใช้ปูนปลาสเตอร์เส่ือมสภาพจากการผลิต เซรามิกส์ มาพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑอ์ ฐิ ประดบั แนวคิดหรือวัตถุประสงค์ นาวสั ดุทีเ่ หลือใช้จากกระบวนการผลิตภัณฑ์เซรามิกส์มาใช้ให้ เกิดประโยชนส์ ูงสดุ เป็นการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติมาใชป้ ระโยชน์ให้ มากทส่ี ดุ และเป็นตัวเลอื กให้กบั สถานประกอบการที่สนใจวัสดุทดแทน ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย 1. องค์ความรู้ด้านการนาปูนปลาสเตอร์ที่เส่ือมสภาพจาก กระบวนการผลิตเซรามกิ ส์มาพัฒนาเปน็ รูปแบบอฐิ ประดับ 2. รูปแบบของอิฐประดบั สาหรบั การตกแต่งอาคารบ้านเรือน 3. ผลจากการพัฒนาสูตรส่วนผสมทาให้มีอัตราส่วนที่ เหมาะสมกับการนามาผลิตอิฐประดับโดยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน ผลิตภณั ฑค์ อนกรีต (มอก. 59 - 2516) การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 1. การศึกษาหาอัตราส่วนผสมเป็นอย่างระบบ และข้ันตอนที่ เหมาะสมจึงเหมาะกับผู้ประกอบการ นาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่รับ น้าหนักมากเกินไปเช่น ทากระถาง หรือผลิตภัณฑ์ตกแต่งอาคารบ้าน เปน็ ต้น

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 72 2. รูปแบบผลิตภัณฑ์สามารถตอบสนองกับผู้บริโภคจากการ ประเมินความพึงพอใจ จึงเป็นแนวทางในการผลิตเพ่ือส่งเสริมรายได้อีก แนวทางหนึง่ 3. ผู้ประกอบการสามารถนาขอ้ มลู จากการค้นคว้าผลการวิจัย น้ีไปเป็นแนวทางในการพัฒนาโดยการผสมวัตถุดิบอ่ืนๆ ทดแทน เนอ่ื งจากปนู ปลาสเตอร์ที่เสอ่ื มสภาพแล้ว 4. ข้อมูลในวิจัยน้ียังสามารถใช้ในเชิงวิชาการ ในด้านการ ทดสอบคุณสมบัติกายภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลของวัตถุดิบ แนวคิดและ รปู แบบผลิตภัณฑ์ ภาพที่ 1 แสดงแนวคิดจากธรรมชาติ

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 73 ภาพที่ 2 แสดงแนวคิดจากรปู ทรงนามธรรม ภาพที่ 3 แสดงแนวคิดจากรูปทรงเรขาคณิต

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 74 อาจารย์สริ ิเดช กลุ หิรัญบวร คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม E-mail: [email protected] เรือ่ ง การพัฒนาเครื่องอัดแก๊สชีวภาพขนาดเล็กสาหรับใช้ใน ครัวเรือน แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ งานวิจัยน้ีจึงนาเสนอการพัฒนาเครื่องอัดแก๊สชีวภาพให้ สามารถปรับปรุงคุณภาพของแก๊สชีวภาพก่อนที่จะบรรจุลงถังเก็บแก๊ส ปิโตรเลียม ขนาดถังบรรจุน้าหนักแก๊ส 15 กิโลกรัม (ขนาดบรรจุความดัน ไม่เกิน 480 psi) ซึ่งมีใช้ทั่วไปในภาคครัวเรือน โดยมุ่งศึกษาการลด ปริมาณแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หลังจาก แก๊สชีวภาพผ่านเครอ่ื งอดั แก๊สชีวภาพ ซึง่ ช่วยลดปัญหาในเรื่องมลภาวะ ทางอากาศได้ส่วนหน่ึง อีกท้ังลดปัญหาปริมาณแก๊สชีวภาพที่ผลิต ได้มากเกินหรือน้อยเกินในภาคครัวเรือน ส่งผลให้เกิดความยั่งยืนในการใช้ พลังงานทดแทนต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาเครื่องอัดแก๊ส ชีวภาพขนาดเล็กสาหรับใช้ในครัวเรือนให้สามารถปรับปรุงคุณภาพแก๊ส ชวี ภาพ ด้วยวธิ กี ารลดปริมาณแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และลดปริมาณ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ทีม่ ีในแก๊สชีวภาพ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย การพัฒนาสร้างเครื่องอัดแก๊สชีวภาพ ที่สามารถใช้ได้จริงและ ปลอดภัย ในภาคครัวเรือนทาให้สามารถเก็บแก๊สชีวภาพที่ผลิตได้ไว้ในถัง เก็บแก๊สปิโตรเลียม ขนาดความจุน้าหนักแก๊ส 15 กิโลกรัมที่มีใช้ใน

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 75 ครัวเรือนมาใช้ในการหุงต้ม โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อแก๊ส ปิโตรเลียม (LPG) สาหรับหุงต้ม ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือนได้ ด้วยการใช้คอมเพรสเซอร์แบบปิดสนิท (Hermetic compressor) ขนาด ½ HP ซึง่ เคร่อื งอัดแก๊สชีวภาพสามารถลดปริมาณแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ด้วยตัวกรองทีท่ าจากเศษฝอยเหล็กจากการกลึงแล้วทิ้งให้เป็นสนิมตาม ธรรมชาติและลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกจากแก๊ส ชีวภาพ ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ความเข้มข้น 0.1 โมลาร์ ทาให้เม่ือนาแก๊สชีวภาพไปใช้จะมีค่าความร้อนมากขึ้น อีกทั้งยัง สามารถลดการสร้างมลภาวะทเ่ี ปน็ พิษกับส่งิ แวดลอ้ มด้วย การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ประชาชนสามารถนาข้อมูลไปสร้างเครื่องอัดแก๊สชีวภาพขนาด เล็กสาหรับใช้ในครัวเรือนได้ ผลการวิจัยสามารถนาไปผลิตในเชิง พาณิชยไ์ ด้ ภาพที่ 1 ผงั ทิศทางการไหลของแก๊สชีวภาพ (Biogas line) จากถังหมัก แก๊สชีวภาพผ่านกลไกภายในเครือ่ งอัดแก๊สชีวภาพ สู่ถังเก็บแกส๊ ปิโตรเลียม

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 76 ภาพที่ 2 เครอ่ื งอัดแก๊สชีวภาพขนาดเลก็ สาหรับใชใ้ นครวั เรือน ที่พฒั นาขึ้น

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 77 อาจารย์สุวิมล ทองแกมแก้ว* และผศ.ดร.พทิ กั ษ์ อยมู่ ี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี *E-mail: [email protected] เรือ่ ง องคป์ ระกอบทางเคมขี องน้ามนั หอมระเหยของใบกระดูกไก่ดา แนวคิดหรือวัตถุประสงค์ ด้านวิชาการ : ทาให้ได้ทราบองค์ประกอบทางเคมีและปริมาณ ของน้ามันหอมระเหยจากใบกระดูกไก่ดา เพ่ือใช้เป็นฐานข้อมูลด้าน สมุนไพรที่เราสามารถพบพันธุ์ไม้ชนิดน้ีได้ง่ายต่อการศึกษาต่อไป และ สามารถนาองค์ความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการเรียนการสอนของนักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พิบูลสงครามได้อีกดว้ ย ด้านเศรษฐกิจ/พาณิชย์ : สามารถนามาพัฒนาต่อยอดเป็น ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพ่ือเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภคได้ และเพ่ิมมูลค่า ทางเศรษฐกิจรวมถึงยงั เปน็ เพ่มิ รายได้ให้แกช่ มุ ชน ด้านสังคมและชุมชน : ส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกและนามา แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อย่างง่ายที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสานต่อเป็น สมนุ ไพรสามญั ประจาบ้าน สร้างอาชพี สร้างงาน และรายได้แก่คนในชุมชน ลักษณะเด่นของงานวิจยั เนอ่ื งจากตน้ กระดูกไก่ดา (Justicia gendarussa Burm. f.) เป็นไมพ้ มุ่ ขนาดเล็ก มีการใช้ประโยชน์ทางยาและตาราพ้ืนบ้าน เช่น บรรเทาอาการ ปวดเมอ่ื ย ปวดข้อ ข้ออักเสบ หรือฟกช้า แต่ยังขาดรายงานถึงองค์ประกอบ ทางเคมีและปริมาณของน้ามันหอมระเหยจากใบของต้นกระดูกไก่ดา งานวิจัยนี้ทาให้ได้ทราบองค์ประกอบทางเคมีและปริมาณของน้ามันหอม

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม 78 ระเหยจากใบกระดูกไก่ดา เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาต่อไปและสามารถ นาองค์ความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียนการสอนของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏพบิ ลู สงคราม การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ผลงานวจิ ยั สามารถนาไปเผยแพร่ในวารสารในระดับนานาชาติ และยงั สามารถนาไปบรู ณาการกบั การเรียนการสอนได้อีกดว้ ย รปู ที่ 1 ตน้ กระดกู ไก่ดา (Justicia gendarussa Burm. f.)

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 79 รูปที่ 2 การกลน่ั น้ามันหอมระเหยโดยใช้ Clevenger apparatus และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมโี ดย GC - MS

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 80 อาจารย์เอกรงค์ ป้ันพงษ์ คณะวิทยาการจัดการ E-mail: [email protected] เรือ่ ง รูปแบบการดาเนินชีวิตกับพฤติกรรมการใช้นวัตกรรมการ ส่อื สารผ่าน Application : Line ทางโทรศพั ท์ แนวคิดหรือวัตถปุ ระสงค์ นาข้อมูลจากการศึกษาครั้งน้ี ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุง การเรียนการสอน รวมถึงการพัฒนารูปแบบในการส่ือสารผ่านทาง Application : Line ในโทรศพั ท์สมารท์ โฟนให้เหมาะสมกบั นักศกึ ษา รปู ที่ 1 ขณะสัมภาษณ์นักศกึ ษาทเ่ี ปน็ ศิษย์เก่าถึงข้อดีขอ้ เสียการใช้ Application : Line ทางโทรศัพท์สมาร์ทโฟน

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 81 ลักษณะเด่นของงานวิจัย เป็นงานวิจัยด้านพฤติกรรมศาสตร์ที่เน้นการศึกษารูปแบบการ ประยุกตก์ ารสอ่ื สารทีส่ ง่ ผลออกมาในรูปแบบพฤติกรรมการใช้ส่ือสังคม ออนไลน์ยอดนิยม Application : Line ในโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของวัยรุ่น และเน้นไปที่นักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยใช้แนวคิดและทฤษฎี เกี่ยวกับรูปแบบการดาเนินชีวิต (Activities Opinions Interests) มาเป็น กรอบหลักในการศึกษา การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ มีการนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการเพ่ิมช่องทางการ ติดต่อส่ือสารกับนักศึกษาเพ่ืออานวยความสะดวกด้านการเรียน การ สอนและการส่งผ่านข้อมูลในลักษณะส่ือดิจิทัลท้ังน้ีเพ่ือเป็นการลด ปริมาณการใชก้ ระดาษลง นอกจากน้ยี ังนาผลการวิจัยไปสังเคราะห์เพ่ือ หาขอดี ข้อด้อยในการใช้ Application: Line ทางโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของ นักศึกษา โดยนาข้อมูลที่ได้ไปกากับดูแลตลอดจนให้ความรู้แก่นักศึกษา ในรายวชิ าทีม่ ีการเรียนการสอนเพ่อื ให้มคี วามรู้เท่าทันในการใช้ส่ือสังคม ออนไลน์ต่างๆ รูปที่ 2 กลุ่มไลนท์ ีใ่ ชเ้ พอ่ื การตดิ ตอ่ ส่อื สารในรายวชิ า

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 82 รูปที่ 3 นาข้อมลู ทีไ่ ด้สงั เคราะห์จากงานวจิ ยั ไปแนะนา/สอนใหก้ ับ นกั ศกึ ษาในรายวชิ าเพ่อื ให้มคี วามรู้เท่าทันและตระหนักถึงข้อดี – ข้อเสีย ของการใช้ Application : Line และส่อื สงั คมออนไลน์

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 83 ภาคผนวก

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 84 ประวัตนิ ักวิจัย ราไพ โกฎสบื ช่อื – สกุล อาจารย์ ดร. ตาแหนง่ ทางวิชาการ จุลชวี วทิ ยา สงั กดั สาขาวชิ า คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะ [email protected] E-mail 055 – 267000 ตอ่ 4228 เบอร์โทรศัพท์ วท.ด. (ความหลากหลายทางชวี ภาพและ ระดับการศกึ ษา ชวี วทิ ยาชาติพันธ์ุ) มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) เกียรตนิ ิยมอันดบั 2 ความเชย่ี วชาญ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ fungal taxonomy, fungal diversity ประวัตนิ กั วิจยั ช่อื – สกุล กมลธรรม เกือ้ บุตร ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ ดร. สังกัดสาขาวิชา ดนตรีสากล คณะ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ E-mail [email protected] เบอร์โทรศพั ท์ 055 – 267001 ระดบั การศกึ ษา ปร.ด. (ดนตรี) มหาวทิ ยาลัยมหิดล ศศ.ม. (ดนตรี) มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ศป.บ. (ดุริยางคศาสตร์) มหาวิทยาลยั บูรพา

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 85 ความเช่ยี วชาญ Musicology, Music research, Ethnomusicology, Jazz guitar ประวัตนิ ักวิจัย ช่อื – สกลุ กฤษ สจุ รติ ต้ังธรรม ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ ดร. สังกัดสาขาวิชา ฟิสิกส์ คณะ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail [email protected] เบอร์โทรศพั ท์ 055 – 267106 ระดบั การศกึ ษา Ph.D. (Materials Science) มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ความเช่ยี วชาญ วท.บ. (วัสดศุ าสตร์) มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ การเตรียมและการหาลกั ษณะเฉพาะ ประวัตนิ กั วิจยั ทางด้านวสั ดุศาสตร์ ชอ่ื – สกลุ ตาแหนง่ ทางวิชาการ กีรติ ตันเรือน สังกัดสาขาวิชา อาจารย์ ดร. คณะ ชวี วทิ ยา E-mail คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เบอร์โทรศพั ท์ [email protected] 055 – 267106

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 86 ระดบั การศกึ ษา วท.ด. (เทคโนโลยชี วี ภาพ) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ความเช่ยี วชาญ วท.ม. (เทคโนโลยชี วี ภาพ) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ประวตั นิ ักวิจยั วท.บ. (ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี) ช่อื – สกุล มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ตาแหนง่ ทางวิชาการ ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี, การตรวจสอบ สังกดั สาขาวิชา ฤทธิ์ทางชีวภาพ, การแยกบริสุทธิ์สารสาคัญ คณะ ในพืช, เอนไซม์เทคโนโลยี, Bioconversion E-mail (การเปลี่ยนเชิงชีวภาพ), Plant tissue culture, เบอร์โทรศัพท์ เทคโนโลยชี วี ภาพ/ชวี วทิ ยา ระดบั การศกึ ษา ณิรดา เวชญาลกั ษณ์ อาจารย์ ดร. บริหารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ [email protected] 055 – 230597 กศ.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ บช.บ. (การบัญช)ี มหาวิทยาลยั พายัพ

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 87 ความเชย่ี วชาญ การศึกษา, ด้านศิลปะและวัฒนธรรม, งาน วชิ าการ, การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ ประวตั นิ กั วิจยั ช่อื – สกุล พรดรัล จลุ กัลป์ ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ ดร. สังกดั สาขาวิชา พัฒนาผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร คณะ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร E-mail [email protected] เบอร์โทรศพั ท์ 08-9811-8854 ระดบั การศกึ ษา ปร.ด. (พฒั นาผลิตภณั ฑ)์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ความเชย่ี วชาญ วท.ม. (จลุ ชวี วทิ ยา) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวตั นิ กั วิจยั วท.บ. (ชีววทิ ยา) ชอ่ื – สกลุ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ตาแหนง่ ทางวิชาการ Agricultural product development สงั กัดสาขาวิชา คณะ เรืองวฒุ ิ ชตุ มิ า E-mail อาจารย์ ดร. จลุ ชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [email protected]

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 88 เบอร์โทรศพั ท์ 055-267106 ระดับการศกึ ษา วท.ด. (เทคโนโลยชี วี ภาพ) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ความเชย่ี วชาญ วท.บ. (จุลชีววทิ ยา) มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ Microbiology and biotechnology ประวัตนิ ักวิจัย ชอ่ื – สกุล นางสาวศิริรัตน์ พันธ์เรือง ตาแหนง่ ทางวิชาการ - สงั กัดสาขาวิชา - คณะ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail [email protected] เบอร์โทรศพั ท์ 055-267054 ระดับการศกึ ษา วท.บ. (เคม)ี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม ความเชย่ี วชาญ - ประวตั นิ ักวิจยั กุลวดี ปิ่นวฒั นะ ชือ่ – สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ตาแหนง่ ทางวิชาการ เคมี สงั กดั สาขาวิชา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะ [email protected] E-mail 055-267106 เบอร์โทรศัพท์ วท.ด. (เคม)ี จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ระดบั การศกึ ษา

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 89 ความเชย่ี วชาญ วท.ม. (เคมี) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร วท.บ. (เคมี) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ประวัตนิ ักวิจัย Analytical Chemistry, Electrochemistry. ชอ่ื – สกุล ตาแหนง่ ทางวิชาการ ณฏั ฐิรา ทบั ทิม สงั กัดสาขาวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะ ภาษาญี่ปุ่น E-mail คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เบอร์โทรศพั ท์ [email protected] ระดับการศกึ ษา 055-267087 Ph.D. (Languages and Societies Course) ความเช่ยี วชาญ OSAKA University M.A. (Languages and Societies Course) ประวัตนิ กั วิจยั OSAKA University of Foreign Language ช่อื – สกลุ ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ตาแหนง่ ทางวิชาการ สถาบันราชภัฏพบิ ูลสงคราม สังกัดสาขาวิชา ภาษาศาสตร์, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย, การสอน,การศกึ ษาเทคนคิ การสอน ศริ ิสภุ า เอมหยวก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 90 คณะ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ E-mail [email protected] เบอร์โทรศพั ท์ 055-267038 ระดับการศกึ ษา ปร.ด. (การวจิ ัยและพัฒนาทางการศกึ ษา) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม ความเช่ยี วชาญ ศศ.ม. (บรรณารกั ษ์ศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์) Edith Cowan University ประวตั นิ กั วิจยั ศศ.บ. (บรรณารกั ษศ์ าสตร)์ ช่อื – สกุล มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ตาแหนง่ ทางวิชาการ Library of Librarianship สังกัดสาขาวิชา คณะ ปิยวรรณ ศุภวิทิตพฒั นา E-mail ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เบอร์โทรศัพท์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร ระดับการศกึ ษา คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร [email protected] 055-267080 วท.ด. (วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์การอาหาร) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร) มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 91 ความเช่ยี วชาญ อาหาร/โภชนาการ/วทิ ยาศาสตร์การอาหาร, Food Processing, Food product development ประวัตนิ ักวิจัย นา้ ทพิ ย์ วงษ์ประทปี ช่อื – สกลุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ตาแหนง่ ทางวิชาการ วศิ วกรรมเกษตรและอาหาร สังกดั สาขาวิชา คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร คณะ [email protected] E-mail 08-6446-4696 เบอร์โทรศัพท์ ปร.ด. (วทิ ยาศาสตร์การอาหาร) ระดับการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์การอาหาร) ความเชย่ี วชาญ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร) สถาบันราชภัฏพบิ ูลสงคราม Food Science, Food Processing, Food Safety, Food develment, Fruit and vegetable, Rice product innovation, Cereals product


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook