Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.หน่วยที่ 1 เรื่องการวางแผนเป้าหมายชีวิต นักศึกษา

1.หน่วยที่ 1 เรื่องการวางแผนเป้าหมายชีวิต นักศึกษา

Published by pao.sulong, 2021-12-26 09:59:19

Description: 1.หน่วยที่ 1 เรื่องการวางแผนเป้าหมายชีวิต นักศึกษา

Search

Read the Text Version

1 หนว่ ยท่ี 1 เรือ่ ง การวางแผนเป้าหมายชวี ิตด้วยวงจรควบคมุ คุณภาพ หวั เรอื่ ง 1.1 เปา้ หมายชีวติ และการวางแผนเป้าหมายชวี ติ เนอ้ื หา 1.2 ความเปน็ มาของวงจรคณุ ภาพ 1.3 การวางแผนเปา้ หมายชีวิตดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพ 1.1 เปา้ หมายชีวติ และการวางแผนเปา้ หมายชวี ติ 1.1.1 หลกั ในการกำหนดเป้าหมายที่ดี 1.1.2 แนวทางการกำหนดเป้าหมายชวี ิต 1.1.3 การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ ของบคุ คลในแต่ละชว่ งวยั และการวางแผนเป้าหมายชีวิตตาม ระยะเวลา 1.1.4 ลำดับข้นั การวางแผนเป้าหมายชวี ิต 1.1 เป้าหมายชวี ิตและการวางแผนเปา้ หมายชวี ติ เปา้ หมายในชีวติ (Life Goal) หมายถงึ ส่ิงทเ่ี ราให้ความสำคญั และปรารถนาจะให้เกดิ ขึ้นในอนาคต เป็นแรงจูงใจให้คนเรามีพลงั มงุ่ ไปสู่อนาคต การตัง้ เป้าหมาย (Goal Setting) เปน็ จุดเรมิ่ ต้นสำคัญในการลง มือทำเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพราะการมีเป้าหมาย หมายถึงการทีเ่ รารู้ว่าเราจะเดนิ ไปทางไหน ยิ่งถ้าได้รู้ว่าทำไม เราต้องทำ และยิ่งมองเห็นภาพตัวเองไปถึงเป้าหมายชัดเจนมากเท่าไร ยิ่งเกิดแรงกระตุ้นให้อยากเดินทาง ไปสู่เป้าหมายโดยเร็ว ส่วนการวางแผนเป้าหมายชีวิต คือการตั้งเป้าหมายชีวติ ของบุคคล โดยวางแผนและ ดำเนินการด้วยวธิ ีการที่เหมาะสมเพอ่ื การนำตนเองไปส่เู ป้าหมายของ ชวี ิตในอนาคต เป็นการวางเป้าหมาย ไวว้ ่าจะตอ้ งต้งั ตัว สร้างฐานะใหไ้ ด้ ดว้ ยการเรียนใหจ้ บ ประกอบอาชีพท่ีสุจริตไม่ผิดกฎหมายไม่ผิดศีลธรรม ซึ่งการวางเป้าหมายในชีวติ ของแต่ละบคุ คลแตกต่างกัน ไปขึ้นกับฐานะ สภาพแวดล้อม ความสนใจ ความ ถนัด ความใฝฝ่ นั เปน็ ตน้ 1.1.1 หลักในการกำหนดเปา้ หมายที่ดี เป้าหมายที่ดีต้องมีความชัดเจน วัดผลได้ ทำสำเร็จได้ เป็นไปได้และมรี ะยะเวลาที่กำหนดไว้อย่าง ชดั เจน เรียกงา่ ย ๆ ว่า SMARTER โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

2 S-Specific เป้าหมายท่ถี ูกกำหนดตอ้ งชัดเจนและเจาะจงไมค่ ลุมเครือ รู้ วา่ ต้องการ อะไร และจะบรรลเุ ป้าหมายตอนไหน M-Measurable วัดผลได้ เป้าหมายที่ดีต้องวัดผลเป็นตัวเลขหรือตัวเงินได้ชัดเจน A-Acceptable เพราะจะทำใหเ้ ห็นระยะทางของความก้าวหนา้ และรวู้ า่ ใกล้จะถงึ เปา้ หมาย R-Realistic แล้วหรอื ยัง T-Time ยอมรับและและเต็มใจทำ เชน่ เรมิ่ ออมเงนิ ด้วยความมุง่ ม่นั ตั้งแต่ E-Extending อย่ใู นวัยทำงาน และหมั่นออมอยา่ งสมำ่ เสมอ เปา้ หมายทดี่ ีต้องอยบู่ นพ้ืนฐานของความจริง สมเหตสุ มผลมีโอกาส ที่เป็นไปได้ เช่น มีรายได้เดือนละ 10,000 บาท ตั้งเป้าหมายว่าจะออม เงนิ เดือนละ 1,000 บาท ถอื วา่ สมเหตุสมผล มีกรอบระยะเวลาที่จะปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย เช่น หากเก็บเงิน ออมอยา่ งตอ่ เนือ่ งเมอื่ ถงึ วัยเกษียณยอ่ มต้องมีเงินซอ้ื บา้ นอยา่ งแนน่ อน เปา้ หมายควรมคี วามท้าทายความสามารถ เช่น เคยออมเงินได้ เดอื นละ 6,000 บาท แต่ต้ังเป้าหมายไว้เพียงเดือนละ 4,000 บาท ควร ต้งั เปา้ หมายออมเงนิ เพ่ิมเป็น 8,000 บาทเพ่ือสรา้ งความทา้ ทาย R-Rewarding เป้าหมายท่ีดีต้องคุ้มคา่ กบั การปฏิบัติ หมายถึงเปา้ หมายท่ีทำ แล้ว เกิดประโยชน์ คุ้มค่ากับการลงแรง เวลา และทรัพยากร เช่น ออมเงินได้ 2,000,000 บาท นำไปซื้อบ้านไว้เป็นที่พักอาศัยหลังเกษียณถือว่าคุ้มค่า กบั การปฏบิ ัติ 1.1.2 แนวทางการกำหนดเป้าหมายชวี ิต การกำหนดเปา้ หมายชีวิตสามารถแยกย่อยออกเป็นเป้าหมายต่าง ๆ ดังน้ี 1) เป้าหมายด้านการศึกษา เช่น การศึกษาหรือเรียนในสาขาที่ชอบ สาขาที่ถนัดและเหมาะสมกับ ตนเอง เชน่ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ นิตศิ าสตร์ ทนายความ ดนตรี กีฬา หมอ พยาบาล เปน็ ตน้ 2) เปา้ หมายดา้ นสงั คม การช่วยเหลือสังคมในด้านต่าง ๆ เช่น เสนอตวั เป็นจิตอาสา การมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชมุ ชน หมูบ่ า้ นท่ีตนอาศัยอยู่

3 3) เป้าหมายด้านอาชีพการงาน เมื่อเรียนสำเร็จมีความต้องการประกอบอาชีพหรืองานที่ทำเป็น ตัวกำหนดหลักท่ีจะชว่ ยดูทศิ ทางในอนาคต โอกาสกา้ วหนา้ ในอาชพี การขึน้ เงินเดือนต่อเนอ่ื ง จะชว่ ยในการ กำหนดการวางแผนอนาคต เช่น แพทย์ วิศวกร ตำรวจ ทนายความ ทหาร นักธุรกิจ เกษตรกร เปน็ ตน้ 4) เป้าหมายด้านการเงิน วางแผนเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย แต่ละเดือนในชีวติ ประจำวันนั้นควรมี การเก็บออมอย่างต่อเนื่องและใช้เมื่อจำเป็นที่สุดเท่านั้น สำหรับคนที่ต้องการนำเงินไปลงทุนในธุรกิจของ ตัวเองกค็ วรมีเงินทนุ สำรองอย่างนอ้ ยคร่งึ หนง่ึ สำหรบั เหตฉุ ุกเฉินท่ไี ม่คาดคิด นอกจากน้ีถา้ รายรับมีไม่พอกับ รายจา่ ยอาจตอ้ งหารายได้เสริมทางอืน่ 5) เป้าหมายด้านครอบครัว การออมเงินหรือการลงทุนตลอดจนการวางแผนเกี่ยวกันทรัพย์สินที่ เป็นมรดกตกทอด ไม่ว่าจะเป็นสังหาริมทรัพย์หรอื อสังหาริมทรัพย์ อาจหมายรวมถึงสวัสดิการ ที่ได้รับหลงั เกษยี ณจากการทำงาน หลักความม่ันคงที่ง่ายท่ีสดุ คือ การซื้อประกนั ชวี ติ ประกันสุขภาพและประกันความ มัน่ คงดา้ นตา่ ง ๆ 6) เป้าหมายด้านสุขภาพ การวางแผนเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยก็เป็นอกี ปัจจยั ที่ควรนำมารวมไว้ใน การวางแผน เช่น วางแผนออกกำลังกายในแต่ละวันเพื่อสุขภาพที่ดี เพื่อการแข่งขัน การตรวจสุขภาพเป็น ประจำทุกปี 7) เปา้ หมายดา้ นนนั ทนาการ เชน่ การเกบ็ เงินสำหรับการทอ่ งเท่ยี วการซ้ือของสะสมตา่ ง ๆ ทีช่ อบ 1.1.3 การวางแผนเป้าหมายชวี ิตของบุคคลในแต่ละช่วงวัยและการวางแผนเป้าหมายชีวิตตาม ระยะเวลา 1.1.3.1 การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ ของบุคคลในแตล่ ะช่วงวยั บุคคลควรกำหนดเป้าหมายชีวติ และวางแผนในแต่ละช่วงวัยให้สอดคล้องกบั รายไดส้ ภาพแวดล้อม ความรับผิดชอบ ความตอ้ งการและความถนดั ดงั น้ี 1) ช่วงวยั เดก็ – 20 ปี เป็นวัยทีอ่ ยู่ในความดูแลรับผิดชอบของบิดามารดา หรือผู้ปกครองเป็นช่วง กำลังศึกษาหาความรู้ ยงั ไมม่ รี ายได้ 2) ช่วงวัยหลังสำเร็จการศึกษา อายุประมาณ 21-30 ปี เป็นวัยที่กำลังสร้างเนื้อสร้างตัว สร้าง ครอบครัวส่วนใหญ่รายได้จะมีในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป หรือเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ บางครอบครัวเริ่มมีบุตร รายได้สว่ นใหญ่กจ็ ะใชไ้ ปกบั การสรา้ งครอบครวั เชน่ ซอ้ื บา้ น คอนโด รถยนต์ เปน็ ตน้ 3) ช่วงวัยทำงานเต็มที่ อายุประมาณ 31-45 ปี การจากการมุ่งมั่นทำงานเต็มที่ มีรายได้แน่นอน และท่สี ำคญั ก็มีรายจ่ายมากตามไปดว้ ย เช่น ค่าเล่าเรยี นบตุ ร ค่ารกั ษาพยาบาล และสรา้ งฐานะ 4) ช่วงวัยกอ่ นเกษยี ณอายุ ช่วงอายุประมาณ 46-50 เปน็ ชว่ งวัยที่คนสว่ นใหญ่ประสบความสำเร็จ สูงสุดมีตำแหน่งหน้าที่การงานสูงสุด นับเป็นช่วงวัยที่คนส่วนใหญ่ประสบความสำเร็จ จึงมักเรียกวัยนี้วา่ “วัยทอง”เพราะชีวิตจะมีความสมบูรณ์มีครอบครัวและทรัพย์สินต่าง ๆ สำหรับคนที่มีบุตร บุตรก็จะสำเรจ็ การศกึ ษาทำงานสร้างรายได้ของตนเองไดแ้ ลว้ ค่าใช้จ่ายสำหรับสร้างครอบครัวก็จะลดลง เงินออม เงินลงทุน มากขน้ึ

4 5) วัยเกษียณอายุ เป็นช่วงวัยอายุ 60 ปีขึ้นไป ในวัยนี้รายได้จะลดลงเรื่อย ๆ เนื่องจากรายได้ ประจำไมม่ ีเพราะออกจากงานแลว้ แหลง่ รายไดม้ าจากเงินบำเหนจ็ บำนาญหรือเงินเก็บ เงนิ ประกัน ดอกเบี้ย จากการลงทุน ค่าใช้จ่ายเรื่องครอบครัวแทบจะไม่มี แต่จะมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หรือ นนั ทนาการ เชน่ การทอ่ งเท่ยี ว การทำบญุ เปน็ ตน้ 1.1.3.2 การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ ตามระยะเวลา การวางแผนเป้าหมายชีวิตตามระยะเวลา สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คอื 1) เป้าหมายระยะสั้น (Short-term Goal) เป็นเป้าหมายที่สามารถทำให้สำเร็จได้ภายใน 1 ปี เช่น ต้องการเก็บเงินไว้สำหรับตรวจสุขภาพตนเองในแต่ละปี ต้องการซื้อโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่ราคาแพง แทนเครื่องเก่าทีช่ ำรดุ เปน็ ต้น 2) เป้าหมายระยะยาว (Long-term Goal) เป็นเป้าหมายที่ใช้เวลานานมากกว่า 1 ปีขึ้นไป เช่น ต้องการเก็บเงินเพ่ือใช้ในการลงทนุ ประกอบธุรกิจส่วนตัว ต้องการเก็บเงนิ ไว้เทีย่ วรอบโลกเม่ือเกษียณอายุ อยา่ งไรก็ตามเปา้ หมายระยะยาวอาจมีการเปล่ียนแปลงไดเ้ ม่อื สภาพแวดล้อมเปลย่ี นแปลงไป 1.1.4 ลำดับขัน้ การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ 1) การวางแผนเป้าหมายชีวิตข้ันต้น เป็นการวางแผนต้ังเป้าหมายของชวี ิตโดยมุ่งมั่นฝึกฝนตนเอง ให้บรรลุเป้าหมายของชีวิตว่าจะต้องเรียนให้จบมีอาชีพ มีฐานะมั่นคง ด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ เช่นการ ประพฤตติ นเป็นคนดี มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และตั้งเป้าหมายว่าจะประกอบอาชพี ชัดเจน เช่น ครู พยาบาล ตำรวจ ทหาร เกษตรกร ผู้ประกอบการ ฯลฯ 2) การวางแผนเปา้ หมายชีวติ ข้นั กลาง เปน็ การตั้งเปา้ หมายของชีวติ วา่ ตอ้ งพยายามต้ังตัวและสร้าง ฐานะของตนเอง มีชีวิตคู่ มีชีวิตครอบครัว ที่ดี ไม่ย่อท้อ รู้จักสร้างคุณค่าให้ชีวิตด้วยการขยัน ตั้งใจทำงาน ประพฤติตนเป็นคนดีมคี ณุ ธรรมเออ้ื อาทร มเี มตตาตอ่ ผู้อื่น 3) การวางแผนเป้าหมายชีวิตขั้นสูงสุด เป็นการตั้งเป้าหมายของชีวิตที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ ตนเองและบคุ คลอ่นื คือ การตั้งใจดำเนินชวี ิตใหป้ ระสบความสำเรจ็ ในการศึกษาเล่าเรยี น หน้าท่ีการงานชวี ิต ครอบครัวและตั้งใจปฏิบัติธรรมทุกรูปแบบ โดยการตั้งใจทำความดี หมั่นให้ทาน รักษาศีล ฝึกสมาธิ เพื่อให้ จติ ใจผอ่ งใส เกิดปัญญา เพอ่ื รกั ษาเป้าหมายของชีวติ ใหม้ ั่นคงในทุก ๆ ดา้ น สรุป การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ ของบุคคลเป็นเร่ืองทม่ี ีความสำคญั เพราะการมีแผนเปา้ หมายชวี ิตเสมือน การดำเนินชีวิตไปตามเข็มทิศทีจ่ ะนำไปสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามกำหนดเป้าหมาย ชีวิตที่ดีควรมีความชัดเจนกำหนดไวอ้ ย่างเฉพาะเจาะจง สามารถวัดผลได้ ได้รับการยอมรับและเต็มใจท่จี ะ ทำ มีความสมเหตุสมผล มีระยะเวลาที่แน่นอน มีแรงจูงใจให้ปฏิบัติตามแผนและมีคุณค่า การวางแผน เปา้ หมายชีวิตอาจกำหนดเปน็ แผนระยะสนั้ ท่ีสามารถทำใหส้ ำเร็จไดภ้ ายในระยะเวลา 1 ปี หรืออาจเป็นแผน

5 ระยะยาวท่มี รี ะยะเวลา 1 ปีข้ึนไป ซงึ่ แผนเปา้ หมายชวี ิตสามารถกำหนดไดห้ ลาย ๆ ด้านแต่สว่ นใหญแ่ ล้วการ กำหนดตามช่วงอายุ คือ ช่วงวัยเด็ก ช่วงวัยสำเร็จการศึกษา ช่วงวัยทำงานเต็มที่ ช่วงวัยก่อนเกษียณอายุ และช่วงวัยเกษียณอายุ กิจกรรมที่ 1 การวางแผนเปา้ หมายชวี ิตโดยใช้หลกั SMARTER คำสั่ง ให้พิจารณา ตัวอยา่ งท่กี ำหนดให้ว่าเป็นเป้าหมายชวี ิตที่ดีตามหลกั SMARTER หรอื ไม่ อย่างไร 1. อยากมเี งนิ ทองมาก 2. อยากซื้อบา้ นทาวนเ์ ฮ้าส์ 1 หลัง จงึ พยายามออมเงนิ ให้ไดเ้ ดือนละ 20,000 บาทเป็นเวลา 5 ปี เพือ่ ไปดาวนบ์ า้ น 3. อยากเกษียณอายุก่อน 45 ปีแตย่ ังไม่รวู้ า่ จะต้องทำอย่างไร 4. อยากมีเงนิ ไวส้ ำหรบั เท่ยี วประเทศเกาหลี อกี 1 ปีข้างหน้า จงึ เกบ็ เงินเดอื นละ 3,000 บาท 5. อยากซอ้ื รถสปอร์ตราคาแพง แต่ตอนน้ีมีเงินเดอื นๆ ละ 15,000 บาท 6. อยากทำงานทันทีท่ีเรียนจบมหาวิทยาลยั จึงรบี ส่งประวัติส่วนตัวไปตามบรษิ ทั ตา่ ง ๆ ล่วงหน้า

6 กจิ กรรมที่ 2 สมดลุ ชวี ิต คำสง่ั ใหผ้ ู้เรียนเตรียมอปุ กรณ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขวดโหล,ก้อนหนิ , กอ้ นกรวด, ทราย,น้ำ โดยสมมตใิ ห้ - ขวดโหล เสมอื นชวี ติ - ก้อนหิน เสมือนเร่อื งของครอบครวั - ก้อนกรวด เสมอื นเรอ่ื งการทำงาน - ทราย เสมือนเรื่องอ่นื ๆ - น้ำ เสมอื นกบั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมทีห่ ลอ่ เลีย้ งชวี ติ ใหม้ ีความสขุ วิธกี าร ผเู้ รียนทำการทดลองและสังเกตและวิเคราะหผ์ ลการทดลอง คร้ังท่ี 1 เร่มิ จากใส่ ทรายลงในขวดโหล แล้วตามด้วย ก้อนกรวด กอ้ นหินและน้ำตามลำดับ ครง้ั ที่ 2 เร่มิ จากใส่ กอ้ นกรวดลงในขวดโหล แลว้ จึงตามดว้ ย ทราย ก้อนหนิ และนำ้ ตามลำดับ คร้งั ท่ี 3 เรม่ิ จากใส่ กอ้ นหินและตามด้วยก้อนกรวด ทราย และน้ำตามลำดบั 1.2 แนวคิดวงจรควบคมุ คุณภาพ 1.2.1 ความเป็นมาของวงจรควบคุมคุณภาพ 1.2.2 ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานตามกระบวนการวงจรควบคมุ คุณภาพ 1.2.1 ความเป็นมาของวงจรควบคุมคณุ ภาพ แนวคิดเกี่ยวกับวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง หรือวงจร PDCA เป็นวงจรทีค่ ิดค้นคร้ังแรกโดยวอลเตอร์ ชิวฮาร์ท (Walter Shewhart) ผู้นำหลักสถิติมาใช้กับวงการอุตสาหกรรม ในระยะแรกรู้จักกันในชือ่ “วงจร Shewahrt” และเริ่มเป็นที่รู้จักกันกว้างขวางเมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) นักสถิติชาว อเมริกันและเป็นศาสตราจารย์สอนในมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก (New York University : NYU) ราวปี พ.ศ. 2484 วลิ เลย่ี ม เอดวาร์ด เดมมิง่ (William Edwards Deming)

7 เดมมงิ่ เป็นบคุ คลสำคัญท่ีทำให้วงจรควบคุมคุณภาพเป็นท่ีรู้จกั กันอย่างกว้างขวาง โดยเขาเป็นผู้นำ หลักการมาเผยแพร่ในการปรับปรุงการทำงานของพนักงานภายในโรงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ กระบวนการผลิต ผลจากการนำวงจรควบคุมคุณภาพมาใช้ทำให้พบปัญหาและอุปสรรคในแต่ละขั้นตอน ของการผลติ โดยพนกั งานเองจนสามารถแกไ้ ขพฒั นาจนเกดิ ประสทิ ธิภาพ ทำใหว้ งจรน้ีเปน็ ท่รี ู้จกั กันในอีกชื่อ ว่า “วงจรเดมมิ่ง” หรอื วงจร PDCA มี 4 ขน้ั ตอน ประกอบดว้ ย ปรับปรงุ พฒั นา การวางแผน ตรวจสอบ ปฏบิ ัติทำตำมแผน ภาพท่ี 1.2.1 ภาพแสดงวงจรควบคุมคณุ ภาพ PDCA 1.2.2 ข้ันตอนการดำเนนิ งานตามกระบวนการวงจรควบคมุ คุณภาพ PDCA ขนั้ ตอนการวางแผน (Plan) การวางแผน หมายถึง การวางแผนดำเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการกำหนดหัวข้อที่ ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซ่ึงรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ การแก้ปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ จากการปฏิบัติงาน อาจ ประกอบด้วย การกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ และงบประมาณที่จะใช้ การ เขียนแผนอาจปรบั เปลยี่ นไดต้ ามสถานการณ์และความเหมาะสม การวางแผนชว่ ยให้สามารถคาดการณ์สิ่งท่ี เกิดข้ึนในอนาคต และช่วยลดการสูญเสียต่าง ๆ แผนท่ีดีตอ้ งช่วยคาดการณส์ ิง่ ทอ่ี าจเกิดขึน้ และสามารถช่วย ลดความสญู เสยี โดยทั่วไปการวางแผน มี 2 ประเภท คอื ประเภทท่ี 1 การวางแผนเพอ่ื อนาคต เป็นการวางแผนเพือ่ สง่ิ ท่เี กิดขนึ้ ในอนาคต ประเภทที่ 2 การวางแผนเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เป็นการวางแผนเพื่อพัฒนาสภาพ ทเ่ี กิดข้ึนในปจั จบุ ันเพือ่ ให้ดีขึน้ ข้ันตอนปฏบิ ตั ิตามแผน (Do)

8 การปฏบิ ตั ติ ามแผน หมายถึง การดำเนนิ การตามแผน อาจประกอบดว้ ยการมโี ครงสรา้ งคณะทำงาน รองรบั การดำเนินการ เชน่ คณะกรรมการ วิธีดำเนนิ การ ผ้รู ับผิดชอบดูแล เช่น มีคณะทำงานคอยควบคุม กำหนดนโยบาย ติดตามตรวจสอบการทำงาน มีการกำหนดข้ันตอนท่ีชัดเจน มีวิธีการดำเนินการที่สามารถ ดำเนินการได้จริง ไม่ยากจนเกินความสามารถของผู้ที่จะทำ มีผู้รับผิดชอบดำเนินการที่ชัดเจน เพียงพอ มี ระยะเวลาทีก่ ำหนดท่ีเหมาะสม มงี บประมาณในการทำงาน ขัน้ ตอนตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนเป็นการการประเมินแผน อาจ ประกอบด้วย การประเมนิ โครงสร้างที่รองรับ การดำเนินการ การประเมินขั้นตอนการดำเนินงาน และการ ประเมินผลของการดำเนินงานตามแผนที่ได้ต้ังไว้ แนวคำตอบผลของการประเมิน ต้องสามารถตอบโจทย์ และตรงกับวัตถุประสงค์ทีว่ างไว้ เนน้ การประเมินปญั หา จุดออ่ น ข้อดี จดุ แข็ง ทมี่ ใี นการดำเนินการ ขนั้ ตอนปรับปรงุ แกไ้ ขพฒั นาตอ่ เนอ่ื ง (Act) มกี ารนำผลประเมินที่ได้มาทำการวิเคราะห์ เพือ่ พฒั นาแผน ในการปรบั ปรงุ ต่อไป ในส่วนน้ีควรจะ เสนอแนะปัญหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหา หรือการพัฒนาระบบที่มีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นไปอีกไม่มีที่ สิน้ สดุ เชน่ ทำการระดมสมองเพ่อื หาทางแก้ไข ปญั หา จุดออ่ น ข้อดี จดุ แข็ง ที่พบปรบั ปรงุ ให้ดยี ่ิงขึน้ นำผล ท่ไี ดเ้ พอื่ พิจารณาใช้วางแผนในครงั้ ต่อไป ปกติในอดีตการนำวงจรควบคมุ คุณภาพมาใช้ Deming ได้เน้นความสัมพันธ์ 4 ฝ่ายในการดำเนิน ธุรกิจเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ และความพึงพอใจของลูกค้า คือ ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย และฝ่าย วจิ ัย ความสมั พนั ธ์ของทง้ั 4 ฝ่ายน้ันจะต้องดำเนินไปอยา่ งต่อเนือ่ งเพื่อยกระดบั คุณภาพของสินค้าตามความ ต้องการของลูกค้าที่เปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยยึดหลักคุณภาพต้องมาก่อนสิ่งใด ต่อมาได้ถกู พัฒนาให้ สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพย่งิ ขน้ึ ในประเทศญ่ปี ุ่น ซึง่ ให้ความสำคญั กับพืน้ ฐานการบริหารงาน 2 อย่างคือ การสือ่ สารและความรว่ มมอื รว่ มใจจากทุกคนในหน่วยงาน โดยผบู้ รหิ ารยังคงเปน็ ผกู้ ำหนดแผนงาน แตจ่ ะสอื่ สารผ่านช่องทางหัวหนา้ งานและพนักงานตามลำดบั ชัน้ เปา้ หมายถูกกำหนดขน้ึ ตามความเหมาะสม ภาพที่ 1.2.2 แสดงวงจรคุณภาพ PDCA แบบญป่ี ุ่น

9 วงจรคุณภาพ PDCA ได้ถูกนำมาใช้เพื่อปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง ทุกครั้งที่วงจรคุณภาพหมุน ครบรอบก็จะเป็นแรงส่งให้หมุนในรอบต่อไป วิธีการใหม่ ๆ ที่ทำให้เกิดการปรับปรุงก็จะถูกจัดทำเป็น มาตรฐานการทำงาน ซ่งึ จะทำใหก้ ารทำงานมกี ารพัฒนาอย่างไม่ส้นิ สดุ การเริ่มด้วยการปรับปรุงเล็กๆ นอ้ ยๆ กอ่ นทจ่ี ะก้าวไปส่กู ารปรบั ปรงุ ท่ีมคี วามซับซอ้ นมากข้ึนเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพให้สูงข้ึนอยา่ งต่อเนอ่ื ง ภาพท่ี 1.2.3 แสดงวงจรคณุ ภาพ PDCA กับการปรับปรงุ อย่างต่อเน่ือง กจิ กรรมท่ี 4 วงจรควบคมุ คุณภาพ คำสั่ง จงอธบิ ายวงจรควบคมุ คณุ ภาพหรอื วงจร PDCA มาพอเขา้ ใจ

10 1.3 การวางแผนเป้าหมายชวี ิตด้วยวงจรควบคุมคณุ ภาพ วงจร PDCA สามารถประยุกต์ใช้กับทุก ๆ เรื่อง นับแต่กิจกรรมส่วนตัว เช่น การฝึกซ้อมกีฬา การ เดินทางในแตล่ ะวัน การเตรียมตัวสอบ การตง้ั เป้าหมายชีวิต ตลอดจนการดำเนินงานในองคก์ ร การนำวงจรควบคุมคณุ ภาพหรอื วงจร PDCA ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการวางแผนเปา้ หมายชวี ติ นั้น มี ลกั ษณะดังน้ี คือ วางแผน Plan คือ การวางแผนชีวิตหรือ เปา้ หมายชวี ติ โดยจะต้องทราบว่าตนเองนนั้ อยาก ทำอะไร ต้องการอะไร แล้วจึงตั้งเป้าหมายและ วิธีการในการดำเนินชีวิตให้ชัดเจนของเป้าหมาย ของชีวิตแต่ละคนมีความแตกต่างกนั ออกไป Act ปรับปรุงแก้ไข คือ การนำ Do การปฏิบัติตามแผน คือ ความผิดพลาดที่เกิดจากการ การทำตามแผนที่กำหนด ปฏิบัติ ไม่ว่าในขั้นตอนใดก็ตาม ด ้ ว ย ค ว า ม ต ั ้ ง ใ จ ม ุ ่ ง มั่ น ไปหาสาเหตุและแก้ไข พยายามตรวจสอบการ ข ้ อ ผ ิ ด พ ล า ด ท ี ่ เ ก ิ ด ข ึ ้ น เ พ ื ่ อ ใ ห้ ปฏบิ ัตติ ามแผน ผลงานสำเร็จตามเป้าหมายท่ี กำหนดไว้ในกระบวนการ Check การตรวจสอบ คือ การประเมิน วางแผน กรณีผลงานสำเร็จตาม เปา้ หมายชีวิตที่ได้วางแผนไว้กับผลการปฏิบัติท่ี เป้าก็หาวิธีการปรับปรุงให้งานมี เกิดขึ้นจริง มีข้อใดที่ทำแล้วสำเร็จลุล่วงตาม คุณภาพที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อ เป้าหมาย หรือไม่เป็นไปตามเป้าหมายต้องหา ยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้นอัน วิธีการปรับปรุง นำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ประสบ ความสำเรจ็ มากข้ึน ภาพ ตวั อย่างการประยกุ ตใ์ ชว้ งจรควบคุมคุณภาพกบั การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ ตารางแสดงตวั อยา่ งการวางแผนเป้าหมายชีวติ ด้วยวงจรคณุ ภาพ

11 การวางแผน การลงมือปฏบิ ัติ การประเมินผล การปรับปรงุ (Plan) (Do) (Check) (Act) ด้านการศึกษาสอบเขา้ ตง้ั ใจศกึ ษาเลา่ เรยี น สำเรจ็ การศกึ ษาตาม หาสาเหตขุ องการไมส่ ำเรจ็ ศกึ ษาต่อใน ฝึกฝนหา หลกั สตู รภายใน การศกึ ษา และมุ่งม่ันศกึ ษา สถาบนั การศกึ ษาและ ประสบการณ์ ระยะเวลาท่กี ำหนด จนสำเรจ็ สาขาวชิ าทตี่ ้องการ หรือไม่ ด้านอาชพี เตรียมตัว ประกอบอาชพี ดว้ ย เป็นอาชพี ท่เี ราต้องการ หาทางประกอบอาชพี ที่ สมัคร/สอบเขา้ ทำงานใน ความขยนั หมนั่ เพียร หรือไม่ (ประเมนิ ถนดั และชอบ หนว่ ยงานทีต่ ้องการ และซ่อื สตั ยส์ จุ ริต ความสขุ ในการทำงาน) มีความกา้ วหนา้ หรือไม่ ดา้ นการสรา้ งครอบครัว สร้างครอบครวั ครอบครัวสมบูรณต์ ามท่ี มีคู่คดิ ท่ดี แี ละท่ปี รึกษาท่ดี ี ตดั สินใจเลือกคูค่ รองท่มี ี ออม/ลงทนุ คาดหวงั หรือไม่ ศึกษาวธิ ีการออมและการ ความพรอ้ ม ลงทนุ ให้มากข้นึ ดา้ นสขุ ภาพ เตรยี มตวั ออกกำลงั กาย สุขภาพแขง็ แรง ดแู ลสขุ ภาพตามท่บี กพรอ่ ง ตรวจสุขภาพประจำปเี ก็บ รบั ประทานอาหารที่ ปราศจากโรคภัยหรอื ไม่ ตามคำแนะนำของหมอหรือ ข้อมลู ไวด้ ูแลตนเอง มปี ระโยชน์ ผลการตรวจสุขภาพ ผ้เู ช่ยี วชาญ ตรวจสุขภาพ ปกติหรอื ไม่ ประจำปี การทอ่ งเทีย่ ว เดินทางไปท่องเทย่ี ว เดนิ ทางกลบั และ ข้อพกพรอ่ งทเ่ี กิดข้ึน คือ - เลือกจงั หวดั ทจี่ ะไป ตามท่ีไดเ้ ลือก ตรวจสอบวา่ มีเร่อื ง - ใช้จา่ ยเงนิ เกนิ ทอ่ งเท่ยี ว สถานท่ีไว้ โดยปฏบิ ตั ิ ใดบ้างทไ่ี มส่ ามารถ งบประมาณท่ีต้ังไว้ ทาง - เลือกทีพ่ ักโดย ตามแผนที่วางไว้ ปฏบิ ตั ิตามแผนได้ เชน่ แก้คอื การเดนิ ทางครั้ง เปรยี บเทยี บราคาจาก -การใช้จา่ ยเงนิ ตอ่ ไปจะตอ้ งซ้ือของ หลายๆ ที่ และเช็คราคา - แหลง่ ท่องเทยี่ ว ฝากใหน้ อ้ ยลง ระหวา่ งวนั หยุดกบั วัน - เสน้ ทาง อาหาร ฯลฯ - ศึกษาเส้นทางการ ธรรมดา เดนิ ทางใหร้ อบคอบใน - ศกึ ษาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว การท่องเทีย่ วครัง้ ต่อไป ควรอยใู่ กล้กบั ท่พี กั - กำหนดงบประมาณ - ศกึ ษาเส้นทางไป-กลบั

12 สรปุ บุคคลทกุ คนคงมีเป้าหมายในชวี ิต ซงึ่ เป้าหมายของแตล่ ะบุคคลย่อมแตกต่างกันไป แตโ่ ดยส่วนใหญ่ แล้วเปา้ หมายในชวี ิตก็จะเกยี่ วกับฐานะการเงิน หนา้ ท่ีการงานที่มัน่ คง มีปจั จัยส่คี รบถ้วน ตลอดจนมีช่ือเสียง ได้รับการยอมรับจากสังคม การที่จะบรรลุเป้าหมายในชีวิตได้จึงต้องมีการวางแผนชีวิตในด้านต่าง ๆ เช่น แผนการศึกษา แผนการเงิน แผนการประกอบอาชีพ แผนชีวิตด้านครอบครัว ฯลฯ การนำหลักการวงจร ควบคุมคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนอย่างรอบคอบ การลงมือปฏิบัติด้วยความมุ่งมั่น การ ตรวจสอบแผนการปฏิบัติตามแผน หากเมื่อเกดิ ความผดิ พลาดก็จะตอ้ งหาหนทางแก้ไขปรับปรงุ ไมท่ ิ้งความ ฝนั หรอื เปา้ หมายก็จะทำให้ประสบความสำเรจ็ ไดโ้ ดยง่าย กิจกรรมท่ี 5 การวางแผนชวี ติ ด้วยวงจรควบคุมคณุ ภาพ คำสงั่ จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. จงสรปุ สาระสำคัญของวงจรคุณภาพหรือวงจรเดมมง่ิ และประกอบด้วยอะไรบา้ ง 2. เปา้ หมายในชวี ติ หมายถงึ อะไร 3. ระดบั ของการวางแผนเปา้ หมายชวี ิตของบคุ คลมกี ี่ระดบั ประกอบดว้ ยอะไรบา้ งจงอธบิ าย กิจกรรมท่ี 6 คำสัง่ ให้นักเรียนวางแผนการประกอบอาชพี ในอนาคตดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพ(PDCA) โดย ระบกุ ารดำเนนิ การต่าง ๆ ลงในตารางทีก่ ำหนดให้ 1.1 แผนการประกอบอาชพี ในอนาคต ขัน้ วางแผน ขัน้ ลงมอื ปฏบิ ัติ ขนั้ ประเมินผล ปรบั ปรุง (Plan) (Do) (Check) (Act)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook