Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PT_Team Member Handbook (TH)

PT_Team Member Handbook (TH)

Published by Natpatch Lasutham, 2023-07-11 07:24:44

Description: PT_Employee Handbook (TH)_vFinal_พนักงาน_20230704

Keywords: handbook

Search

Read the Text Version

คู่มือพนักงาน บริษทั พรีเมยี ร์ เทค ซิสเตมส์ แอนด์ ออโตเมช่ัน จากดั บริษัท พรีเมียร์ เทค ซิสเตมส์ แอนด์ ออโตเมช่ัน จากัด 93 ม. 9 ถ. บางนา-ตราด กม.19 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมทุ รปราการ 10540 , Thailand Fax +66 2 312 6836 WWW.PREMIERTECH.COM Tel +66 2 740 5001

2 / 37 คำนำ ค่มู ือพนกั งานฉบบั น้ีจดั ทาข้นึ เพอื่ เป็นแนวทางเก่ียวกบั สภาพการจา้ ง วา่ ดว้ ยเรื่องสวสั ดิการ ผลประโยชน์ กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ขอ้ ควรปฏิบตั ิตา่ งๆ ของพนกั งานบริษทั พรีเมียร์ เทค ซิสเตมส์ แอนด์ ออโตเมชนั่ จากดั (ใน ประเทศไทย) และมีใจความสาคญั เบ้ืองตน้ ท่ีพนกั งานควรยดึ ถือ หากแตม่ ีขอ้ ความใดๆ ท่ีไมไ่ ดป้ รากฏอยใู่ นคมู่ ือ พนกั งานฉบบั น้ี แต่เป็นขอ้ ตกลงเฉพาะบคุ คลและระบไุ วเ้ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ใหย้ ดึ ถือตามเอกสารหรือสญั ญาจา้ ง งานเป็ นสาคญั ค่มู ือฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนโดยมีขอ้ ความสอดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงานของ ประเทศไทย รวมถึงนโยบายและระเบียบตา่ งๆ ของบริษทั ฯ เอง โดยคูม่ ือฉบบั น้ี ไม่สามารถครอบคลุมไดท้ ว่ั ถึงทุก เหตุการณ์ ฉะน้นั หากพนกั งานมีขอ้ สงสยั ใดๆ ท่ีไม่ไดก้ ล่าวไวใ้ นคูม่ ือฉบบั น้ี พนกั งานสามารถปรึกษากบั หวั หนา้ งาน ผบู้ ริหารฝ่ าย ผจู้ ดั การฝ่ายพฒั นาองคก์ ร หรือกรรมการบริหารประจาภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ ดท้ นั ที ฝ่ ายบริหารองคก์ รขอสงวนสิทธิในการปรับปรุง แกไ้ ข หรือเพ่ิมเติม ขอ้ ความใดๆ เมื่อมีเหตุสมควรเกิดข้นึ เฉพาะกิจ อยา่ งไรกด็ ีการปรับปรุงแกไ้ ขคร้ังถดั ไปอาจจะกระทาข้นึ โดยจะประกาศใหท้ ราบโดยทวั่ กนั

3 / 37 สำรบัญ คานา 2 เกี่ยวกบั พรีเมียร์ เทค 6 คาจากดั ความ 9 บทท่ี 1 การจ้างงาน 11 1.1 การสรรหา 11 1.2 การวา่ จา้ ง 11 1.3 การปฐมนิเทศพนกั งานใหม่ 11 1.4 การทดลองงานและการประเมินผลการทดลองงาน 12 1.5 วนั ทางาน เวลางานปกติ และเวลาพกั 12 1.6 การบนั ทึกเวลา และการขาดงาน 13 1.7 หลกั เกณฑก์ ารทางานลว่ งเวลา การทางานในวนั หยดุ และการทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ 14 1.8 การโยกยา้ ย 15 1.9 รายละเอียดส่วนบคุ คล 15 1.10 การแตง่ กาย 15 1.11 หลกั จรรยาบรรณทางธุรกิจ 16 1.12 การรักษาความลบั 16 1.13 หลกั คุม้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล 16 1.14 การดูแลดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 16 1.15 ทรัพยส์ ินทางปัญญา 16 1.16 ความปลอดภยั 17 1.17 การยกเลิกสญั ญาจา้ งงาน 17 1.18 การสมั ภาษณ์เม่ือลาออกจากงาน 18 บทท่ี 2 ค่าจ้าง 18 2.1 กระบวนการบริหารและพิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน 18 2.2 นโยบายการพจิ ารณาคา่ จา้ ง 19 2.3 เงินโบนสั 19 2.4 การจา่ ยค่าจา้ ง 2.5 ขอ้ พึงระวงั

4 / 37 บทท่ี 3 การฝึ กอบรมและการพฒั นา 3.1 การกาหนดเป้าหมาย 20 3.2 การฝึกอบรม 20 บทที่ 4 การลาหยดุ 21 4.1 วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี 21 4.2 การลาป่ วย 22 4.3 การลาสมรส 22 4.4 การลาคลอด 22 4.5 การลาเพ่ือดูแลภรรยาคลอดบตุ ร 22 4.6 การลากิจ 23 4.7 การลาบวช 23 4.8 การลาเพือ่ ดูแลคนในครอบครัวเกิดการเจบ็ ป่ วย หรือการลาเพ่ือพธิ ีศพของคนในครอบครัว 23 4.9 การลาโดยไมไ่ ดร้ ับค่าจา้ ง 23 4.10 การลาทาหมนั 23 4.11 การลาเพ่อื รับราชการทหาร 24 4.12 อื่น ๆ 25 บทที่ 5 สวัสดกิ ารและผลประโยชน์ 25 5.1 การตรวจสุขภาพและการรับวคั ซีน 25 5.2 การประกนั กลุ่ม 25 5.3 สวสั ดิการตามโอกาส 26 5.4 รางวลั สาหรับพนกั งานที่มีความภกั ดีตอ่ บริษทั ฯ 5.5 สวสั ดิการดา้ นสนั ทนาการหรืออื่นๆ 27 28 บทที่ 6 วินยั และโทษทางวินัย 28 6.1 ระเบียบวินยั เก่ียวกบั การทางาน 29 6.2 ระเบียบวินยั เก่ียวกบั ความประพฤติ 31 6.3 การประพฤติผดิ อยา่ งร้ายแรง 33 6.4 การลงโทษทางวินยั 6.5 หลกั เกณฑ์การพิจารณาลงโทษทางวนิ ยั 6.6 ผมู้ ีอานาจพจิ ารณาและดาเนินการลงโทษทางวินยั

บทท่ี 7 การร้องทกุ ข์และการเสนอความคิดเห็น 5 / 37 7.1 ความหมายการร้องทุกข์ 7.2 วธิ ีการและข้นั ตอนการร้องทกุ ข์ 34 7.3 การสอบสวนและพิจารณาขอ้ ร้องทุกข์ 34 7.4 การเสนอความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์ 34 34 บทที่ 8 การพ้นสภาพจากการเป็ นพนักงาน 8.1 การพน้ สภาพจากการเป็นพนกั งาน 36

6 / 37 เกยี่ วกบั พรีเมียร์ เทค พรีเมียร์ เทค เป็นองคก์ รที่เกี่ยวขอ้ งกบั เทคโนโลยแี ละความรู้ความสามารถของเพื่อนพนกั งานทกุ คน ประวตั ิศาสตร์ อนั ยาวนานนบั ศตวรรษของ พรีเมียร์ เทค เริ่มต้งั แตป่ ี 2466 (1923) โดยมีจุดเริ่มตน้ จากสองคนพีน่ อ้ งมาสู่พนกั งาน กวา่ 4,500 คน จากการผลิตวสั ดุเพาะกลา้ (Peat Moss) พฒั นามาสู่วศิ วกรรมและการผลิต และเริ่มเป็นผนู้ าในระดบั สากลดา้ นการออกแบบ การผลิตและการตลาดสาหรับอปุ กรณ์เครื่องจกั รในอุตสาหกรรม พรีเมียร์ เทค ขยายตวั อยา่ งรวดเร็วครอบคลุมหา้ กลุ่มธุรกิจ ไดแ้ ก่ พืชสวนและการเกษตร พชื ประดบั เครื่องจกั รในอตุ สาหกรรมประเภท เคร่ืองชงั่ และบรรจุถุง ระบบบาบดั น้าและส่ิงแวดลอ้ ม และดิจิทลั พรีเมียร์ เทค มีสานกั งานใหญอ่ ยู่ท่ีประเทศแคนาดา ครอบคลุมการผลิตและจาหน่ายไปทว่ั โลก สาหรับ พรีเมียร์ เทค ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ก่อต้งั ท่ีประเทศไทย เมื่อวนั ที่ 18 มีนาคม 2535 มงุ่ เนน้ กลุม่ ธุรกิจเคร่ืองจกั รใน อุตสาหกรรมประเภทเครื่องชงั่ และบรรจุถงุ ประเทศไทยยงั เป็นศนู ยก์ ลางการขบั เคลื่อนธุรกิจในภูมิภาคน้ี มี สานกั งานตวั แทนอยใู่ นประเทศอินโดนีเซียและเวยี ดนาม เราจึงพร้อมท่ีจะใหบ้ ริการลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและ ครอบคลมุ ไปอีกหลากหลายประเทศในเอเชีย พนกั งานของเราในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ ีเป้าหมายเดียวกนั คอื การ ตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ อยา่ งต่อเนื่องดว้ ยความคดิ สร้างสรรคแ์ ละมีประสิทธิภาพ พนั ธกจิ และวิสัยทศั น์ของ พรีเมยี ร์ เทค พนั ธกิจและวสิ ยั ทศั น์เป็นตวั กาหนดวตั ถุประสงคแ์ ละบทบาทของ พรีเมียร์ เทค เราเชื่อวา่ ความชาญฉลาดของผคู้ น และเทคโนโลยี สร้างความเปลี่ยนแปลงใหก้ บั โลก เรามงุ่ มนั่ ในการหล่อเล้ียงอาหาร ปกป้อง และพฒั นาโลกของเรา (Feed, Protect, and Improve our world) เรามีคา่ นิยมขององคก์ ร และหลกั ปฏิบตั ิสาหรับทุกคนที่เกี่ยวขอ้ งกบั เรา ค่ำนยิ มองค์กร (VITAE) การสร้างนวตั กรรม การกา้ วขา้ มความทะเยอทะยานและวสิ ยั ทศั น์ของเรา ค่อยๆ พฒั นาภายในบริบทสากล ทกุ สิ่งท่ี ทาไป เพือ่ ความสาเร็จของ พรีเมียร์ เทค นนั่ คอื พวกเราทุกคน สนบั สนุนความคิดริเริ่ม นวตั กรรม เคารพสิทธิในการทาผิดพลาด พร้อมมีหนา้ ที่ตอ้ งเรียนรู้จากความผิดพลาด ให้ คณุ ค่ากบั การทางานเป็นทีม การอนุรักษไ์ ว้ การแสดงใหเ้ ห็นถึงความคลอ่ งตวั และความเขม้ งวดในการดาเนินการ ในแต่ละวนั ของเรา เพื่อตอบสนองลกู คา้ ภายในและภายนอกของเรา วิสัยทศั น์ (Vision) ทาความคิดใหเ้ ขา้ ใกลค้ วามจริงมากข้นึ สร้างแนวทางใหม่ๆ สิ่งท่ีเรารับรู้ในวนั น้ีจะเป็นสิ่งที่เราจะทาในวนั รุ่งข้ึน เพ่ือใหต้ อบสนองสู่ความตอ้ งการของตลาดไดด้ ียง่ิ ข้ึน นั่นหมำยถึง มีจินตนำกำรสู่โลกใบใหม่เพ่ือทีจ่ ะไปให้ถึงมนั

7 / 37 นวตั กรรม (Innovation) นาเสนอความคิดใหม่ สร้างสรรคแ์ นวคิดใหม่ๆ สนบั สนุนความแตกตา่ ง สร้างโอกาสสาหรับการเปล่ียนแปลง และ เปิ ดกวา้ งเพอื่ ท่ีจะช่วยใหอ้ งคก์ รขบั เคล่ือนไปขา้ งหนา้ นนั่ หมำยถงึ ควำมโดดเด่น กำรทำงำนเป็ นทีม (Team Work) การรวมจุดแกร่งของเราเขา้ กบั แรงปรารถนาของพวกเราทกุ ๆคน ท่ีจะไปใหถ้ ึงจุดหมายที่มีในใจร่วมกนั แสดงการ เปิ ดรับตอ่ ผคู้ นรอบขา้ ง มีส่วนร่วมในการอภิปรายและแสดงความคดิ เห็นเชิงสร้างสรรคเ์ พอ่ื ที่จะใหไ้ ดม้ าซ่ึงวิธีการ ของผลลพั ธ์ที่มาจากแรงสนบั สนุนของทกุ คน น่ันหมำยถึง กำรร่วมมือกนั ควำมว่องไว (Agility) การรู้จกั ปรับตวั อยา่ งรวดเร็ว ค่อยๆพฒั นาไปพร้อมๆกบั มีความยดื หยนุ่ ภายในสภาพแวดลอ้ มท่ีขบั เคล่ือนไป ขา้ งหนา้ ตอบสนองกบั ความเปลี่ยนแปลงอยา่ งมีประสิทธิภาพ หาจุดยนื ของเราบนบริบทของโลกที่ไมส่ ามารถคาด เดาไดด้ ว้ ยความง่ายดายและมน่ั ใจ นน่ั หมำยถึง กำรรู้จักปรับตัว กำรทำให้สำเร็จ (Execution) ทางานใหแ้ ลว้ เสร็จดว้ ยความแมน่ ยาและฉบั ไว มีพฒั นาการทุกๆวนั อยา่ งพากเพียรและเป็นเลิศ ในขณะเดียวกนั ยงั ตอ้ งใส่ใจสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งหลีกเลี่ยงไมไ่ ด้ เลี่ยงวิธีการทาซ้าๆ แบบเดิมแตห่ าทางพฒั นาตลอดเวลา น่ันหมำยถงึ ใช้ควำมสำมำรถในตัวเติมเต็มให้กบั ตวั เรำเอง

8 / 37 DRIVER คือแบบอยา่ งที่กาหนดความสัมพนั ธ์ และการปฏิบตั ิต่อกนั ระหวา่ งพนกั งาน พรีเมียร์ เทค กบั ลูกคา้ เพ่ือนร่วมงาน และคูค่ า้ ต่างๆ ของเรา

9 / 37 คำจำกดั ควำม 1. ระดบั ตาแหน่งงานไดแ้ ก่ ก. พนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ ไดแ้ ก่ตาแหน่งดงั น้ี (รวมถึงชื่อตาแหน่งอ่ืน ที่อาจมีในอนาคต ที่อยใู่ นระดบั เดียวกนั ) • Cleaner, Driver, Packer, Store Staff, Technician • Account Payable, Accounting Clerk, Admin/Assistant, Application Engineer, Costing Executive, Electrical Engineer, Financial Analysis, Finance Officer, HR/OD Officer, Import & Export Officer, Inventory Coordinator, Marketing Advisor, Mechanical Engineer, Mechanical Designer, Production Coordinator, Production Planner, Project Engineer, Programming Automation Engineer, Purchaser, Quality Assurance, Sales Engineer, Sales Representative, Senior Electrical Technician, Senior Technician, Service Engineer, Service Coordinator, Spare Parts Specialist, Technical Support Engineer, Technical Writer. ข. พนกั งานระดบั หวั หนา้ งาน ไดแ้ ก่ตาแหน่งดงั น้ี (รวมถึงชื่อตาแหน่งอ่ืน ท่ีอาจมีในอนาคต ท่ีอยใู่ นระดบั เดียวกนั ) • Application Engineer Supervisor, Inventory Supervisor, IT System Supervisor, Factory Supervisor, Senior Service Engineer, Senior Software Engineer, Service and Technical Supervisor, Senior Service Engineer, Senior Sales Engineer, Senior Sales Representative, Senior Purchasing Officer, Senior Procurement Officer, Spare Parts Supervisor. ค. ผชู้ ่วยผจู้ ดั การ (รวมถึงชื่อตาแหน่งอ่ืน ท่ีอาจมีในอนาคต ที่อยใู่ นระดบั เดียวกนั ) ง. ผจู้ ดั การ และ ผจู้ ดั การอาวโุ ส ไดแ้ ก่ตาแหน่งดงั น้ี (รวมถึงช่ือตาแหน่งอื่น ท่ีอาจมีในอนาคต ที่อยใู่ นระดบั เดียวกนั ) • Installation & Commissioning Manager, Project Manager, Sales Manager. จ. ผอู้ านวยการ ไดแ้ ก่ตาแหน่งดงั น้ี (รวมถึงชื่อตาแหน่งอื่น ที่อาจมีในอนาคต ท่ีอยใู่ นระดบั เดียวกนั ) • Marketing Director, Sales Director

10 / 37 ฉ. ผบู้ ริหารฝ่ าย ไดแ้ ก่ตาแหน่งดงั น้ี (รวมถึงชื่อตาแหน่งอื่น ที่อาจมีในอนาคต ที่อยใู่ นระดบั เดียวกนั ) • Accounting Manager, Application Center Manager – SEA, Client Solutions Manager – SEA, Engineering Manager, Marketing Director - APAC, Organizational Development Manager – APAC, Sales Director – SEA, Supply Chain Manager ช. ฝ่ ายบริหาร ไดแ้ ก่ตาแหน่งดงั น้ี (รวมถึงช่ือตาแหน่งอ่ืน ที่อาจมีในอนาคต ที่อยใู่ นระดบั เดียวกนั ) • Managing Director – SEA • Vice President - APAC 2. หวั หนา้ งาน หมายถึง ผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรง 3. พนกั งาน หมายถึง พนกั งานทกุ คน ทกุ ระดบั ในองคก์ ร 4. สมาชิกในครอบครัว ไดแ้ ก่ ก. คูส่ มรส (ตามนิยามของกฎหมาย) ข. บุตร/ธิดา (ที่มีใบรับรองบตุ ร หรือสูติบตั ร) ค. บิดา มารดา ของพนกั งาน ง. พ่ี นอ้ ง ร่วมสายเลือดเดียวกนั ของพนกั งาน 5. รอบปี การทางานของบริษทั ฯ คอื มีนาคม ถึง กุมภาพนั ธ์

11 / 37 บทที่ 1 การจ้างงาน 1.1 การสรรหา ทกุ ตาแหน่งวา่ งหรือตาแหน่งที่ไดร้ ับการอนุมตั ิแลว้ ที่บริษทั ฯสรรหาจะลงประกาศบนสื่อที่เหมาะสมท้งั สื่อภายใน เช่น กระดานข่าว และ/หรือ ส่ือภายนอก การสมคั รงานในตาแหน่งท่ีเปิ ดรับตอ้ งย่นื ประวตั ิส่วนตวั หรือใบสมคั รงาน ดว้ ย สาหรับผสู้ มคั รจากภายในของบริษทั ฯ (พนกั งานบริษทั ) จะตอ้ งเป็นพนกั งานท่ีดารงอยใู่ นตาแหน่งเดิมเป็น เวลาอยา่ งนอ้ ยหน่ึง (1) ปี จึงจะมีสิทธิสมคั รตาแหน่งท่ีเปิ ดรับสมคั รได้ หากไมไ่ ดร้ ับการคดั เลือก ฝ่ ายพฒั นาองคก์ ร จะแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบ 1.2 การว่าจ้าง การวา่ จา้ งจะมีผลตอ่ เม่ือผสู้ มคั รท่ีไดร้ ับคดั เลือกน้นั บริษทั ฯอาจทาการตรวจสอบประวตั ิการทางานและความ ประพฤติจากที่ทางานเดิม รวมถึงการตรวจประวตั ิอาชญากรรมจากกองทะเบียนประวตั ิอาชญากรรม สานกั งาน ตารวจแห่งชาติ และบริษทั ฯอาจใหด้ าเนินการตรวจร่างกายจากโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลท่ีบริษทั ฯ จดั ให้ ในช่วงทดลองงาน หลงั จากน้นั ผสู้ มคั รที่ไดร้ ับการคดั เลือกน้นั ไดล้ งนามในสัญญาจา้ งแลว้ สาหรับผสู้ มคั รชาวตา่ งชาติจะตอ้ งไดร้ ับ การอนุมตั ิใบอนุญาตทางานจากสานกั บริหารแรงงานต่างดา้ วและตรวจสอบเอกสารจากท่ีทางานเดิม 1.3 การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ พนกั งานใหมท่ กุ คนตอ้ งเขา้ รับการปฐมนิเทศจากผบู้ ริหารฝ่ ายหรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมายหนา้ ที่เพือ่ ให้พนกั งาน สามารถปรับตวั เขา้ กบั วฒั นธรรมและค่านิยมขององคก์ ร ตลอดจนเขา้ ใจนโยบายและข้นั ตอนการทางาน 1.4 กำรทดลองงำนและกำรประเมนิ ผลกำรทดลองงำน พนกั งานที่ไดร้ ับการวา่ จา้ งหรือเปลี่ยนหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ จะตอ้ งมีระยะเวลาทดลองงานข้นั ตน้ ตามท่ีระบใุ น หนงั สือสญั ญาการจา้ งงาน เวลาทดลองงานของพนกั งานทุกคนแบง่ เป็น ก. พนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ ทดลองงาน หน่ึงร้อยสิบเกา้ (119) วนั และหวั หนา้ ประเมินผลเมื่อครบวนั ท่ีหกสิบ (60) และเกา้ สิบ (90) วนั ข. พนกั งานระดบั หวั หนา้ งานข้ึนไป ทดลองงาน หก (6) เดือน และหวั หนา้ ประเมินผลเม่ือครบสอง (2) เดือน ส่ี (4)เดือน และหก (6) เดือน การพูดคยุ เพ่อื แนะนาและพฒั นาสามารถทาไดบ้ อ่ ยคร้ังมากกว่าท่ีกาหนดไวข้ า้ งตน้ ท้งั น้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือช่วยให้ พนกั งานใหม่ สามารถปรับตวั ไดอ้ ยา่ งราบร่ืนมากท่ีสุด

12 / 37 การทดลองงานนบั รวมวนั หยดุ และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ หรืออาจมีการพจิ ารณาใหต้ ่อระยะเวลาทดลองงานนานกวา่ น้ี หากมีความจาเป็ น เม่ือพนกั งานผา่ นการทดลองงาน ตามท่ีไดร้ ับการอนุมตั ิในแบบประเมินผลการทดลองงาน ผบู้ ริหารฝ่ายร่วมกบั ผจู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ รนาเสนอต่อกรรมการบริหารใหอ้ นุมตั ิและยนื ยนั การบรรจุเป็นพนกั งานประจา 1.5 วันทางาน เวลาทางานปกติ และเวลาพกั บริษทั ฯ กาหนดวนั ทางาน เวลาทางานปกติและเวลาพกั ไวด้ งั น้ี ก. วนั ทางานปกติ คือ วนั จนั ทร์ ถึง วนั ศุกร์ ข. วนั หยดุ ประจาสัปดาห์ คอื วนั เสาร์ และ วนั อาทิตย์ ค. วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ คอื วนั หยดุ ตามประเพณีนิยมที่บริษทั ฯ กาหนดและประกาศให้ทราบลว่ งหนา้ หน่ึงปี ไม่นอ้ ย กวา่ สิบสาม (13) วนั บริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิในการจดั ปรับ เปลี่ยน วนั หยดุ ตามประเพณีตามความเหมาะสมโดย ไม่นอ้ ยกวา่ กฎหมายกาหนด และจะแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบหากมีการเปล่ียนแปลงในแต่ละคร้ัง ง. เวลาทางานปกติ คือ เวลาเริ่มปฏิบตั ิงาน 08:00 น. และ เวลาเลิกปฏิบตั ิงาน 17:00 น. จ. เวลาพกั กลางวนั 12:00 น. ถึง 13:00 น. ท้งั น้ี บริษทั ฯ สามารถปรับปรุงวนั หยดุ เวลาทางาน และเวลาพกั ไดต้ ามความเหมาะสม หรือตามสถานการณ์ที่จาเป็น 1.6 การบันทึกเวลา และการขาดงาน พนกั งานมีหนา้ ท่ีจะตอ้ งบนั ทึกเวลาทางานดว้ ยตนเองทุกคร้ังท่ีเขา้ มาทางานและเลิกงาน พนกั งานระดบั หวั หนา้ งาน ข้นึ ไปไมจ่ าเป็นตอ้ งบนั ทึกเวลาเขา้ และออก การบนั ทึกเวลาแทนกนั ถือเป็นความผิด สาหรับพนกั งานท่ีลืมบนั ทึกเวลา เขา้ และออกจะตอ้ งกรอกแบบลงบนั ทึกเวลาใหห้ วั หนา้ ลงช่ือรับทราบและส่งแบบท่ีเจา้ หนา้ ที่ฝ่ ายพฒั นาองคก์ ร เวลาทางานหน่ึงวนั ตอ้ งครบแปด (8) ชว่ั โมง (ไม่รวมเวลาพกั หน่ึงชวั่ โมง) ในกรณีที่พนกั งานมีเหตฉุ ุกเฉินไม่สามารถ ปฏิบตั ิงานไดต้ ามเวลาเขา้ งานปกติ พนกั งานจะตอ้ งแจง้ สาเหตกุ ารลาต่อหวั หนา้ งาน หรือผบู้ ริหารฝ่ ายที่ตนสังกดั ก่อนเวลา 8:00 น. เม่ือพนกั งานกลบั เขา้ ทางานตามปกติ พนกั งานจะตอ้ งยน่ื การลาหยดุ พร้อมท้งั ระบุสาเหตทุ ี่ลาเพ่อื จะ ไดไ้ ม่เป็นการขาดงาน ในกรณีท่ีมีเหตุจาเป็นที่ทาใหพ้ นกั งานจะตอ้ งมาชา้ กวา่ เวลาเร่ิมปฏิบตั ิงาน หรือกลบั ก่อนเวลาเลิกปฏิบตั ิงาน หาก การมาชา้ หรือกลบั ก่อนเวลาน้นั ไม่เกินสอง (2) ชวั่ โมง พนกั งานจะตอ้ งขออนุญาตจากหวั หนา้ งานก่อนล่วงหนา้ และ ทางานชดเชยจานวนชว่ั โมงที่ขาดไปใหค้ รบแปด (8) ชวั่ โมง โดยการทางานชดเชยในวนั ถดั ไปไมถ่ ือเป็นการทางาน ลว่ งเวลา ท้งั น้ีใหถ้ ือเป็นสิทธิในการพจิ ารณาและบริหารจดั การของหวั หนา้ งานหรือผบู้ ริหารฝ่ ายโดยไม่ใหก้ ระทบ กบั กิจการของบริษทั ฯ เม่ือตกลงกนั ไดพ้ นกั งานไมจ่ าเป็นตอ้ งยน่ื ขอใชว้ นั ลาหยดุ อยา่ งไรก็ตามการมาสายหรือกลบั ก่อนเวลาบอ่ ยคร้ัง ส่งผลต่อความประพฤติและการประเมินผลงานประจาปี

13 / 37 กรณีท่ีพนกั งานขาดงานเป็นเวลาสาม (3) วนั ทางานติดต่อกนั โดยไมม่ ีเหตุอนั สมควรและไมม่ ีการแจง้ ตอ่ หวั หนา้ งานหรือผบู้ ริหารฝ่ ายที่ตนสังกดั ถือเป็นการขาดงานละทิ้งหนา้ ที่และมีความผิด เป็นเหตุใหถ้ กู เลิกจา้ งโดยไม่ไดร้ ับ ค่าชดเชย สาหรับพนกั งานฝ่ ายขายที่ดูแลงานขาย และฝ่ ายบริการลูกคา้ ประจาภาคสนาม (ท่ีไม่ไดป้ ระจาที่สานกั งาน) หรือ ชกั ชวนซ้ือสินคา้ หรืออะไหล่ หรือบริการ หรืองานในลกั ษณะซ่ึงส่งเสริมการขาย พนกั งานที่มีหนา้ ท่ีรับผิดชอบงาน ในลกั ษณะน้ี รวมไปถึงการมอบหมายใหท้ างานจากท่ีบา้ นหากมีเหตุการณ์พเิ ศษที่ทาให้พนกั งานไมส่ ามารถมา ปฏิบตั ิงานท่ีสานกั งาน ไดร้ ับการยกเวน้ ในการปฏิบตั ิตามหวั ขอ้ น้ีซ่ึงวา่ ดว้ ยเรื่องวนั ทางาน เวลาทางานปกติและเวลา พกั 1.7 หลกั เกณฑ์การทางานล่วงเวลา การทางานในวันหยุด และการทางานล่วงเวลาในวนั หยุด พนกั งานที่ทางานล่วงเวลาจะตอ้ งไดร้ ับการอนุมตั ิหรือคาสง่ั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากหวั หน้างานก่อน มิฉะน้นั จะ ถือวา่ พนกั งานผนู้ ้นั ตดั สินใจอาสาทางานลว่ งเวลาเองซ่ึงไม่มีสิทธิไดร้ ับค่าลว่ งเวลา คา่ ทางานในวนั หยดุ หรือค่า ล่วงเวลาในวนั หยดุ เม่ือมีงานท่ีมีลกั ษณะตอ้ งทาติดตอ่ กนั ไปหรือเป็นงานฉุกเฉินซ่ึงถา้ หยดุ อาจเกิดความเสียหายตอ่ งานหรือกิจการ บริษทั ฯ หวั หนา้ อาจสงั่ ใหพ้ นกั งานทางานล่วงเวลา หรือมาทางานในวนั หยดุ ไดเ้ ท่าที่มีความจาเป็น โดยไมต่ อ้ ง ไดร้ ับความยนิ ยอมจากพนกั งานก่อนเพอื่ ประโยชนแ์ ก่การผลิต การจาหน่าย และการบริการ บริษทั ฯ อาจให้ พนกั งานทางานล่วงเวลาในวนั ทางาน หรือทางานในวนั หยดุ รวมถึงทาล่วงเวลาในวนั หยดุ ได้ การคานวณค่าล่วงเวลา คา่ ทางานในวนั หยดุ หรือค่าทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ จะตอ้ งไมเ่ กินเวลาท่ีไดร้ ับอนุมตั ิจาก หวั หนา้ งานและสอดคลอ้ งกบั เวลาเขา้ และออกที่บนั ทึกไว้ หากบนั ทึกเวลาเขา้ และออกเกินกวา่ เวลาทางานล่วงเวลา ท่ีไดอ้ นุมตั ิ ใหค้ านวณจากเวลาที่ไดร้ ับอนุมตั ิ พนกั งานระดบั หวั หนา้ งานจนถึงระดบั บริหารไมไ่ ดร้ ับสิทธิน้ี หากไดร้ ับมอบหมายให้ทางานในวนั หยดุ พนกั งาน ระดบั หวั หนา้ งานจนถึงระดบั บริหาร สามารถขอลาหยดุ ชดเชยจากการทางานในวนั หยดุ น้นั การไปอบรม สัมมนา หรือประชุมในวนั หยดุ รวมถึงการเดินทางท้งั ไปและกลบั ไมส่ ามารถเบิกเป็นค่าทางานใน วนั หยดุ ได้ แต่ใหน้ ามาขอหยดุ ชดเชยไดเ้ ทา่ จานวนชว่ั โมงหรือวนั ท่ีใชไ้ ปเพือ่ อบรม สัมมนา หรือประชุมในวนั หยดุ สาหรับพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ เมื่อไดร้ ับอนุมตั ิจากหวั หนา้ งานใหท้ างานล่วงเวลา ทางานในวนั หยดุ หรือทางาน ลว่ งเวลาในวนั หยดุ มีสิทธิเบิกค่าลว่ งเวลาได้ โดยสรุปตามระดบั งานดงั น้ี

14 / 37 ตารางสรุปสิทธิการเบิกค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ คา่ ล่วงเวลาในวนั หยดุ ระดับตาแหน่ง การเบกิ ค่าทางานล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยดุ ค่าล่วงเวลาในวันหยดุ ปฏิบตั ิการ มีสิทธิ (ตามงานท่ีไดว้ างแผนไวล้ ่วงหนา้ ) หวั หนา้ งาน ถึง ผบู้ ริหารฝ่ าย ไมม่ ีสิทธิ 1.8 การโยกย้าย ก. การเล่ือนข้นั เลื่อนตาแหน่ง หวั หนา้ งานจะเสนอต่อผบู้ ริหารฝ่ าย สาหรับการเล่ือนตาแหน่งของพนกั งานที่อยภู่ ายใตก้ ารบริหารที่มี ความสามารถในการทางาน มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจกั ษ์ ดารงไวซ้ ่ึงค่านิยมของบริษทั ฯ มีหวั ใจตระหนกั ถึง ความปลอดภยั และหลกั จรรยาบรรณทางธุรกิจ มีศกั ยภาพและทศั นคติพร้อมในการรับผดิ ชอบภาระงานท่ี สูงข้นึ โดยผบู้ ริหารฝ่ ายจะพิจารณาร่วมกบั ผจู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ ร และกรรมการบริหารเพอื่ พิจารณาอนุมตั ิ ในการปรับตาแหน่งและเงินเดือนตามความเหมาะสม สาหรับผทู้ ่ีรับตาแหน่งในระดบั ที่สูงข้นึ ควรมีทกั ษะภาษาองั กฤษในระดบั สื่อสารไดด้ ีเพอื่ จะทาใหม้ ี ความกา้ วหนา้ ในระดบั ตาแหน่งงาน ในกรณีต่อไปน้ี บริษทั ฯ อาจจะพจิ ารณาแตง่ ต้งั พนกั งานท่ีอยใู่ นแผนการบริหารเขา้ รับตาแหน่งโดยไม่ จาเป็นตอ้ งประกาศเพ่อื เขา้ กระบวนการสรรหา เช่น 1) เพ่ือเป็นการพฒั นาพนกั งานตามการวางแผนผสู้ ืบทอดตาแหน่ง 2) เป็นช่วงการปรับผงั องคก์ รเป็นการภายใน 3) หรือเป็นการแตง่ ต้งั พนกั งานที่อยใู่ นโครงการระหวา่ งประเทศ 4) หรืออยใู่ นสถานการณ์ที่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งทางดา้ นกฏหมายหรือความลบั เฉพาะกิจซ่ึงไม่สามารถประกาศการ สรรหาได้ ข. การเปลี่ยนแปลงสถานะการวา่ จา้ ง เม่ือมีการปรับสถานะการวา่ จา้ งจากการวา่ จา้ งประเภทชวั่ คราว เป็นการวา่ จา้ งประจา ซ่ึงมีความเป็นไปได้ (หาก มีการเปิ ดตาแหน่งวา่ งและอาจมีผูส้ มคั รตาแหน่งน้นั อยใู่ นสถานะการวา่ จา้ งประเภทชวั่ คราว) ไมไ่ ดม้ ีขอ้ บงั คบั ใหป้ ระกาศตาแหน่งงานวา่ งน้นั สาหรับการนบั อายงุ าน สวสั ดิการ หรือผลประโยชน์ใหเ้ ร่ิมมีผลบงั คบั นบั ต้งั แตไ่ ดร้ ับการวา่ จา้ งเป็นแบบประจา

15 / 37 1.9 รายละเอียดส่วนบุคคล พนกั งานทุกคนจะมีหมายเลขประจาตวั พนกั งานและอกั ษรยอ่ ตามระบบของบริษทั ฯ หมายเลขประจาตวั และอกั ษร ยอ่ “เป็นของเฉพาะบคุ คล” น้นั ๆ และคงไวเ้ ช่นเดิมแมว้ า่ จะยา้ ยจากหน่วยงานหน่ึงไปยงั อีกหน่วยงานภายในบริษทั ฯ พนกั งานทกุ คนควรแจง้ กบั ฝ่ ายพฒั นาองคก์ รเพ่ือปรับปรุงขอ้ มูลในฐานขอ้ มลู ทนั ทีท่ีมีการเปล่ียนแปลงใน รายละเอียดส่วนบคุ คล เช่น ท่ีอยู่ หมายเลขโทรศพั ท์ สถานภาพสมรส ผตู้ ิดตอ่ ไดก้ รณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เป็นตน้ 1.10 การแต่งกาย พนกั งานทุกคนควรแตง่ กายเรียบร้อยและเหมาะสม ไมว่ า่ จะเป็นวนั เวลาทาการปกติหรือวนั หยดุ ท่ีมีการเขา้ มา ทางานในพ้ืนที่ของบริษทั ฯ อนุโลมใหแ้ ตง่ กายลาลองแบบสุภาพ หากไม่ใช่เคร่ืองแตง่ กายท่ีบริษทั ฯ จดั ให้ พนกั งานไม่ควรใส่เส้ือผา้ ไมส่ ุภาพ เช่น กางเกงขาส้นั หรือเหนือเขา่ รองเทา้ ฟองน้า รองเทา้ แตะ เป็นตน้ พนกั งาน ควรแตง่ กายเรียบร้อยและเหมาะสมตลอดเวลาไมว่ า่ จะปฏิบตั ิงานในหรือนอกสถานท่ีและท้งั ท่ีมีหรือไม่มีแขกใน สานกั งานกต็ าม สาหรับการสวมใส่เส้ือผา้ เครื่องแตง่ กายที่มีสญั ลกั ษณ์ของบริษทั ฯ ใหต้ ระหนกั เสมอวา่ ท่านเป็น ตวั แทนในการส่งเสริมภาพลกั ษณ์ท่ีดีงามของบริษทั ฯ กริยาใดที่เป็นการไมส่ มควรและส่งผลต่อภาพลกั ษณ์โดยรวม ของบริษทั ฯ ไดใ้ หพ้ ึงสารวมระวงั เมื่อเขา้ พ้ืนท่ีการผลิต รวมถึงพ้ืนที่การทางานของลูกคา้ และคู่คา้ พนกั งานจะตอ้ งสวมใส่อุปกรณ์ป้องกนั ความ ปลอดภยั ตามระเบียบท่ีแจง้ ไวอ้ ยา่ งเคร่งครัด 1.11 หลกั จรรยาบรรณทางธุรกจิ เป็นหนา้ ที่ที่พนกั งานตอ้ งปฏิบตั ิตามหลกั จรรยาบรรณทางธุรกิจอยา่ งเคร่งครัด พนกั งานทุกคนควรปฏิบตั ิตาม กฎหมายและระเบียบขอ้ บงั คบั และดาเนินธุรกิจในลกั ษณะท่ีมีความรับผดิ ชอบทางจริยธรรม พนกั งานที่ไม่แน่ใจวา่ กิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงชอบดว้ ยกฎหมายหรือเป็นที่ยอมรับทางจริยธรรมหรือไม่ ควรปรึกษากบั หวั หนา้ งานของ ตนก่อน ก. ของขวญั และของกานลั อื่น ๆ ไม่อนุญาตใหพ้ นกั งานรับเงินหรือของกานลั อื่นๆ จากผรู้ ่วมธุรกิจท่ีมีมูลค่ามากกวา่ สามพนั (3,000) บาท ซ่ึง อาจส่งผลกระทบตอ่ ความซื่อสัตย์ พนกั งานที่ให้หรือรับของกานลั ดงั กลา่ วนอกเหนือจากของขวญั ตามปกติประเพณี ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจาก หวั หนา้ ของตนเองก่อน เพือ่ หัวหนา้ จะพจิ ารณาวา่ การใหห้ รือรับน้นั มีผลกระทบหรือมองวา่ จะมีผลกระทบต่อ ความซื่อสตั ยส์ ุจริตหรือความเป็นอิสระของพนกั งานหรือไม่ ข. ความประพฤติส่วนตวั บริษทั ฯ คาดหวงั ใหพ้ นกั งานดาเนินธุรกิจและประพฤติต่อคู่คา้ ทางธุรกิจ เพอ่ื นร่วมงาน และบคุ คลอื่น ๆ อยา่ ง

16 / 37 มืออาชีพ ใหเ้ กียรติกนั และกนั ปฏิบตั ิตามแนวทาง DRIVER และบริษทั ฯ ไม่ยอมรับการคกุ คาม การเลือกปฏิบตั ิ หรือพฤติกรรมอ่ืนทุกรูปแบบท่ีเพื่อนร่วมงานหรือคู่คา้ ทางธุรกิจอาจมองวา่ เป็นการขม่ ข่หู รือทาใหเ้ สื่อมเสีย 1.12 การรักษาความลับ ขอ้ มลู ของบริษทั ฯ ถือเป็นความลบั ทางธุรกิจ พนกั งานมีหนา้ ท่ีรักษาขอ้ มลู ของบริษทั ฯ อยา่ งเคร่งครัด หา้ มเปิ ดเผย ใหบ้ คุ คลภายนอกโดยเด็ดขาด การเปิ ดเผยขอ้ มูลลบั จะมีโทษทางวินยั ข้นั สูงสุด 1.13 หลกั คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล บริษทั ฯ ปฏิบตั ิตามหลกั คุม้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล และใหค้ ามน่ั จะรักษาขอ้ มลู ส่วนตวั ของพนกั งาน ลูกคา้ ผผู้ ลิต คู่ คา้ ทางธุรกิจ เพ่ือที่จะปฏิบตั ิใหไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง บริษทั ฯ ไดป้ ระกาศใชน้ โยบายหลกั และนโยบายยอ่ ยเพอื่ กาหนด ขอบเขตคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล ดงั น้นั จึงเป็นเรื่องสาคญั มากที่พนกั งานจะตอ้ งปฏิบตั ิตาม เม่ือมีความจาเป็นตอ้ ง ใชข้ อ้ มูลส่วนบคุ คล 1.14 การดแู ลด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน บริษทั ฯ ใหค้ วามสาคญั หลกั ต่อการดูแลดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พนกั งาน ทุกคนตอ้ งตรวจสอบให้มนั่ ใจวา่ สภาพแวดลอ้ มในการทางานน้นั อยใู่ นสภาพปลอดภยั และงานทุกอยา่ งดาเนินการ โดยมีความปลอดภยั อยใู่ นระดบั ท่ีน่าพอใจ ซ่ึงไม่กระทบตอ่ การประหยดั และความสามารถในการผลิต บริษทั ฯ เชื่อ วา่ อบุ ตั ิเหตแุ ละความบาดเจ็บทุกกรณีป้องกนั ได้ ความปลอดภยั เป็นสิ่งท่ีตอ้ งเลือกปฎิบตั ิไมใ่ ช่ส่ิงท่ีเกิดข้ึนโดย บงั เอิญ เป้าหมายของบริษทั ฯ คืออุบตั ิเหตเุ ป็นศนู ย์ ซ่ึงเราทุกคนมีส่วนที่จะตอ้ งทาใหถ้ ึงเป้าหมายน้นั พนกั งานตอ้ งปฏิบตั ิตามนโยบายดา้ นความปลอดภยั พนกั งานตอ้ งทาความคุน้ เคยกบั เส้นทางหนีไฟและแผนฉุกเฉิน และตอ้ งเขา้ อบรมหลกั สูตรดา้ นความปลอดภยั การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ความช่วยเหลือฉุกเฉินท่ีจดั ให้ สถานการณ์ที่เสี่ยงอนั ตราย อุบตั ิเหตุ หรือเกือบจะเกิดอุบตั ิเหตุ จะตอ้ งแจง้ ตอ่ ผดู้ ูแลดา้ นความปลอดภยั ฯ สาหรับ พนกั งานที่ใชร้ ถของบริษทั ฯ จะตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎจราจรอยา่ งเคร่งครัด 1.15 ทรัพย์สินทางปัญญา การใดที่พนกั งานคดิ คน้ เสนอแนะเพือ่ เป็นประโยชนต์ ่อบริษทั ฯ ถือเป็นทรัพยส์ ินทางปัญญาของบริษทั ฯ 1.16 ความปลอดภยั พนกั งานควรตระหนกั วา่ การรักษาความปลอดภยั ของสานกั งาน (หรือสถานที่ทางาน) เป็นความรับผดิ ชอบของเรา ทุกคนโดยมีแนวทางปฏิบตั ิดงั น้ี ก. เมื่อมี ผมู้ าเยอื นหรือผมู้ าติดต่อ ให้พนกั งานอยดู่ ูแลตลอดเวลาท่ีเขาเหลา่ น้นั อยใู่ นพ้นื ที่ของบริษทั ฯ ข. เมื่อพนกั งานออกจากพ้ืนท่ีปฏิบตั ิงานตรวจสอบใหม้ น่ั ใจวา่ ไดเ้ ก็บทรัพยส์ ินมีคา่ ส่วนตวั และลอ็ กใหเ้ รียบร้อย ค. ไมว่ างทรัพยส์ ินมีคา่ หรือกระเป๋ าสตางคไ์ วบ้ นโต๊ะทางาน

17 / 37 ง. เม่ือเวลาเลิกงานหากไม่นาแลป็ ทอ็ ปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) กลบั บา้ น ใหเ้ กบ็ ไวใ้ นตู้ หรือลิ้นชกั และ ลอ็ กทุกคร้ัง ปิ ดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุกคร้ังเมื่อเลิกปฏิบตั ิงาน 1.17 การยกเลกิ สัญญาจ้างงาน ก. การยกเลิกสัญญาจา้ งงานน้นั ทาไดโ้ ดยฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงจะตอ้ งบอกกล่าวล่วงหนา้ เป็นหนงั สือเป็นเวลาหน่ึง (1) เดือนให้อีกฝ่ ายหน่ึงทราบท้งั น้ีใหร้ วมถึงพนกั งานในระยะทดลองงานดว้ ย ในกรณีเลิกจา้ งโดยไมบ่ อกกล่าว ลว่ งหนา้ บริษทั ฯ จะตอ้ งจา่ ยเงินสินจา้ งแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ ให้กบั อีกฝ่ ายแทนการบอกกลา่ วน้นั โดยจา่ ย สินจา้ งแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ ใหเ้ ท่ากบั ระยะเวลาท่ีตอ้ งบอกกลา่ วในอตั ราคา่ จา้ งสุดทา้ ยหรือตาม ขอ้ กาหนดของกฎหมายไทย ข. ในกรณีเลิกจา้ งเน่ืองจากพนกั งานจงใจขดั คาสง่ั ของบริษทั ฯ อนั ชอบดว้ ยกฎหมาย หรือละเลยไมน่ าพาตอ่ คาสั่ง เช่นวา่ น้นั เป็นอาจิณ ละทิง้ การงาน กระทาความผดิ อยา่ งร้ายแรง หรือทาประการอ่ืนอนั ไมส่ มแก่การปฏิบตั ิ หนา้ ท่ีของตนใหล้ ลุ ว่ งไปโดยถูกตอ้ งและสุจริต หรือถูกเลิกจา้ งเนื่องจากเหตุตามหวั ขอ้ เรื่องการเลิกจา้ งโดยไม่ จา่ ยค่าชดเชย บริษทั ฯ ไม่ตอ้ งมีการบอกกล่าวหรือจา่ ยสินจา้ งแทนการบอกกล่าวลว่ งหนา้ แก่พนกั งาน ค. ทนั ทีที่พน้ สภาพการเป็นพนกั งาน จะตอ้ งคืนทรัพยส์ ินท้งั หมดของบริษทั ฯ ให้กบั บริษทั ฯ เช่น รถยนตป์ ระจา ตาแหน่ง กญุ แจ โทรศพั ทม์ ือถือ คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณ์/เครื่องมือช่าง หนงั สือหรือคู่มืออา้ งอิง เงินสดยอ่ ย เอกสารต่างๆ และเป็นหนา้ ท่ีของพนกั งานท่ีลาออกจะตอ้ งจดั การงานท่ีคา้ งและโอนงานใหเ้ รียบร้อย เป็นตน้ ใน การจ่ายเงินเดือนรอบสุดทา้ ยของเดือนท่ีลาออก บริษทั ฯ อาจจะจ่ายเป็นเชค็ เงินสดในกรณีท่ีพนกั งานไม่ สามารถคืนทรัพยส์ ินบริษทั ฯ และโอนงานใหเ้ รียบร้อยได้ ง. สิทธิจานวนวนั ลาในปี ที่ลาออกจะตอ้ งคานวนตามสดั ส่วนจานวนเดือนที่ทางานจริงในปี ที่ลาออก สาหรับ วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ที่ไมไ่ ดใ้ ชใ้ นปี ท่ีไดล้ าออกน้นั ผบู้ ริหารฝ่ ายและบริษทั ฯ สงวนสิทธิท่ีจะบริหารจดั การ ตามที่มีผลกระทบตอ่ งานและกลุม่ คนทางานท่ีเก่ียวขอ้ ง 1.18 การสัมภาษณ์เมื่อลาออกจากงาน ผจู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ รจะนดั พนกั งานที่แจง้ ลาออกเพอ่ื สมั ภาษณ์ก่อนหรือหลงั จากท่ีออกจากงาน โดยความเห็น และขอ้ เสนอแนะต่างๆ จะถกู บนั ทึกเพื่ออาจเป็นขอ้ มูลท่ีเป็นประโยชน์ท่ีสามารถใชใ้ นการพฒั นาองคก์ รตอ่ ไป ความเห็นที่พนกั งานใหไ้ วใ้ นการสมั ภาษณ์เพอื่ ลาออกน้นั รวมถึง ช่ือ สกุล ขอ้ มูลส่วนตวั ขอ้ มลู ลบั ของพนกั งาน ฝ่ ายพฒั นาองคก์ รจะไม่เปิ ดเผย เพือ่ ใหพ้ นกั งานรู้สึกเป็นอิสระในการแสดงความเห็น

18 / 37 บทที่ 2 ค่าจ้าง 2.1 กระบวนการบริหารและพจิ ารณาผลการปฏบิ ัติงาน กระบวนการบริหารและพจิ ารณาผลการปฏิบตั ิงาน รวมถึงการประเมินผลการทางาน การกาหนดเป้าหมาย การวาง แผนพฒั นาประจาปี จะทาร่วมกนั ระหวา่ งหวั หนา้ และพนกั งานตามรอบท่ีบริษทั กาหนด หลงั จากน้นั การปฏิบตั ิงาน และการพฒั นาสามารถทาไดต้ ่อเนื่องตลอดท้งั ปี และถือเป็นกิจกรรมที่สาคญั ของหวั หนา้ งานทกุ คน กิจกรรม ดงั กลา่ วไม่เพยี งแค่เป็นประโยชน์ต่อหวั หนา้ งานท่ีไดพ้ ิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน แตย่ งั เป็นประโยชน์อยา่ งยงิ่ ตอ่ พนกั งานที่จะไดร้ ับฟังขอ้ เด่น หรือจุดท่ีตอ้ งพฒั นาเพ่อื เพ่ิมพูนการปฏิบตั ิงานใหด้ ีข้ึน และยงั ใหโ้ อกาสพนกั งานได้ แสดงความคดิ เห็นต่อหวั หนา้ งานอีกดว้ ย รายละเอียดต่างๆ จะตอ้ งบนั ทึกในแบบประเมินผลและส่งสาเนาเกบ็ ที่ฝ่ าย พฒั นาองคก์ ร 2.2 นโยบายการพจิ ารณาค่าจ้างและการปรับเงินเดือนประจาปี นโยบายการพิจารณาคา่ จา้ ง (เงินเดือน) ของพนกั งานอย่บู นปัจจยั ต่อไปน้ี ก. ผลการปฏิบตั ิงานรายบุคคลและรวมถึงตวั ช้ีวดั ท่ีกาหนดไวก้ บั หวั หนา้ งานในฝ่ ายท่ีพนกั งานปฏิบตั ิงานอยู่ ข. ดชั นีช้ีวดั ที่กาหนด จากสานกั งานใหญ่ประเทศแคนาดา ค. ความจาเป็นในการเกบ็ รักษาพนกั งานที่มีความสามารถ เป็นกาลงั สาคญั ตอ่ ธุรกิจ ง. ภาวะเศรษฐกิจ และอตั ราเงินเฟ้อ การพจิ ารณาปรับเงินเดือนข้นึ อยกู่ บั นโยบายท่ีกลา่ วไวข้ า้ งตน้ พร้อมท้งั การประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาปี รวมถึงประสบการณ์ทางานของพนกั งาน และความซบั ซอ้ นของงาน ท้งั น้ีการปรับเงินเดือนของพนกั งานทกุ ปี พนกั งานท่ีมีสิทธิไดร้ ับการพจิ ารณาปรับเงินเดือนตอ้ งผา่ นทดลองงานและมีอายงุ าน 10 เดือนข้ึนไป การปรับเงินเดือนนอกเหนือจากการปรับประจาปี อาจกระทาไดเ้ มื่อเหตุจาเป็นโดยใหพ้ จิ ารณาเป็นรายบุคคล และ ใหถ้ ือการตดั สินใจข้นั สุดทา้ ยจากกรรมการบริหาร เหตุจาเป็นน้นั เช่น การเลื่อนข้นั เลื่อนตาแหน่ง (ท้งั กรณีท่ีสูงข้ึน หรือลดลง) การโยกยา้ ยเปล่ียนสายงาน ความจาเป็นในการรักษาพนกั งานในตาแหน่งท่ีสาคญั ต่อธุรกิจ ค่าจา้ งและสวสั ดิการจะระบุอยใู่ นสัญญาจา้ ง การปรับคา่ จา้ ง (เงินเดือน) พนกั งานจะไดร้ ับจดหมายแจง้ ปรับ เงินเดือนอยา่ งเป็นทางการจากบริษทั ฯ 2.3 เงนิ โบนัส เงินโบนสั พิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานและผลประกอบการของบริษทั ฯ ของการปฏิบตั ิงานระหวา่ ง เดือนมีนาคมปี ท่ีผา่ นมาถึงเดือนกมุ ภาพนั ธ์ของปี ปัจจุบนั พนกั งานที่มีสิทธิไดร้ ับการพจิ ารณาไดแ้ ก่ ก. พนกั งานไมม่ ีประวตั ิไดร้ ับการตกั เตือน (ไม่วา่ จะเป็นการตกั เตือนดว้ ยวาจาหรือลายลกั ษณ์อกั ษร) ในช่วงท่ี พจิ ารณา

19 / 37 ข. พนกั งานตอ้ งผา่ นการทดลองงาน มีสถานะเป็นพนกั งานประจา ค. พนกั งานเขา้ ใหม่ร่วมงานกบั บริษทั ฯ ตอ้ งมีอายงุ านครบสิบ (10) เดือนในช่วงที่พิจารณาจ่ายเงินโบนสั คอื เดือน มีนาคมปี ท่ีผา่ นมาถึงเดือนกุมภาพนั ธ์ปี ปัจจุบนั และการทางานที่ไมเ่ ต็มสิบสอง (12) เดือน ในช่วงที่พิจารณา จะตอ้ งลดทอนตามอตั ราส่วนจานวนเดือนท่ีปฏิบตั ิงานจริง ง. พนกั งานที่ลาออกในช่วงที่พจิ ารณาจ่ายเงินโบนสั ไม่มีสิทธิไดร้ ับเงินโบนสั จ. เงินโบนสั จะจา่ ยโดยการโอนเขา้ บญั ชีเงินเดือนของพนกั งาน จ่ายพร้อมกบั วนั จา่ ยเงินเดือน 2.4 การจ่ายค่าจ้าง บริษทั ฯ จะจา่ ยค่าจา้ ง ค่าตอบแทนต่างๆ ใหแ้ ก่พนกั งานทกุ ๆ วนั ท่ี 24 ของเดือนโดยโอนเขา้ บญั ชีธนาคารท่ีพนกั งาน ไดใ้ หไ้ วก้ บั ฝ่ ายพฒั นาองคก์ ร หากวนั ที่ 24 ตรงกบั วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์หรือวนั หยดุ ตามประเพณี การจา่ ยเงิน ดงั กล่าวจะเลื่อนข้ึนมาใหต้ รงกบั วนั ทางานปกติ ยกเวน้ พนกั งานท่ียงั ไมผ่ า่ นทดลองงาน หรือพนกั งานที่แจง้ ลาออก จะจา่ ยในวนั ส้ินเดือน พนกั งานยนิ ยอมใหบ้ ริษทั ฯ หกั รายการตา่ งๆ ตามที่กฎหมายกาหนด เช่น ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา เงินสมทบ ประกนั สังคม เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพสมาชิก ค่าลดหยอ่ น ค่าประกนั สุขภาพกลมุ่ ฯลฯ ตามท่ีพนกั งานได้ ใหร้ ายละเอียดไวใ้ นแบบแจง้ รายการเพือ่ การหกั ลดหยอ่ น (ลย. 01) ฝ่ ายพฒั นาองคก์ รทาการปิ ดรอบทาระบบการจา่ ยค่าจา้ งและคา่ ตอบแทนทุกวนั ที่ 15 ของเดือน เพือ่ ใหก้ ารเตรียม ขอ้ มลู การคานวณและการตรวจสอบทนั รอบการจา่ ยในวนั ท่ี 24 ของเดือนปัจจุบนั หากมีค่าตอบแทนตา่ งๆ เกิดข้นึ หลงั จากวนั ท่ี 15 พนกั งานจะไดร้ ับพร้อมคา่ จา้ งและคา่ ตอบแทนในรอบถดั ไป พนกั งานจะไดร้ ับ Payslip ทกุ เดือน ขอ้ กาหนดอื่นๆ ในหมวดคา่ จา้ ง มีดงั น้ี ก. การคานวณอตั ราคา่ จา้ ง ทุกๆ เดือน ใหถ้ ือวา่ หน่ึงเดือนมีสามสิบ (30) วนั ข. สาหรับ เดือนกุมภาพนั ธ์ ใหใ้ ชฐ้ านสามสิบ (30) วนั ในการคานวณค่าจา้ งเช่นกนั และพนกั งานท่ีไม่ไดม้ าเร่ิม งาน ณ วนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ ใหน้ บั วนั ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ คือสามสิบ (30) วนั ลบดว้ ย วนั ท่ีไม่ไดม้ าเร่ิมงาน ค. ยกเวน้ เร่ืองประเภทเดียวเทา่ น้นั คือ การคานวณ การทางานล่วงเวลา การทางานในวนั หยดุ หรือทางานล่วงเวลา ในวนั หยดุ ใหค้ านวณโดยนาฐานอตั ราคา่ จา้ งหารดว้ ยยสี่ ิบวนั คร่ึง ( 20.5 ) วนั ซ่ึงเป็นคณุ แก่พนกั งาน 2.5 ข้อพงึ ระวัง พนกั งานมีหนา้ ท่ีเก็บขอ้ มูลค่าจา้ งและคา่ ตอบแทนท้งั หมดเป็นความลบั รวมถึงผลการประเมินตา่ งๆ โดยหา้ ม เปิ ดเผยตอ่ ผใู้ ดแมแ้ ตเ่ พื่อนร่วมงานดว้ ยกนั การเปิ ดเผยขอ้ มูลดงั กลา่ วถือเป็นความผดิ ทางวินยั และตอ้ งลงโทษตาม ระเบียบ

20 / 37 บทที่ 3 การฝึ กอบรมและการพฒั นา 3.1 การกาหนดเป้าหมาย การกาหนดเป้าหมาย โครงงาน ความคาดหวงั ในการทางาน การกาหนดตวั ช้ีวดั การวางแผนพฒั นา ซ่ึงจะทาใน กระบวนการน้ี หวั หนา้ งานและพนกั งานในทีมควรมีการสนทนาในเรื่องการปฏิบตั ิงานอยสู่ ม่าเสมอ ในระหวา่ งการ สนทนาท้งั สองฝ่ ายจะมีโอกาสที่จะแสดงความเห็นในสิ่งที่จาเป็นในการต้งั เป้าหมายและวิธีการท่ีจะไปถึงเป้าหมาย รายละเอียดต่างๆ จะตอ้ งบนั ทึกไวเ้ พ่ือทบทวนความคืบหนา้ ในบทสนทนาเพ่ือการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง เม่ือมีการเปล่ียนแปลง เพม่ิ หรือลดหนา้ ท่ีความรับผิดชอบใหห้ วั หนา้ งานปรับปรุง คาบรรยายลกั ษณะงาน (Job Description) ใหพ้ นกั งานในทีมไดร้ ับทราบ ในขณะเดียวกนั พนกั งานในทีมควรร้องขอ คาบรรยายลกั ษณะงานจาก หวั หนา้ งานไดเ้ ช่นกนั 3.2 การฝึ กอบรม วตั ถุประสงคเ์ บ้ืองตน้ ของการฝึกอบรมและการพฒั นาคอื สนบั สนุนความสาเร็จในสายอาชีพของพนกั งานตามที่ได้ วางแผนไวใ้ นกระบวนการบริหารและพจิ ารณาผลการปฏิบตั ิงาน การพฒั นาทกั ษะความรู้ความสามารถและทศั นคติ ท่ีดีเพ่ือท่ีจะปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและถา่ ยทอดความรู้สู่คนรอบขา้ ง การฝึกอบรมและพฒั นาน้นั สามารถ กระทาไดห้ ลากหลายช่องทาง เช่น การส่งพนกั งานเขา้ รับการอบรมในช้นั เรียน การอบรมจากการปฏิบตั ิงานจริง หรือการหาขอ้ มลู ตามช่องทางออนไลนต์ า่ งๆ สาหรับการฝึกอบรมท่ีมีคา่ ใชจ้ ่าย โดยทว่ั ไปบริษทั ฯ จะรับผิดชอบค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมและการพฒั นาสาหรับ การประชุมสัมมนา/การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ/หลกั สูตรระยะส้ัน (ตามท่ีผบู้ ริหารฝ่ ายและผจู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ ร พจิ ารณาอนุมตั ิ) หลงั จากเขา้ ร่วมประชุมสมั มนา/ประชุมเชิงปฏิบตั ิการหรือหลกั สูตรระยะส้นั แลว้ พนกั งานควร แบง่ ปันและถ่ายทอดความรู้ไปยงั พนกั งานในแผนกของตนหรือแผนกที่เกี่ยวขอ้ งต่อไป คาขอเขา้ ฝึกอบรมท้งั หมด ตอ้ งพจิ ารณาและเช่ือมโยงกบั กระบวนการบริหารและพจิ ารณาผลการปฏิบตั ิงาน และตอ้ งไดร้ ับการอนุมตั ิจาก ผบู้ ริหารฝ่ าย จากน้นั พนกั งานตอ้ งลงบนั ทึกในแบบประเมินผลเกบ็ ไวเ้ ป็นขอ้ มลู อา้ งอิง

21 / 37 บทที่ 4 การลาหยุด 4.1 วนั หยดุ พกั ผ่อนประจาปี พนกั งานมีสิทธิหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ไดต้ ามสิทธิดงั ต่อไปน้ี อายุงาน จานวนวัน อายงุ าน 0 – นอ้ ยกวา่ 1 ปี 8 วนั ทางาน 9 วนั ทางาน ครบ 1 ปี 10 วนั ทางาน ครบ 2 ปี 11 วนั ทางาน ครบ 3 ปี 12 วนั ทางาน ครบ 4 ปี 13 วนั ทางาน ครบ 5 ปี 14 วนั ทางาน ครบ 6 ปี ก. พนกั งานท่ีเริ่มงานใหม่และอยใู่ นระยะทดลองงานจะหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ไดเ้ มื่อผา่ นการทดลองงานแลว้ ข. สาหรับปี แรกท่ีเริ่มงาน และปี ท่ีแจง้ ลาออกจากงาน หากอายงุ านไมค่ รบสิบสอง (12) เดือนตามปฏิทิน สิทธิ การลาพกั ร้อนตอ้ งปรับตามสดั ส่วนจานวนเดือนที่ทางานจริง ค. พนกั งานตอ้ งส่งคาขอลาหยดุ ล่วงหนา้ เพื่อขออนุมตั ิจากหวั หน้างาน และใหท้ ุกฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ งไดว้ างแผน หรือมอบหมายงานไดอ้ ยา่ งราบร่ืนในช่วงท่ีพนกั งานลาหยดุ จนกระทง่ั กลบั เขา้ ทางาน ง. แนะนาใหพ้ นกั งานส่งการขอลาหยดุ ล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ยหา้ (5) วนั สาหรับการลาหยดุ ทุกประเภท ยกเวน้ ลา ป่ วย หรือมีเหตุจาเป็น จ. การลาหยดุ ของพนกั งานอยใู่ นดุลพนิ ิจของหวั หนา้ งานวา่ จะอนุมตั ิหรือไม่น้นั (ซ่ึงหวั หนา้ มีสิทธิทาไดต้ าม พรบ. คมุ้ ครองแรงงาน) ข้นึ อยกู่ บั ความเหมาะสมและปริมาณงานในช่วงระยะเวลาท่ีขอลาหยดุ ฉ. บริษทั ฯ ไมอ่ นุญาตใหพ้ นกั งานยกยอดวนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ที่ใชไ้ ม่หมดในปี ปัจจุบนั ไปใชใ้ นปี ถดั ไป ช. พนกั งานอาจขอหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี กระทนั หนั ในกรณีท่ีเกิดเหตปุ ัจจุบนั ทนั ด่วนเพ่อื ไปจดั การธุระ ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั ดุลพินิจของหวั หนา้ งาน ซ. พนกั งานที่ลาหยดุ คร่ึงวนั ในช่วงบา่ ย สามารถเร่ิมการหยดุ ไดต้ ้งั แต่ 12.00 น. เป็นตน้ ไป หรือคร่ึงวนั เชา้ ตอ้ งกลบั มาทางานในเวลา 13.00 น. 4.2 การลาป่ วย พนกั งานมีสิทธิลาป่ วยไดเ้ ทา่ ที่ป่ วยจริงโดยไดร้ ับค่าจา้ งไม่เกินสามสิบ (30) วนั ทางานต่อปี การลาป่ วยต้งั แต่สาม (3) วนั ทางานติดต่อกนั พนกั งานจะตอ้ งส่งใบรับรองของแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงหรือของสถานพยาบาลท่ีไดร้ ับ อนุญาต ใหห้ ัวหนา้ งานหากไม่เช่นน้นั พนกั งานจะตอ้ งช้ีแจงต่อหวั หนา้ งาน

22 / 37 กรณีที่พนกั งานป่ วยอยเู่ ป็นประจาสม่าเสมอ บริษทั ฯ สามารถส่งพนกั งานใหไ้ ปตรวจอาการกบั แพทยท์ ี่โรงพยาบาล ท่ีบริษทั ฯ จดั หาใหไ้ ดแ้ ละจะตอ้ งปฏิบตั ิตามคาส่ังแพทยอ์ ยา่ งเคร่งครัดเพ่อื ใหม้ ีสภาวะสุขภาพท่ีแขง็ แรงและพร้อม ปฏิบตั ิงาน ท้งั น้ีพนกั งานควรระวงั หรือประเมินสภาพแวดลอ้ ม การบริโภค กิจกรรมที่ทาในวนั หยดุ อนั อาจส่งผล กระทบใหเ้ กิดการเจ็บป่ วย ควรดูแลสุขภาพใหพ้ ร้อมปฏิบตั ิงาน 4.3 การลาสมรส พนกั งานมีสิทธิลาสมรสไดเ้ ม่ือผา่ นการทดลองงานรับการยนื ยนั บรรจุเป็นพนกั งานประจา โดยไดร้ ับคา่ จา้ งเป็น เวลาสาม (3) วนั การลาเพอ่ื สมรสใชส้ ิทธิไดห้ น่ึง (1) คร้ังตลอดสภาพการเป็นพนกั งาน โปรดใชส้ าเนาทะเบียนสมรส หรือบตั รเชิญงานแต่งงานและรูปการจดั งานแตง่ งาน (กรณีไม่จดทะเบียนสมรส) แนบการลา 4.4 การลาคลอด พนกั งานหญิง มีสิทธิลาเพือ่ คลอดบุตรไดต้ ่อหน่ึงครรภไ์ มเ่ กินเกา้ สิบแปด (98) วนั โดยไดค้ ่าจา้ งตามจริงแต่ไมเ่ กินสี่ สิบหา้ (45) วนั การนบั วนั ลาคลอดใหน้ บั รวมวนั หยดุ ท่ีมีในระหวา่ งวนั ลาดว้ ย การลาเพื่อตรวจครรภ์ หรือลาพกั เพอื่ เตรียมคลอดใหถ้ ือรวมเป็นการลาเพอื่ คลอดบตุ ร วนั ที่พนกั งานลาคลอดไม่ใหถ้ ือวา่ เป็นการลาป่ วย ในกรณีแทง้ บตุ ร หากอายคุ รรภไ์ มค่ รบยส่ี ิบแปด (28) สัปดาห์ ถือเป็นกรณีลาป่ วย 4.5 การลาเพ่ือดูแลภรรยาคลอดบตุ ร สาหรับพนกั งานชาย มีสิทธิลาเพ่ือดูแลภรรยาที่อยใู่ นช่วงคลอดบตุ รตอ่ หน่ึงครรภไ์ ดส้ ิทธิลาโดยไดร้ ับคา่ จา้ ง จานวนหา้ (5) วนั การลาประเภทน้ี อนุญาตใหล้ าติดตอ่ กนั ครบจานวนในคราวเดียวได้ หรือใหแ้ บ่งการลาเป็นคร้ัง คราวตามความจาเป็นของภรรยา อยา่ งไรก็ดีการลาเพื่อดูแลภรรยาคลอดในหน่ึงคร้ัง ตอ้ งใชส้ ิทธิใหห้ มดภายในสิบ สอง (12) เดือนตามปี ปฏิทิน ไมส่ ามารถเกบ็ สะสมไวส้ าหรับการลาคลอดครรภต์ อ่ ไปได้ โปรดแนบสาเนาสูติบตั รของบุตรในการลา หรือใชส้ าเนาจดทะเบียนรับรองบุตรสาหรับพนกั งานชาย 4.6 การลากิจ การลากิจ หมายถึงการลาเพ่อื ทากิจธุระ เช่น ติดตอ่ หน่วยงานราชการ หน่วยงานตา่ งๆ ดว้ ยตวั เองและหน่วยงานน้นั ๆ ไมเ่ ปิ ดทาการในวนั หยดุ พนกั งานมีสิทธิลากิจไดส้ าม (3) วนั ต่อปี โดยไดร้ ับคา่ จา้ ง การลาเพื่อเขา้ พธิ ีรับปริญญาบตั ร ลาเพราะเหตุภยั ธรรมชาติท่ีกระทบกบั ความเป็นอยปู่ กติของตนเองและเดินทางไป ปฏิบตั ิงาน ให้ใชป้ ระเภทการลากิจ โปรดแนบสาเนาเอกสารจากหน่วยงานท่ีไปติดต่อ หรือรูปถ่ายเหตุการณ์ธรรมชาติท่ีส่งผลกระทบความเป็นอยู่

23 / 37 4.7 การลาบวช พนกั งานชายมีสิทธิลาบวชไดเ้ ม่ือผา่ นการทดลองงานรับการยนื ยนั บรรจุเป็นพนกั งานประจา และมีอายงุ านครบ สาม (3) ปี บริบรู ณ์ มีสิทธิลาบวชโดยไดร้ ับคา่ จา้ งเป็นเวลาสิบหา้ (15) วนั ทางาน มีสิทธิลาบวชหน่ึง (1) คร้ังตอ่ สภาพการจา้ ง โปรดแนบสาเนาหนงั สือสุทธิสาหรับพระภิกษสุ งฆใ์ นการลา 4.8 การลาเพื่อดแู ลคนในครอบครัวเกิดการเจ็บป่ วย หรือการลาเพอ่ื พธิ ศี พของคนในครอบครัว พนกั งานมีสิทธิลาโดยไดร้ ับคา่ จา้ งหา้ (5) วนั ตอ่ ปี ในกรณีสมาชิกในครอบครัวพนกั งานเจบ็ ป่ วย หรือเสียชีวิต โปรดแนบสาเนารับรองแพทย์ หรือใบมรณะบตั รในการลา 4.9 การลาโดยไม่ได้รับค่าจ้าง โดยหลกั การแลว้ วนั ลาท่ีจดั ให้พนกั งานถือวา่ เหมาะสมและเพยี งพอ การลาโดยไมร่ ับคา่ จา้ งน้นั จึงมกั ไม่แนะนาให้ พนกั งานใช้ เพราะจะทาใหพ้ นกั งานเสียสิทธิบางอยา่ ง เช่น การนาส่งเงินสมทบประกนั สังคม จานวนเงินสมทบ กองทุนสารองเล้ียงชีพฝ่ังนายจา้ ง อยา่ งไรกด็ ีพนกั งานอาจมีเหตุจาเป็นและการลาหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ไดใ้ ชไ้ ป หมดแลว้ การลาโดยไมร่ ับคา่ จา้ งใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ ิจของหวั หนา้ งานและผบู้ ริหารฝ่ าย และจะตอ้ งเป็นเหตุจาเป็น การพจิ ารณาให้ อยบู่ นพ้นื ฐานของความสมดุลในการบริหารความจาเป็นส่วนตวั และมีผลกระทบที่เกิดกบั งานนอ้ ยท่ีสุด การขอลาโดยไมร่ ับคา่ จา้ งใหพ้ ิจารณาใชเ้ ป็นคร้ังคราวตามเหตุจาเป็นบางประการ และอนุมตั ิตามข้นั ตอน (ผบู้ ริหาร ฝ่ าย ผจู้ ดั การฝ่ายพฒั นาองคก์ ร และกรรมการบริหารเป็นข้นั สูงสุด) 4.10 การลาทาหมนั พนกั งานมีสิทธิลาเพือ่ ทาหมนั โดยไดร้ ับค่าจา้ งตามระยะเวลาท่ีแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงกาหนดและออก ใบรับรอง โดยไดร้ ับคา่ จา้ งสอง (2) วนั ต่อสภาพการจา้ งงาน 4.11 การลาเพ่ือรับราชการทหาร บริษทั ฯ อนุญาตใหพ้ นกั งานลาไปรับราชการทหารเน่ืองจากถกู เรียกระดมพลหรือรับการฝึกอบรมเพิ่มเติมได้ ตาม กาหนดเวลาท่ีทางราชการตอ้ งการ (ยกเวน้ การเกณฑท์ หาร) โดยพนกั งานตอ้ งรายงานตวั ตอ่ หวั หนา้ พร้อมท้งั แสดง หลกั ฐานนบั แต่ไดร้ ับหมายเรียกเป็นตน้ ไป ท้งั น้ี บริษทั ฯ จะจ่ายคา่ จา้ งใหต้ ามระยะเวลาที่ลาแตไ่ มเ่ กินปี ละหกสิบ (60) วนั โดยเม่ือพนกั งานกลบั จากการไปรับ ราชการทหารแลว้ ใหน้ าหลกั ฐานแสดงการไปรับราชการทหารเน่ืองจากถูกเรียกระดมพลหรือรับการฝึกอบรม

24 / 37 เพ่ิมเติมมามอบต่อหวั หนา้ หรือผูบ้ ริหารฝ่ ายหากไม่มีหลกั ฐานดงั กลา่ ว บริษทั ฯ จะถือวา่ พนกั งานน้นั ขาดงานหรือละ ทิ้งหนา้ ที่ 4.12 การลาอื่นๆ ก. การขอลาหยดุ การขอเปลี่ยนวนั ลาหยดุ การยกเลิกวนั ลาหยดุ จะตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิจากหวั หนา้ งานทกุ คร้ัง ข. ในช่วงที่มีวนั หยดุ ตามประเพณีนิยมติดต่อกนั หลายวนั ไมอ่ นุญาตให้พนกั งานในฝ่ ายเดียวกนั ลาหยดุ พร้อมกนั เพราะจะทาใหธ้ ุรกิจติดขดั ค. การขอลาหยดุ ตอ้ งเป็นคร้ังละ คร่ึงวนั (0.5) หรือเต็มวนั การลาเพยี งสอง (2) หรือสาม (3) ชวั่ โมงจะตอ้ งย่ืนขอ ลาเป็นคร่ึงวนั (0.5) ง. สาหรับในปี ท่ีพนกั งานทางานไม่เตม็ ปี ปฏิทิน เช่น ปี แรกท่ีเร่ิมงานและปี สุดทา้ ยท่ีลาออกจากงาน วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี วนั ลาป่ วย วนั ลากิจ จะคานวณตามสดั ส่วนจานวนเดือนที่ทางานจริงในปี น้นั จ. การลาเพ่ืออบรม ใหอ้ า้ งอิงบทที่ 3 ฉ. การลาทุกประเภท (ยกเวน้ การลาป่ วย) ตอ้ งแจง้ ล่วงหนา้ ช. แนวคิดเพอื่ ใชใ้ นการคานวณวนั ลาหยดุ 1) สาหรับพนกั งานที่เริ่มงานระหวา่ งวนั ท่ี 1 ถึง 15 ใหน้ บั เป็น 1 เดือน (เพอื่ การคานวณสิทธิวนั ลาเท่าน้นั ) 2) สาหรับเศษของการคานวณ หากนอ้ ยวา่ คร่ึงวนั (0.5) จะตอ้ งปัดลงใหเ้ ป็นจานวนเตม็ หากเศษของการ คานวณเป็นคร่ึงวนั (0.5) หรือมากกวา่ จะปัดข้ึนใหเ้ ป็นจานวนเตม็ 3) สิทธิการลาทุกประเภทกาหนดใหไ้ วต้ ามปี ปฏิทิน (เดือนมกราคม ถึงเดือนธนั วาคม) ยกเวน้ 4.4 การลา คลอดและ 4.5 การลาเพือ่ ดูแลภรรยาคลอดบตุ ร นบั ตามคร้ังท่ีลาต่อหน่ึงครรภ์

25 / 37 บทที่ 5 สวัสดิการและผลประโยชน์ 5.1 การตรวจสุขภาพและการรับวัคซีน ก. พนกั งานควรตรวจสุขภาพประจาปี โดยบริษทั ฯ จดั ใหม้ ีการตรวจสุขภาพพ้ืนฐานให้กบั พนกั งานปี ละหน่ึงคร้ัง ภายใตป้ ระเภทรายการตรวจท่ีเหมาะสมกบั ช่วงอายุ โดยโรงพยาบาลท่ีบริษทั ฯ กาหนดเท่าน้นั ถา้ มีค่าใชจ้ า่ ย เพม่ิ เติมนอกเหนือจากรายการตรวจที่กาหนดให้ ถือเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยส่วนตวั ของพนกั งาน หากตอ้ งมีการตรวจ ทดสอบเพิม่ เติมหรือแพทยท์ ่ีตรวจแนะนาใหท้ ดสอบ ซ่ึงไมอ่ ยใู่ นรายการตรวจสุขภาพที่บริษทั ฯ จดั ให้ ถือเป็น ความสมคั รใจของพนกั งาน และพนกั งานรับผิดชอบค่าใชจ้ ่ายในส่วนท่ีเพิม่ เอง ข. เพื่อเป็นการลดความเส่ียงเมื่อมีภาวะโรคระบาด บริษทั ฯ อาจจดั ใหพ้ นกั งานไดร้ ับวคั ซีนท่ีเหมาะสม บริษทั ฯ จะ เป็นฝ่ ายประเมินความเส่ียงวา่ การฉีดวคั ซีนประเภทใดเป็นสิ่งแนะนา โดยใชพ้ ้นื ฐานและเง่ือนไขในทอ้ งถ่ิน น้นั ๆ เพอื่ ใหพ้ นกั งานไดร้ ับความปลอดภยั 5.2 การประกันกล่มุ บริษทั ฯ จดั ทาประกนั ชีวิต ประกนั สุขภาพและประกนั อุบตั ิเหตุใหพ้ นกั งานทกุ คนโดยยดึ จากประกาศหรือ ขอ้ กาหนดของบริษทั ฯ 5.3 สวสั ดกิ ารตามโอกาส ก. พนกั งานมีสิทธิไดร้ ับเช็คของขวญั แต่งงานมูลค่า 3,000 บาท (สามพนั บาท) จากบริษทั ฯ เป็นจานวนหน่ึง (1) คร้ัง โดยการแสดงทะเบียนสมรสเป็นหลกั ฐานในการเบิกสวสั ดิการ หรือบตั รเชิญงานแต่งงานและรูปการจดั งานแตง่ งาน (กรณีไม่จดทะเบียนสมรส) ข. ของขวญั ทารกแรกเกิด สาหรับพนกั งานชายและพนกั งานหญิงมีสิทธิไดส้ วสั ดิการน้ี มลู ค่าไมเ่ กิน 2,000 บาท (สองพนั บาท) ตอ่ การคลอดบุตรหน่ึงครรภแ์ ละจากดั ไมเ่ กินสอง (2) คร้ัง ตลอดสภาพการจา้ ง โดยแสดงสาเนา ใบสูติบตั รหรือใบรับรองบุตร สาหรับกรณีท่ีเป็นสามี/ภรรยา ในบริษทั ฯ เดียวกนั ให้ใชส้ ิทธิเพียงท่านเดียว ค. บริษทั ฯ รับเป็นเจา้ ภาพสวดอภิธรรมในงานศพของสมาชิกในครอบครัว จานวน 5,000 บาท (หา้ พนั บาท) และ ใหเ้ งินช่วยเหลือพนกั งานจานวน 3,000 บาท (สามพนั บาท) และพวงหรีดมลู คา่ 1,500 บาท(หน่ึงพนั หา้ ร้อย บาท) เป็นจานวนสอง (2) คร้ังตลอดสภาพการจา้ ง โดยแสดงสาเนามรณะบตั ร 5.4 รางวลั สาหรับพนักงานท่ีมอี ายุงานนาน เพือ่ เป็นการตอบแทนพนกั งานที่ทางานกบั บริษทั ฯมาอยา่ งยาวนานและมีความซื่อสตั ยต์ ่อบริษทั ฯ ฉะน้นั ในกรณีท่ี พนกั งานไดท้ างานและมีอายงุ านต่อเน่ืองครบตามที่กาหนดจะไดร้ ับรางวลั ตอบแทนเป็นเงินหรือของขวญั อยา่ งใด อยา่ งหน่ึงตามที่บริษทั ฯ กาหนด

26 / 37 โดยในปี ที่พนกั งานมีอายงุ านครบบริบูรณ์ตามจานวนปี ท่ีกลา่ ว บริษทั ฯ จะประกาศและมอบรางวลั ให้พนกั งานใน เดือนธนั วาคมของปี ท่ีพนกั งานมีอายงุ านครบบริบรู ณ์ 5.5 สวัสดิการด้านสันทนาการหรืออ่ืนๆ บริษทั ฯ เสริมสร้างใหม้ ีความสามคั คีกลมเกลียวต่อกนั บริษทั ฯ อาจจดั ใหม้ ีกิจกรรมต่างๆ ตามความหมาะสม โดยการหารือร่วมกนั ระหวา่ งฝ่ ายบริหารและคณะกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบกิจการ สวสั ดิการดา้ น สันทนาการ เช่น ก. เคร่ืองด่ืมใหค้ วามสดชื่นในวนั ทางาน ข. ขา้ วสวยม้ือกลางวนั ค. จดั เล้ียงอาหารพนกั งานตามโอกาส ง. เครื่องแต่งกายที่มีโลโกบ้ ริษทั จ. ของเยยี่ มไขใ้ นกรณีพนกั งานเจ็บป่ วยเขา้ พกั รักษาตวั ในโรงพยาบาล (ผปู้ ่ วยใน) มลู คา่ ไม่เกิน 1,000 บาท (หน่ึง พนั บาท) ท้งั น้ีบริษทั ฯ สงวนสิทธิในการปรับเปลี่ยนสวสั ดิการตา่ งๆ ตามความจาเป็นและเหมาะสม

27 / 37 บทท่ี 6 วนิ ัยและโทษทางวนิ ยั ในการทางานร่วมกนั อยา่ งสันติสุข จาเป็นตอ้ งมีระเบียบวินยั ในการทางาน เพ่ือใหเ้ กิดความสงบเรียบร้อย ปลอดภยั และเพอ่ื ใหเ้ กิดความเจริญกา้ วหนา้ แก่บริษทั ฯ และพนกั งานทกุ คน ดงั น้นั บริษทั ฯ จึงถือกฎ และระเบียบขอ้ บงั คบั ทางวินยั ต่าง ๆ เป็นสิ่งสาคญั ยง่ิ ในการดาเนินกิจการของบริษทั ฯ พนกั งานทุกคนตอ้ งปฏิบตั ิตามอยา่ งเคร่งครัดซ่ึง ระเบียบวนิ ยั อนั ดี ขณะเดียวกนั กเ็ พือ่ รักษาไวซ้ ่ึงผลประโยชนข์ องบริษทั ฯ และบรรยากาศในการทางานร่วมกนั อยา่ งไรกด็ ีการกระทาใดๆ ท่ีกฎและระเบียบขอ้ บงั คบั ของบริษทั ฯ ท่ีมิไดก้ าหนดไว้ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ พนกั งานท่ี กระทาผิดน้นั จะพน้ จากการถูกลงโทษ เพราะฉะน้นั ในกรณีที่มีผไู้ ม่ปฏิบตั ิตามกฎ บริษทั ฯ จะลงโทษตามข้นั ตอน ระเบียบวนิ ยั น้นั ๆ ไดก้ ลา่ วไวโ้ ดยครอบคลุมในคู่มือพนกั งานน้ี โดยอาจกลา่ วยกตวั อยา่ งถึงวินยั ที่พนกั งานควร ประพฤติปฏิบตั ิไวด้ งั น้ี 6.1 ระเบียบวินยั เก่ียวกับการทางาน ก. เคารพและปฏิบตั ิตามระเบียบ ขอ้ กฎหมายของประเทศไทย และระเบียบวินยั ประกาศ คาแนะนาตา่ งๆ นโยบายระดบั ประเทศและระดบั สากล ของบริษทั ฯ รวมไปถึงค่มู ือหลกั จรรยาบรรณทางธุรกิจ ของบริษทั ฯ ข. เคารพและปฏิบตั ิตามคาสั่งโดยชอบของผบู้ งั คบั บญั ชา ค. ใหเ้ กียรติตอ่ หวั หนา้ และเพอ่ื นร่วมงาน ง. รักษาชื่อเสียง ภาพพจน์ และผลประโยชนข์ องบริษทั ฯ จ. รักษาขอ้ มลู ของบริษทั ฯ เป็นความลบั ไมเ่ ปิ ดเผยใหบ้ คุ คลภายนอกทราบโดยเด็ดขาด ฉ. การใดท่ีพนกั งานคิดคน้ ข้ึนมาไดถ้ ือเป็นทรัพยส์ ินทางปัญญาของบริษทั ฯ ช. ตอ้ งใชท้ รัพยส์ ินของบริษทั ฯ อยา่ งระวงั รักษา ซ. เป็นหนา้ ท่ี ที่ตอ้ งแจง้ ขอ้ มูลส่วนตวั ตอ่ บริษทั ฯ ท่ีถกู ตอ้ งและเป็นจริง ฌ. ใหค้ วามร่วมมือกบั บริษทั ฯ ในการสอบสวนเรื่องราวตา่ งๆ ท่ีบริษทั ฯ ตอ้ งการและการร่วมมือดงั กลา่ วตอ้ ง กระทาดว้ ยความสุจริตโปร่งใส ญ. พนกั งานตอ้ งยินยอมใหเ้ จา้ หน้าท่ีรักษาความปลอดภยั ของบริษทั ฯ หรือผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย จากบริษทั ฯ ตรวจ คน้ ในกรณีท่ีเกิดความสงสยั วา่ จะมีส่ิงของท่ีผดิ กฎหมายหรือไดม้ าจากการกระทาผิดกฎหมายหรือมีอาวุธอยใู่ น ครอบครองของพนกั งาน ฎ. ไมด่ ดั แปลง ปลอม แกไ้ ข ตดั ทอนหรือทาลายเอกสารตา่ งๆ ของบริษทั ฯ หรือเอกสารที่มีความเกี่ยวขอ้ งกบั บริษทั ฯ รวมถึงไม่ปลอมลายมือช่ือผมู้ ีอานาจลงนาม ฏ. ไม่จงใจ หรือเจตนาปฏิบตั ิงานใหล้ ่าชา้ ฐ. ไม่แจง้ หรือรายงานความเทจ็ หรือปกปิ ดขอ้ เท็จจริงเกี่ยวกบั การทางานต่อผบู้ งั คบั บญั ชา ฑ. ไมใ่ ชเ้ วลาทางานของบริษทั ฯ เพอ่ื ทากิจธุระส่วนตวั หรือกระทาการใดๆ ท่ีไมเ่ กี่ยวกบั งานในหนา้ ที่ ฒ. ไมแ่ สวงหาหรือยอมรับผลประโยชนใ์ ด ๆ จากคณะบุคคลหรือบคุ คลใดซ่ึงติดต่อคา้ ขายหรือกาลงั หาทางติดตอ่ คา้ ขายกบั บริษทั ฯ หรือ ประกอบกิจการอนั เป็ นการแข่งขนั กบั บริษทั ฯ

28 / 37 ณ. ไม่ปลอ่ ยใหเ้ กิดการสูญเสียแก่เครื่องมือ เคร่ืองใช้ หรือทรัพยส์ ินอื่นใดของบริษทั ฯ ด. ไมน่ าเคร่ืองมือเครื่องใช้ หรือทรัพยส์ ินอ่ืนใดของบริษทั ฯ ไปใชเ้ พื่อประโยชนส์ ่วนตวั หรือ ผอู้ ่ืน 6.2 ระเบยี บวนิ ัยเกี่ยวกบั ความประพฤติ ก. ไม่ประพฤติตนไปในทางที่จะนาความเสื่อมเสียช่ือเสียงมาสู่ตนเองหมคู่ ณะหรือบริษทั ฯ ข. ไมใ่ ชก้ ิริยาทา่ ทางหรือวาจา ส่อเสียด กา้ วร้าว ดูหม่ิน เหยยี ดหยาม ไม่สุภาพต่อเพือ่ นร่วมงานและผอู้ ื่น ค. ไม่กระทาหรือสนบั สนุนใหม้ ีการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายเพื่อนร่วมงาน ง. ไม่แพร่ขา่ วลือ ข่าวอกศุ ล ขา่ วเชิงจดหมายลูกโซ่ หรือใส่ร้ายผอู้ ื่น แอบอา้ งทาใหเ้ กิดความเสียหาย ความเขา้ ใจผดิ แก่พนกั งานหรือบริษทั ฯ หรือก่อใหเ้ กิดความแตกแยกความสามคั คีในระหวา่ งพนกั งานดว้ ยกนั จ. ไม่นาส่ิงเสพติด สุรา ของมึนเมา อาวุธ และของท่ีผิดกฎหมายเขา้ มาบริเวณบริษทั ฯ ฉ. ไมเ่ ล่นการพนนั ทุกชนิดในบริเวณบริษทั ฯ ช. ไมส่ ร้างความราคาญ หรือล่วงล้าความเป็นส่วนตวั ของเพ่ือนร่วมงานหากไม่ไดร้ ับอนุญาต ซ. ควรใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั อุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั ตา่ งๆ อยา่ งเคร่งครัด และปฏิบตั ิตามหลกั ความปลอดภยั อาชีว อนามยั และสภาพแวดลอ้ มอยา่ งเคร่งครัด ฌ. ไม่ใหพ้ นกั งานพูดจาหยอกลอ้ ส่งเสียงดงั รบกวน หรือกระทาใดๆ ที่อาจเป็นการรบกวนเพ่ือนร่วมงาน ญ. ไม่เสพส่ิงเสพติด สุรา หรือส่ิงมึนเมาระหวา่ งการปฏิบตั ิหนา้ ที่ไมว่ า่ จะเป็นในหรือนอกเวลาทางาน ฎ. ไมก่ ระทาหรือใหค้ วามร่วมมือในการโจรกรรม หรือทาลายทรัพยส์ ินของบริษทั ฯ หรือกระทาการอยา่ งใดอนั เป็นผลใหบ้ ริษทั ฯ ไดร้ ับความเสียหาย ฏ. ไม่ดาเนินการหรือกระทาการใดๆ ในทางท่ีขดั ตอ่ กฎหมายหรือศีลธรรมอนั ดี อนั อาจมีผลใหบ้ ริษทั ฯ ไดร้ ับ ความเสียหาย ฐ. ไม่แจกใบปลิว ติดป้ายประกาศ ออกแถลงการณ์ หรือใชเ้ ครื่องขยายเสียงในบริเวณบริษทั ฯ เวน้ แต่ไดร้ ับอนุญาต จากกรรมการบริหารหรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมายเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ฑ. ไมเ่ ปิ ดเผยค่าจา้ ง คา่ ตอบแทน ผลการพิจารณาต่างๆ ของตนเอง ฒ. ไมใ่ ชว้ าจาหรือแสดงกิริยาอนั เป็นการลว่ งละเมิดทางเพศ ณ. พนกั งานตอ้ งดูแลรักษาสุขภาพของตวั เองใหแ้ ขง็ แรงใหพ้ ร้อมปฏิบตั ิงาน ด. พนกั งานตอ้ งดูแลรักษาอุปกรณ์เคร่ืองใชใ้ นการทางาน สถานที่ทางานท้งั ในบริษทั ฯ และสถานท่ีปฏิบตั ิงานท่ี ลกู คา้ ใหส้ ะอาดเรียบร้อย 6.3 การประพฤติผิดอย่างร้ายแรง ก. ฝ่ าฝืนนโยบายดา้ นความปลอดภยั ข. ฝ่ าฝืนหลกั เกณฑก์ ารปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดของบริษทั ฯ (เช่น แนวปฏิบตั ิเรื่องจรรยาบรรณทางธุรกิจ จรรยาบรรณเร่ืองการแขง่ ขนั ความรับผดิ ชอบขององคก์ รสู่สังคมรอบขา้ ง) ค. การลกั ขโมยทกุ กรณี ง. การทุจริต ฉอ้ โกง เจตนาบิดเบือน หรือปกปิ ดขอ้ มูล

29 / 37 จ. กระทาการรุนแรง ข่มขู่ กลนั่ แกลง้ ฉ. การใชใ้ นทางท่ีผดิ ละเมิด หรือเจตนาทาใหท้ รัพยส์ ินของบริษทั ฯ เสียหาย รวมถึงทรัพยส์ ินทางปัญญาซ่ึงรวมถึง ท่ีเป็นของพนกั งานหรือบคุ คลอ่ืน ช. การใชอ้ ินเทอร์เนตในทางท่ีไม่เหมาะสม รวมถึงระบบอินทราเนต อีเมล หรือเจตนาเขา้ ถึงเวบ็ ไซตท์ ี่มีเน้ือความ อจุ าด ลามกอนาจาร ซ. การติดต้งั และการใชโ้ ปรแกรมใดๆ บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของบริษทั ฯ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต ฌ. อยใู่ นสภาวะมึนเมาหรือเสพสุรา สารเสพติดในขณะปฎิบตั ิงาน ญ. การนาอาวุธ ปื น สารเสพติดที่ผิดกฎหมายเขา้ มายงั บริษทั ฯ ฎ. การประพฤติร้ายแรงใดๆ อนั เป็นการไมเ่ ชื่อฟัง ฏ. การจงใจเลือกปฏิบตั ิ หรือการล่วงละเมิดทางเพศ ฐ. การเปิ ดเผยขอ้ มูลอนั เป็นความลบั ของบริษทั ฯ ฑ. การไม่ปฏิบตั ิตาม หรือการมีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ฒ. การจงใจละเลยการปฏิบตั ิหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย ณ. การไม่ปฏิบตั ิตามคาแนะนาอยู่สม่าเสมอ ด. การใหข้ อ้ มลู ผิดพลาดตอ่ บริษทั ฯ ต. การละทิง้ การทางานโดยไม่ไดร้ ับอนุญาตลว่ งหนา้ โดยปราศจากเหตุผลอนั สมควร ถ. การเพกิ เฉยละเลยไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบปฏิบตั ิท่ีบริษทั ฯ กาหนดไว้ ท. การปฏิบตั ิงานส่วนตวั ในเวลาและสถานท่ีทางานโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต ธ. การละเมิด กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ซ่ึงมีผลโดยตรงกบั ความสามารถหรือคณุ ลกั ษณะในการปฏิบตั ิงาน 6.4 การลงโทษทางวนิ ัย ขอ้ กาหนดในการลงโทษทางวินยั จะนามาใชเ้ มื่อพนกั งาน (ไม่วา่ จะเป็นพนกั งานประจา พนกั งานชว่ั คราว หรือ นกั ศึกษาฝึกงาน ท้งั ท่ีทางานเต็มเวลาและไม่เตม็ เวลา ) ไดล้ ะเมิดหรือทาผดิ กฎหมาย กฎ ระเบียบ คาส่ัง ขอ้ บงั คบั นโยบาย ของบริษทั ฯ ก. ความรับผิดชอบ เป็นความรับผดิ ชอบของหวั หนา้ งานทกุ ระดบั ในการควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามคาสั่ง กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั หวั หนา้ งานยงั มีหนา้ ท่ีที่จะตอ้ งแกไ้ ขปัญหาที่อาจเกิดข้ึนไดแ้ ต่เน่ินๆ เพ่ือใหก้ ารควบคมุ หรือแกไ้ ข ปัญหาเป็นไปดว้ ยดี พร้อมท้งั ใหค้ าแนะนาถึงวิธีการและข้ึนตอนท่ีพงึ ปฏิบตั ิใหพ้ นกั งานเขา้ ใจ นอกจากน้ี หวั หนา้ งานยงั มีหน้าท่ีท่ีจะตอ้ งตรวจสอบหากมีกรณีสงสยั วา่ มีการผิดกฎ ระเบียบ คาสั่ง ขอ้ บงั คบั นโยบาย หรือการประพฤติผิดอยา่ งร้ายแรงในทนั ที ความคาดหวงั ที่หัวหนา้ งานจะปฏิบตั ิตามกฎเกณฑต์ า่ งๆ น้นั มีมากกวา่ ระดบั พนกั งานทว่ั ไป อยา่ งไรก็ดีกย็ งั เป็นหนา้ ที่ของพนกั งานทุกคนที่จะไม่กระทาการใดๆ ซ่ึงไม่ แน่ใจจะเป็นการฝ่ าฝืนกฎระเบียบต่างๆ ของบริษทั ฯ ในกรณีที่สงสัยวา่ จะเป็นการฝ่ าฝืนหรือมีการประพฤติผดิ

30 / 37 อยา่ งร้ายแรง หวั หนา้ งานจะตอ้ งใหผ้ จู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ รมีส่วนรับรู้ เพื่อใหม้ นั่ ใจวา่ ข้นั ตอนตา่ งๆ ไดม้ ีการ ดาเนินการอยา่ งมีมาตรฐานรวมถึงจดั เตรียมเอกสารอยา่ งถูกตอ้ ง นอกเหนือจากน้ี ผจู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ รมี หนา้ ที่จะตอ้ งหาตวั แทนพนกั งานมาทาหนา้ ท่ีเป็นผสู้ ังเกตการณ์ในกรณีที่พนกั งานท่ีถูกสอบสวนร้องขอ และ จะตอ้ งหาคาแนะนาจากนกั กฎหมายหากจาเป็น ข. วธิ ีการ กระบวนการสอบสวนเพ่ือลงโทษทางวนิ ยั น้ีเป็นการใหค้ าแนะนาและกรอบการทางานในการเขา้ ตรวจสอบ ความประพฤติผิดและถูกออกแบบข้นึ มาเพือ่ ใหเ้ กิดความเสมอตน้ เสมอปลายและยตุ ิธรรมตลอดทว่ั ท้งั องคก์ ร ข้นั ตอนน้ีจะตอ้ งนาไปใชก้ บั ทุกๆ คนที่มีส่วนเกี่ยวขอ้ ง โดยแยกสอบสวนสาหรับแตล่ ะความประพฤติอนั ไม่ เหมาะสมท่ีเกิดข้ึนในแต่ละคราว ในการสอบสวนจะตอ้ งเปิ ดโอกาสใหท้ กุ ฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ งไดช้ ้ีแจงและแสดงความคิดเห็นเป็นรายบุคคล การ สอบสวนน้นั จะตอ้ งเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป็นความจริง เช่น รายงานขอ้ เทจ็ จริงตามการสังเกตการณ์ ไมใ่ ช่ตดั สินจากความรู้สึกหรือตีความ หวั หนา้ งาน ในฐานะผสู้ อบสวนตอ้ งแน่ใจวา่ เขา้ ใจขอ้ มลู อยา่ งถูกตอ้ ง มี การอบรมหรือแนะนาผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ งก่อนเกิดเหตกุ ารณ์ ก่อนสรุปจะตอ้ งตรวจสอบใหแ้ น่ชดั วา่ ในแฟ้มประวตั ิ บคุ คลของพนกั งานท่ีสอบสวนน้นั มีสิ่งใดท่ีควรนามาประกอบการพจิ ารณา เมื่อไดข้ อ้ สรุปแลว้ ใหเ้ ป็นหนา้ ที่ของหวั หนา้ งานท่ีจะตอ้ งแจง้ ให้พนกั งานที่ไดร้ ับการลงโทษทราบถึงขอ้ สรุป และการตดั สิน และเป็นความรับผดิ ชอบของฝ่ ายพฒั นาองคก์ รท่ีจะตอ้ งบนั ทึกทุกอยา่ งเป็นเอกสารและให้ พนกั งานเกบ็ สาเนาไวด้ ว้ ย เอกสารเหลา่ น้ีจะตอ้ งเกบ็ เขา้ แฟ้มประวตั ิบคุ คลเป็นเวลาหน่ึง (1) ปี ค. บุคคลที่เก่ียวขอ้ ง ข้นั ตอนในการสอบสวนเหตุการณ์ที่มีแนวโนม้ วา่ จะมีการประพฤติผิดตอ่ กฎ ระเบียบ คาสงั่ ขอ้ บงั คบั นโยบาย จะกระทาโดยคณะกรรมกรท่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ ง อภิปราย และตกลงกนั ถึงการลงโทษอย่างเหมาะสมในการ ประพฤติผิดคร้ังน้ี คณะกรรมการที่วา่ อาจรวมถึงหวั หนา้ งาน ผจู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ ร และหากพนกั งาน เรียกร้อง ใหร้ วมถึงตวั แทนของพนกั งานหรือผสู้ งั เกตการภายในท่ีไมไ่ ดม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั ข้นั ตอนการ สอบสวนพนกั งานที่ไดร้ ับการประเมินน้นั ตวั แทนของพนกั งานจะตอ้ งผา่ นการสัมภาษณ์รวมถึงไดร้ ับโอกาสที่ จะอธิบายและช้ีแจงเหตผุ ลต่างๆ แต่ท้งั น้ีจะตอ้ งไมเ่ ป็นส่วนหน่ึงของงานท่ีทาโดยทีมสอบสวนดว้ ย ง. การหาขอ้ สรุป ข้ึนอยกู่ บั ขอ้ สรุปจากคณะกรรมการ ขอ้ ปฏิบตั ิสาหรับพนกั งานท่ีอยภู่ ายใตก้ ารสอบสวนจะตอ้ งเป็นดงั น้ี

31 / 37 คำตดั สิน ผลต่อเน่ือง ไมพ่ บการฝ่ าฝืนหรือการละเมิด ไม่ดาเนินการใดๆ สถานการณ์แรก: สถานการณ์ที่สามารถจดั การกบั ปัญหาตา่ งๆ ไดด้ ีกวา่ แตไ่ ม่มีการ การตดั สินใจที่ไม่เหมาะสมกบั สถานกาณ์ ฝ่ าฝืนคาสง่ั หรือนโยบายอยา่ งชดั เจน สถานการณ์ที่สอง: พฤติกรรมท่ีรับไม่ไดห้ รือไมเ่ หมาะสมตามกฎ ระเบียบ นโยบาย การประพฤติผิด คาสง่ั มาตรฐาน สภาวะปกติของบริษทั ฯ สถานการณ์ที่สาม: การประพฤติผิดอยา่ งร้ายแรงเป็นกรณีท่ีประพฤติผดิ อยา่ งร้ายแรง การประพฤติผดิ อยา่ งร้ายแรง ซ่ึงอาจส่งผลต่อการประเมินสัญญาจา้ งระหวา่ งบริษทั ฯ และ พนกั งานและหากเกิดซ้าอีกกอ็ าจส่งผลใหส้ ัญญาจา้ งสิ้นสุดลง สถานการณ์ที่ส่ี: การประพฤติผดิ ร้ายแรงอยา่ งหนกั และการประพฤติผดิ ร้ายแรงซ้า การประพฤติผดิ ร้ายแรงอยา่ งหนกั และ อีกและทาใหบ้ ริษทั ฯ เกิดความเสียหายอยา่ งมีนยั สาคญั อาจ การประพฤติผิดร้ายแรงซ้าอีก ส่งผลตอ่ การเลิกจา้ งพนกั งานโดยท่ีพนกั งานมีความผิด พนกั งานมีหนา้ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามวนิ ยั ท่ีระบุมาน้ีอยา่ งเคร่งครัด ถา้ พนกั งานผใู้ ดปฏิบตั ิหรือละเวน้ การปฏิบตั ิใดๆ อาจ ถือวา่ เป็นการฝ่ าฝืนวินยั ดงั กลา่ วจะตอ้ งถูกพิจารณาลงโทษทางวนิ ยั ตามลกั ษณะแห่ง ความผดิ หรือความหนกั เบา ของการกระทาผิดหรือความร้ายแรงท่ีเกิดข้นึ การลงโทษเป็นไปตามขอ้ หน่ึงขอ้ ใด หรือหลายขอ้ รวมกนั ก็ไดต้ าม บทลงโทษทางวินยั บริษทั ฯ กาหนดบทลงโทษทางวนิ ยั ไว้ 4 ประการ ดงั น้ี ก. ตกั เตือนดว้ ยวาจา ข. ตกั เตือนเป็นหนงั สือ (หนงั สือตกั เตือนมีอายสุ ิบสอง (12) เดือนนบั แต่วนั ที่พนกั งานกระทาความผดิ ) ค. พกั งานโดยไม่ไดร้ ับค่าจา้ ง มีกาหนดไมเ่ กินเจ็ด (7) วนั (การพกั งานในระหวา่ งการสอบสวนไม่ถือเป็นการพกั งานเพื่อการลงโทษ) ง. เลิกจา้ งโดยไม่จ่ายคา่ ชดเชย 6.5 หลกั เกณฑ์การพจิ ารณาลงโทษทางวนิ ัย ก. การลงโทษโดยการตกั เตือนดว้ ยวาจา พิจาณาหลกั เกณฑด์ งั น้ี 1) การผิดวินยั น้นั ยงั ไม่ก่อใหเ้ กิดผลเสียหายใดๆ ตอ่ บริษทั ฯ 2) พนกั งานผกู้ ระทาผิดวินยั ไมเ่ คยกระทาผดิ วนิ ยั ในเรื่องเดียวกนั น้ีมาก่อน 3) พนกั งานรู้สึกสานึกวา่ ตนไดก้ ระทาผิดวนิ ยั และยนื ยนั วา่ จะไม่กระทาผิดอีก ถา้ การฝ่ าฝืนวินยั ใดๆ มีพฤติกรรมผลลพั ธ์แตกตา่ งจากหลกั เกณฑ์ท้งั 3 ขอ้ น้ีไม่วา่ ขอ้ ใดขอ้ หน่ึง ผมู้ ีอานาจพิจารณา ลงโทษจะพจิ ารณาลงโทษตามบทลงโทษอื่นๆ การลงโทษดว้ ยการตกั เตือนดว้ ยวาจาน้นั เม่ือผบู้ งั คบั บญั ชาไดท้ าการ

32 / 37 ลงโทษไปแลว้ ใหท้ าบนั ทึกรายละเอียดของพฤติกรรม เวลา สถานท่ี บคุ คลที่เกี่ยวขอ้ งและรายละเอียดอ่ืน ๆ อนั เก่ียวกบั การกระทาความผดิ ของพนกั งานแลว้ ส่งไปยงั ฝ่ ายพฒั นาองคก์ รเพอ่ื ลงบนั ทึก ข. การลงโทษโดยการตกั เตือนเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร พจิ าณาหลกั เกณฑด์ งั น้ี 1) ผพู้ ิจารณาลงโทษเห็นวา่ การลงโทษโดยการตกั เตือนดว้ ยวาจาไมป่ ระสบผล 2) ปรากฏเจตนาในการกระทาผิดวนิ ยั อยา่ งชดั แจง้ หรือทาผดิ วินยั ซ้าในเร่ืองเดิมอีกภายในระยะเวลาห่างกนั ไม่เกิน 12 เดือนนบั จากการตกั เตือนดว้ ยวาจา/การเตือนก่อนหนา้ น้ี ค. การลงโทษโดยการพกั งานโดยไม่ไดร้ ับคา่ จา้ ง พจิ าณาหลกั เกณฑด์ งั น้ี 1) ปรากฏเจตนาในการกระทาผดิ วินยั อยา่ งชดั แจง้ 2) กระทาผดิ วินยั ซ้าในเร่ืองเดิมบ่อย ๆ ภายในระยะเวลา 12 เดือน และยงั อยใู่ นเวลาตามกาหนดของการ ลงโทษ 3) ความผดิ ดงั กล่าวก่อใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ บริษทั ฯ ไม่วา่ จะเป็นดา้ นชื่อเสียง หรือทรัพยส์ ิน กต็ าม ง. การลงโทษดว้ ยการเลิกจา้ งโดยไมจ่ า่ ยค่าชดเชย พิจาณาหลกั เกณฑด์ งั น้ี 1) ทุจริตตอ่ หนา้ ท่ี หรือกระทาความผดิ อาญาโดยเจตนาแก่บริษทั ฯ 2) จงใจกระทาใหบ้ ริษทั ฯ ไดร้ ับความเสียหาย เช่น เขา้ ไปมีส่วนร่วมในการดาเนินการ ไมว่ า่ จะเป็นโดย ทางตรงหรือทางออ้ มกบั ผปู้ ระกอบการอ่ืนใดท่ีมีลกั ษณะเป็นการแขง่ ขนั โดยทางตรงหรือทางออ้ มกบั บริษทั ฯ 3) กระทาการประมาทเลินเลอ่ อนั เป็นเหตใุ หบ้ ริษทั ฯ ไดร้ ับความเสียหายอยา่ งร้ายแรง 4) กระทาการฝ่ าฝืนขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางาน หรือระเบียบหรือคาสง่ั ของบริษทั ฯ อนั ชอบดว้ ยกฎหมาย และเป็นธรรม และบริษทั ฯโดยผบู้ งั คบั บญั ชาไดต้ กั เตือนเป็นหนงั สือแลว้ (กรณีร้ายแรงบริษทั ฯ ไม่ จาเป็นตอ้ งตกั เตือน) และหนงั สือเตือนดงั กล่าวยงั คงอยใู่ นระยะเวลาหน่ึง (1) ปี นบั ต้งั แต่วนั ท่ีพนกั งานได้ กระทาผดิ 5) ละทิ้งหนา้ ท่ีเป็นเวลาสาม (3) วนั ทางานติดตอ่ กนั โดยไมม่ ีเหตุอนั สมควรหรือไมไ่ ดแ้ จง้ ใหห้ วั หนา้ งาน รับทราบ 6) ไดร้ ับโทษจาคุกตามคาพพิ ากษาถึงท่ีสุดใหจ้ าคกุ ถา้ เป็นความผดิ ที่ไดก้ ระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหุ โทษตอ้ งเป็นกรณีที่บริษทั ฯ ไดร้ ับความเสียหาย การลงโทษดว้ ยการเลิกจา้ งโดยไมจ่ า่ ยคา่ ชดเชย หวั หนา้ งานร่วมกบั ผูบ้ ริหารฝ่ ายของพนกั งานผกู้ ระทาผดิ จนถึง กรรมการบริหารหรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมายกระทาการแทนกรรมการบริหารเป็นผรู้ ่วมดาเนินการพจิ ารณาและดาเนิน การลงโทษทางวินยั บริษทั ฯ มีสิทธิส่ังพกั งานพนกั งานเพือ่ การสอบสวน กรณีท่ีพนกั งานถูกกลา่ วหาวา่ มีความผิด โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ก. ระยะเวลาการพกั งานไมเ่ กินเจ็ด (7) วนั (การพกั งานเพอื่ การสอบสวนไม่ถือเป็นการลงโทษ)

33 / 37 ข. บริษทั ฯ จะแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบล่วงหนา้ ก่อนการพกั งาน ค. ระหวา่ งพกั งาน บริษทั ฯ จะจา่ ยคา่ จา้ งให้ร้อยละหา้ สิบ (50%) ง. เม่ือการสอบสวนเสร็จส้ิน หากปรากฏวา่ พนกั งานไม่ไดก้ ระทาผิด บริษทั ฯ จะจ่ายคา่ จา้ งในส่วนที่ขาดใหค้ รบ เท่ากบั ค่าจา้ งในวนั ทางานนบั แตว่ นั ท่ีถูกส่งั พกั งานพร้อมดอกเบ้ียร้อยละสิบหา้ (15%) ต่อปี 6.6 ผ้มู อี านาจพจิ ารณาและดาเนินการลงโทษทางวนิ ัย ก. การลงโทษโดยการตกั เตือนดว้ ยวาจา ผบู้ ริหารฝ่ ายของพนกั งานผกู้ ระทาผิดเป็นผพู้ ิจารณาและดาเนินการ ลงโทษ ข. การลงโทษโดยการตกั เตือนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร หวั หนา้ งานร่วมกบั ผบู้ ริหารฝ่ ายของพนกั งานผกู้ ระทาผดิ เป็น ผพู้ จิ ารณาและดาเนินการลงโทษ ค. การลงโทษโดยการพกั งานโดยไมไ่ ดร้ ับคา่ จา้ ง หวั หนา้ งานร่วมกบั ผบู้ ริหารฝ่ ายของพนกั งานผกู้ ระทาผดิ เป็นผู้ พิจารณาและดาเนินการลงโทษ ง. ฝ่ ายพฒั นาองคก์ รตอ้ งมีส่วนเกี่ยวขอ้ งและบนั ทึกขอ้ มูลเพ่ือเก็บเอกสารในแฟ้มประวตั ิบคุ คล

34 / 37 บทท่ี 7 กำรร้องทกุ ข์และกำรเสนอควำมคิดเหน็ 7.1 ความหมายการร้องทุกข์ การร้องทุกข์ หมายถึง กรณีท่ีพนกั งานมีความไม่พอใจหรือมีความทกุ ขอ์ นั เกิดข้ึนเนื่องจากการทางาน ไมว่ า่ จะเป็น เร่ือง สภาพการทางาน สภาพการจา้ ง การบงั คบั บญั ชา การสัง่ หรือมอบหมายงาน การจา่ ยค่าตอบแทนในการทางาน หรือประโยชน์อ่ืน หรือการปฏิบตั ิใดที่ไม่เหมาะสมระหวา่ งบริษทั ฯ หรือหวั หนา้ งานตอ่ พนกั งาน หรือระหวา่ ง พนกั งานดว้ ยกนั หรืออาจมีความสงสัยวา่ จะประพฤติผดิ ต่อหลกั จรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจ พนกั งานไดเ้ สนอ ความไมพ่ อใจหรือความทุกขน์ ้นั ต่อบริษทั ฯ เพ่ือให้ บริษทั ฯ ไดด้ าเนินการแกไ้ ขหรือยตุ ิเหตกุ ารณ์น้นั ท้งั น้ี เพอ่ื ให้ เกิดความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบริษทั ฯ และพนกั งาน และเพ่อื ใหพ้ นกั งานทางานดว้ ยความสุข 7.2 วิธกี ารและข้ันตอนการร้องทกุ ข์ วธิ ีการและข้นั ตอนการร้องทุกข์ จะกระทาดว้ ยวาจาหรือลายลกั ษณ์อกั ษรกไ็ ด้ พนกั งานควรจะไดป้ รึกษาหารือถึงขอ้ ขอ้ งใจกบั หวั หนา้ งานเพ่ือหาทางตกลงกนั ก่อน หากการปรึกษาน้นั ไร้ผล การยนื่ เรื่องราวร้องทุกขท์ าไดแ้ ตเ่ ฉพาะ เร่ืองของตนเองเทา่ น้นั หา้ มมิใหย้ นื่ เรื่องราวร้องทกุ ขแ์ ทนบุคคลอ่ืน หรือในนามบคุ คลอื่น พนกั งานจะตอ้ งย่นื เร่ืองราวร้องทกุ ขน์ ้นั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ตามลาดบั ข้นั ดงั น้ี (1) หวั หนา้ (2) ผบู้ ริหารฝ่าย (3) ผจู้ ดั การฝ่ายพฒั นา องคก์ ร (4) กรรมการบริหาร การร้องทกุ ขด์ ว้ ยลายลกั ษณ์อกั ษร หากเรื่องราวที่ร้องทุกขน์ ้นั ไม่ลงช่ือจริง ขอให้ พนกั งานผรู้ ้องทุกขร์ ะบชุ ่องทางในการแจง้ กลบั ถึงการพิจารณาดาเนินการ หวั หนา้ งานจะแจง้ ผลการพิจารณาขอ้ ร้องทุกขใ์ หพ้ นกั งานผรู้ ้องทุกขท์ ราบโดยเร็ว สาหรับกลอ่ งรับร้องทุกข์ หรือสายด่วนจริยธรรม เป็นอีกทางเลือกที่มี ให้ 7.3 การสอบสวนและพจิ ารณาข้อร้องทุกข์ การสอบสวนและพิจารณาขอ้ ร้องทุกข์ ใหผ้ รู้ ับคาร้องทุกขส์ อบสวนและพิจารณาขอ้ ร้องทกุ ข์ และแกไ้ ขปัญหาตาม ข้นั ตอนความรับผิดชอบของตนโดยเร็ว ถา้ เป็นเร่ืองที่ไมส่ ามารถแกไ้ ขปัญหาเองได้ ใหร้ ายงานต่อผบู้ งั คบั บญั ชา ให้ กรรมการบริหาร ซ่ึงใชก้ ารวนิ ิจฉยั ขอ้ ร้องทุกขพ์ ิจารณาแกไ้ ขปัญหาดว้ ยความยตุ ิธรรม เพือ่ ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ ร่วมกนั ระหวา่ งพนกั งานกบั บริษทั ฯ นโยบายกระบวนการยตุ ิขอ้ ร้องทกุ ข์ ถา้ ผรู้ ้องทุกขไ์ มพ่ อใจผลการพิจารณาก็อาจขออุทธรณ์ได้ โดยยนื่ คาอุทธรณ์ตอ่ กรรมการบริหาร คาตดั สินของกรรมการบริหารถือเป็นส้ินสุด ทุกฝ่ ายท่ีเก่ียวขอ้ งตอ้ งถือปฏิบตั ิตาม ความคุม้ ครองผู้ ร้องทุกขแ์ ละผเู้ ก่ียวขอ้ ง พนกั งานผรู้ ้องทกุ ข์ และผเู้ กี่ยวขอ้ งจะไมถ่ ูกดาเนินการทางวินยั เนื่องจากการร้องทุกข์ เวน้ แตข่ อ้ ร้องทกุ ขเ์ ป็นความเท็จ หรือผรู้ ้องทกุ ข์ หรือผเู้ กี่ยวขอ้ งกระทาผิดวินยั ดว้ ยตนเอง 7.4 การเสนอความคดิ เห็นเชิงสร้างสรรค์ บริษทั ฯ ถือวา่ พนกั งานทุกคนเป็นกาลงั สาคญั และมีส่วนที่จะช่วยเสริมสร้างความเจริญใหแ้ ก่บริษทั ฯ บริษทั ฯ เห็นสมควรใหพ้ นกั งานทกุ คนทุกระดบั ไดม้ ีส่วนในการเสนอความคิดเห็นต่อบริษทั ฯ ในปัญหาต่าง ๆ เก่ียวกบั การ

35 / 37 ปรับปรุงแกไ้ ขการดาเนินงาน เพอ่ื ใหเ้ กิดผลดีตอ่ กิจการของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงวางหลกั การไวค้ ือ พนกั งานผใู้ ดมี ความคดิ เห็นอนั อาจเป็นประโยชน์ต่อบริษทั ฯ ไมว่ า่ จะเก่ียวกบั กิจการและการดาเนินงานของบริษทั ฯ หรือเก่ียวกบั พนกั งานน้นั เอง กข็ อใหจ้ ดั ทาขอ้ เสนอเป็นหนงั สือส่งผูบ้ ริหารฝ่ าย โดยแจง้ ชื่อใหช้ ดั เจนและแสดงหน่วยงานที่ตน ปฏิบตั ิงานอยดู่ ว้ ย ในการน้ีหากพนกั งานตอ้ งการเก็บเป็นความลบั บริษทั ฯ จะปกปิ ดชื่อผเู้ สนอเป็นความลบั ที่สุด

36 / 37 บทท่ี 8 การพ้นสภาพจากการเป็ นพนักงาน 8.1 การพ้นสภาพจากการเป็ นพนักงาน พนกั งานจะพน้ สภาพจากการเป็นพนกั งานของบริษทั ฯ ในกรณี ดงั น้ี ก. ถึงแก่กรรม หมายถึง พนกั งานท่ีถึงแก่ความตายไมว่ า่ ดว้ ยเหตุใด โดยมีใบมรณบตั ร ซ่ึงออกใหโ้ ดยราชการ และ ทายาท/ญาติ นามามอบใหท้ างบริษทั ฯ ข. ลาออก หมายถึง พนกั งานสมคั รใจลาออก โดยยนื่ ความจานงเป็นหนงั สือล่วงหนา้ ตอ่ หวั หนา้ และสาเนา ผบู้ ริหารฝ่ ายและผจู้ ดั การฝ่ ายพฒั นาองคก์ รล่วงหนา้ สามสิบ (30) วนั ก่อนถึงวนั ท่ีพนกั งานประสงคจ์ ะลาออก การลาออกจะมีผลตอ่ เม่ือไดร้ ับอนุมตั ิจากผมู้ ีอานาจอนุมตั ิแลว้ ค. เกษยี ณอายุ หมายถึง บริษทั ฯ กาหนดใหพ้ นกั งานเกษียณ เม่ือมีอายคุ รบ หกสิบหา้ (65) ปี บริบรู ณ์ และพน้ สภาพ การเป็นพนกั งาน พนกั งานท่ีครบเกษียณอายใุ นปี ใด บริษทั ฯ จะใหพ้ นกั งานผนู้ ้นั พน้ สภาพจากการเป็น พนกั งาน นบั ต้งั แต่วนั ท่ี 1 มกราคม ของปี ถดั ไป โดยไดร้ ับค่าชดเชยตามกฎหมาย ท้งั น้ีเม่ือพนกั งานท่ีมีอายคุ รบ หกสิบ (60) ปี บริบรู ณ์ พนกั งานมีสิทธิแสดงเจตนาขอเกษียณอายตุ อ่ บริษทั ฯ ไวล้ ว่ งหนา้ สามสิบ (30) วนั ก่อน ถึงวนั คลา้ ยวนั เกิด โดยท้งั สองฝ่ าย (บริษทั ฯ และพนกั งาน) มีสิทธิตกลงกนั ในการเกษยี ณอายรุ ะหวา่ ง หกสิบ (60) ถึง หกสิบหา้ (65)ปี ตามความจาเป็นของธุรกิจและศกั ยภาพของพนกั งานทา่ นน้นั และไมว่ า่ จะตกลง เกษยี ณกนั ท่ีอายเุ ท่าใดกต็ ามจะตอ้ งทาเป็นเอกสารบนั ทึกความยนิ ยอมท้งั สองฝ่ าย พนกั งานที่เกษียณอายมุ ีสิทธิ ไดร้ ับคา่ ชดเชยตามกฎหมาย (ในกรณีที่ไมไ่ ดท้ าผดิ กฎหมายและกฎระเบียบขอ้ บงั คบั ของบริษทั ฯ) ง. เลิกจา้ ง หมายถึง การท่ีนายจา้ งไม่ให้พนกั งานทางานตอ่ ไปและไม่จ่ายคา่ จา้ งใหไ้ ม่วา่ จะเป็นเพราะเหตสุ ้ินสุด สญั ญาจา้ งหรือเหตุอื่นใด หรือ การที่พนกั งานไมไ่ ดท้ างานและไม่ไดร้ ับคา่ จา้ งเพราะเหตุท่ีนายจา้ ง ไม่สามารถ ดาเนินกิจการต่อไป รวมถึงเหตุดงั ตอ่ ไปน้ี 1) พนกั งานทาผดิ ทางวนิ ยั ถึงข้นั ร้ายแรง 2) ยบุ หน่วยงงานหรือลดอตั รากาลงั 3) ทุพพลภาพหรือเจบ็ ป่ วยถึงข้นั ไม่สามารถทางานไดห้ รือสุขภาพไม่สมบูรณ์ และแพทยล์ งความเห็นวา่ เป็น โรคเร้ือรัง หรือเป็นโรคติดตอ่ ร้ายแรงอนั อาจเป็นอนั ตรายต่อพนกั งานคนอ่ืน จนไม่สามารถทางานใน หนา้ ท่ีเดิมหรือหนา้ ที่อื่นต่อไปได้ 4) ลดหยอ่ นความสามารถ หมายถึง ผลงานของพนกั งานผนู้ ้นั ไม่ไดเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนดไวใ้ นแบบแสดง ลกั ษณะงาน ซ่ึงผบู้ งั คบั บญั ชาไดเ้ คยช้ีแจง ตกั เตือนดว้ ยวาจา และดว้ ยลายลกั ษณ์อกั ษรมาก่อนแลว้ แต่ยงั ไม่ ปรับปรุงใหด้ ีข้ึนภายในเวลาอนั สมควร 5) ปฏิบตั ิตวั ไม่เหมาะสม หมายถึง (1) วธิ ีปฏิบตั ิงานของพนกั งานผนู้ ้นั ทาให้ประสิทธิภาพการทางานของ หน่วยงานน้นั หรือหน่วยงานอ่ืนลดนอ้ ยถอยลง (2) ลกั ษณะเฉพาะตวั ของพนกั งานผนู้ ้นั ทาให้ ประสิทธิภาพการทางานของหน่วยงานน้นั หรือหน่วยงานอ่ืนลดนอ้ ยลง

37 / 37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook