Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Knowledge Management

Knowledge Management

Published by iixaxoe112233, 2021-09-29 11:04:32

Description: รายงานส่งอาจารย์

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอ่ื ง วิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วชิ าชีพนกั พัฒนาสังคม สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน (องค์การ มหาชน) เสนอ ผศ. ดร. กนกพร ฉมิ พลี จดั ทำโดย นาย จิรายุ ไม่ย่อท้อ 6140308130 รายงานฉบบั นี้เป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชา การจัดการความรเู้ พ่อื การพัฒนาสังคม (219331) สาขาวิชาการพฒั นาสังคม มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

ก คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาสังคม โดยมี จุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้(Knowledge Management) ทั้งนี้รายงานนี้มี เน้ือหาประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ ตลอดจนการประยุกต์ใช้ในสาขาวิชาการพัฒนา สังคม ผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อน้ีในการทำรายงาน เน่ืองมาจาก ผศ.ดร กนกพร ฉิมพลี ได้ให้นักศึกษาหา ความรเู้ กีย่ วกบั การจดั การความรู้ และเป็นผลคะแนนสอบ หวงั ว่ารายงานเล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์แก่ผู้อ่าน ทุกๆ ทา่ น ไมม่ ากกน็ ้อย หากมขี อ้ เสนอแนะประการใดผจู้ ัดทำขอรบั ไว้ดว้ ยความขอบพระคุณยิ่ง นายจริ ายุ ไมย่ ่อท้อ ผู้จดั ทำ

ข สารบญั คำนำ .....................................................................................................................................................ก สารบญั ..................................................................................................................................................ข เน้อื หา.................................................................................................................................................... 1 1. จงอธบิ ายกระบวนการเกิดความรู้ พรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ เพอ่ื สังเคราะห์กระบวนการเกิด ความรู้ของตนเอง อย่างละเอียด......................................................................................................... 1 2. กระบวนการสรา้ งความรู้ หรือ SECI Model มลี กั ษณะเป็นอยา่ งไร และทา่ นมีแนวทางการสรา้ ง ความจาก Model ดังกล่าวได้อย่างไรบ้าง .......................................................................................... 1 3. จงวิเคราะห์กระบวนการจัดการความรู้ โดยอธิบายว่า แตกต่างระหวา่ งกระบวนการจัดการความรทู้ ี่ ประยกุ ต์ใชใ้ นภาคองคก์ รและกระบวนการจัดการความรู้ในชมุ ชน อยา่ งละเอียด ............................... 3 4. ในฐานะทที่ ่านเป็นนักพัฒนาสงั คม จงอธบิ ายแนวทางการจดั การความรเู้ พ่อื การพัฒนาบัณฑติ สาขาวิชาการพัฒนาสงั คมในอนาคต วา่ ควรมรี ปู แบบ/แนวทางเปน็ อย่างไรทจ่ี ะสง่ ผลให้บัณฑิต สาขาวชิ าการพฒั นาสังคม เป็นบณั ฑติ ที่มคี ุณภาพ.............................................................................. 4 อา้ งอิง.................................................................................................................................................... 5

1 เนื้อหา 1. จงอธบิ ายกระบวนการเกดิ ความรู้ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพ่อื สงั เคราะห์ กระบวนการเกิดความรขู้ องตนเอง อยา่ งละเอียด กระบวนการเกดิ ความรู้ มี 3 ขอ้ หลักๆคือ 1) ข้อมูล (DATA) เป็นข้อเท็จจริง โดยเป็นข้อมูลดิบหรือตัวเลขที่ไม่ได้ผ่านการแปลความหรือ ตคี วามแต่อยา่ งใด 2) สารสนเทศ (Information) เป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาใช้ในการ ตัดสินใจโดยมีบรบิ ททีเ่ กิดจากความเชื่อ ความคิดหรือประสบการณ์ของผู้ใช้สารสนเทศนั้น โดยอยู่ในรปู ขอ้ มูลทว่ี ดั ได้ จบั ต้องได้ 3) ความรู้ (Knowledge) เป็นสารสนเทศที่ผา่ นกระบวนการคิดเปรียบเทยี บ เชอ่ื มโยงกับความรู้ อืน่ ๆ จนเกิดความเขา้ ใจ และนำไปใช้ในการตัดสินใจ ยกตวั อย่าง หากข้อมูลของเรา คือกะเพราหมู เรารู้แล้วว่านี่คือกะเพราหมู แต่เราไม่รู้ว่าต้องทำอย่างไร ต้องใส่ อะไรบ้าง เรารู้เพียงแค่นี่คือกะเพราะหมู สารสนเทศ คือการที่เรานำกะเพราหมูมาวิเคราะห์ว่า ต้องใช้ อะไรบ้าง เช่น ต้องใช้หมู ต้องใช้ใบกะเพรา กะเทียม พริก น้ำมัน น้ำมันหอย เป็นต้น โดยการสอบถาม จากแม่ค้าก็คือ ความรู้ความคดิ ประสบการณ์ของผูใ้ ช้สารสนเทศน้ัน แล้วความรู้คืออะไร ก็คือการที่เรารู้ แล้วว่าวิธีการทำกะเพราหมูเป็นอย่างไหนและแบบใด หากต้องการทำ กะเพราะเนื้อ หรือกะเพรา ปลาหมึก เราก็นำมาเปรียบเทียบเช่ือมโยงกัน ว่าเราควรปรับในรูปแบบใด จนเราเข้าใจว่า หากเราจะทำ กะเพราเนือ้ ส่งิ ท่เี ราควรเปลย่ี นคือ นำเนอ้ื มาใส่ เพือ่ ใหเ้ กิดเป็นกะเพราเนือ้ โดยนำความรูจ้ ากสารสนเทศ ท่ีผ่านการคดิ และเปรียบเทยี บมาแล้ว เพ่ือให้เกดิ ผลลัพธ์ท่ตี ้องการ 2. กระบวนการสร้างความรู้ หรือ SECI Model มีลักษณะเป็นอย่างไร และท่านมีแนว ทางการสรา้ งความจาก Model ดังกล่าวได้อยา่ งไรบา้ ง กระบวนการเกิดความรู้ SECI Model มลี กั ษณะเป็น วัฏจักรชวี ติ โดย มี 4 ข้ันตอน คอื 1) การสรา้ งปฏสิ ัมพันธ์ทางสังคม (Socialization)

2 คือ การสร้างความรู้แบบฝังลึก เป็นความรู้แบบฝังลึกโดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์อัน เนื่องมาจากส่ิงแวดล้อมเดียวกัน โดยการฝึกอบรบ หรือการแนะนำ ซึ่งบุคคลสมารถสร้างการรับรู้โดยนัย ได้ จากการสงั เกต การลอกเลียนแบบ หรือการลงปฏิบัติจรงิ (Tacit to Tacit) 2) การปรบั เปลีย่ นสู่ภายนอก (externalization) คือ การพูดหรือบรรยายความรู้แบบฝังลึกให้เป็นความรู้ชัดแจ้ง โดยการใช้อุปมาอุปมัย การ เปรียบเทียบและการใช้ตัวแบบ ซึ่งการเปรียบเทียบจะช่วยให้สามารถมองเห็นภาพได้ง่ายขึ้น รวมไปถึง การนำประสบการณ์มาถ่ายทอดในลักษณะคำอุปมาอุปมัย เป็นการนำประสบการณ์ออกมาสู่ภายนอก ทำใหช้ ดั แจง้ ขึ้น ซง่ึ กระบวนการนีน้ บั วา่ เปน็ หวั ใจสำคัญของกระบวยการสร้างความรู้ (Tacit to Explicit) 3) การผสมผสาน ( Combination ) คือ การรวบรวมความรู้ชัดแจ้งให้เป็นความรู้ที่ขยายวงกว้างออกไป โดยการวบรวมหรือ บูรณาการองค์ความรู้หรือสังเคราะห์ความรู้ที่มีอยู่ให้ใหญ่ขึ้นมาเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เกิดเป็นระบบและ ชัดเจน ซึ่งความรู้ที่นำมารวมกันนี้เกิดจากการแลกเปลี่ยนของบุคคลเป็นหลัก รวมกับความรู้ที่ผ่านสื่ อ หรือช่องทางความรู้ เช่นการสนทนา การประชุม เป็นต้น ( Explicit to Explicit ) 4) การปรบั เปลย่ี นสภู่ ายใน ( Internalization ) คือ การสร้างความรู้แบบชดั แจ้งให้เป็นความรู้แบบฝังลึก โดยการเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดย ศกึ ษาความรู้ที่ได้เขียนไว้ในคู่มือ เอกสาร ซ่ึงเปน็ การเรยี นรู้ของแตล่ ะบุคคลท่เี กิดจากนำความรู้ไปปฏิบัติ กลบั ไปเป็นความร้โู ดยนยั ที่ฝังอยู่ในบุคคลน้นั ๆ และเป็นทรัพย์สนิ ท่ีแตะตอ้ งไม่ได้และมีคา่ ยิง่ ต่อองค์การ ( Explicit to Tacit ) ยกตัวอย่างการนำ SECI Model มาปรับใช้ S หรือการสรา้ งปฏสิ มั พันธท์ างสงั คม หากผมตอ้ งการท่ีจะเล่นสเกต็ บอร์ด โดยทว่ี ่าผมไม่เคยรู้มา กอ่ นเลยวา่ สเกต็ บอร์ดเล่นอย่างไร ก็ต้องไปสรา้ งปฏิสัมพนั ธ์ทางสงั คมที่เขาเลน่ สเกต็ บอร์ดดว้ ยกนั โดยให้ ฝั่งนั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ว่าสเก็ตบอร์ดเล่นอย่างไร แนะนำว่าควรเล่นแบบไหน โดยให้เราสังเกต การเลน่ แลว้ ทำเลียนแบบ แลว้ นำมาปฏบิ ตั ิจริง

3 E หรือ การปรับเปลี่ยนสู่ภายนอก เช่นเรารู้แล้วแหละว่า การเล่นมันเป็นอย่างไร เช่นการ กระโดดกับแผ่น เรารู้แค่ว่าต้องกระโดดแหละ แต่จะต้องกระโดดอย่างไรให้ถูกต้อง โดยใช้การอุปมาอุป มยั เช่น คิดวา่ เรากระโดดสองขาแลว้ เราบนิ ไปกับแผน่ ทำนองนี้ จะทำให้เรามองเห็นภาพไดด้ ขี ้นึ C หรือ การผสมผสาน เช่น เรากระโดดเป็นละ แล้วเราจะทำท่าอื่นอย่างไร เช่น กระโดดแล้ว แผ่นหมนุ เรากต็ ้องนำความรู้ จาก E มาผสมผสาน อยา่ งการกระโดด เราเข้าใจแต่การทำให้แผ่นหมุนละ เราก็ต้องไป พูดคยุ กบั บุคคลอ่ืนวา่ จะทำให้แผน่ หมุนอย่างไร โดยใชก้ ารสนทนา เป็นหลัก เพ่ือให้เราเกิด ความรู้วา่ เราจะกระโดดและทำใหแ้ ผ่นหมุนได้อยา่ งไง I หรือ การปรับเปล่ียนสู่ภายใน เมื่อเรารู้แลว้ ว่าสเก็ตบอร์ดเลน่ อย่างไร กระโดดแบบไหน ทำให้ แผ่นหมุนยังไง โดยข้อมูลเหล่านี้เกิดจากเราปฏิบัติ โดยศึกษาจากบุคคลอื่น ซึ่งเป็นการเรียนรู้ของแต่ละ บุคคล 3. จงวิเคราะห์กระบวนการจัดการความรู้ โดยอธิบายว่า แตกต่างระหว่างกระบวนการ จัดการความรู้ที่ประยุกต์ใช้ในภาคองค์กรและกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน อย่าง ละเอยี ด ไม่แตกต่างกัน เพราะทั้งภาคองค์กรหรือชุมชนนั้น ต่างต้องการสิ่งเดียวกันนั้นก็คือ “ความเข้มแข็ง” ไม่ว่าจะเป็นความเข้มแข็งขององค์กรหรือความเข้มแข็งของชุมชน โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ ซึ่ง กระบวนการจดั การความรู้มีอยู่ 7 ขัน้ ตอน 1.การบง่ ช้คี วามรู้ เป็นการวเิ คราะห์ความรูท้ ่ีมีอยู่ 2.การสร้าง และแสวงหาความรู้ หาความรู้ที่อยู่ทั้งภายในและภายนอกเพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ 3. การจัดการความรใู้ ห้เป็นระบบ แบ่งชนิดประเภทความรู้ เพอื่ จัดทำใหเ้ ป็นระบบและสะดวกต้อการค้นหา หรือใช้งาน 4. การประมวลและกล่ันกรองความรู้ จดั ทำรปู บบและภาษาให้เข้าใจทวั่ ทงั้ องค์กรหรือชุมชน และปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการ 5.การเข้าถึงความรู้ สามารถเข้าถึงได้สะดวก และรวดเร็วในเวลาทีต้องการ 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ การจัดทำเอกสาร ระบบพี่เลี้ยง การ สับเปลี่ยนงาน 7.การเรียนรู่ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ เพื่อแก้ไขปัญหาและปรับปรุง องคก์ รหรือชมุ ชน

4 จากที่เราเหน็ ทั้ง 7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ จะไม่สำเรจ็ เลย หากขาด “คน” ไป ไม่ว่า จะเปน็ ทง้ั องค์กรหรือชุมชนทีต่ ้องการความเขม้ แข็ง โดยการใชค้ น เปน็ แรงขับเคลื่อนให้เกดิ ความเข้มแข็ง โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ การจัดการความรู้สำหรับองค์กรหรือชุมชน ไม่ได้แตกต่างกันเลย เพราะจดุ ประสงค์ของท้ังองค์กรและชุมชนกค็ อื ความเข้มแข็งขององค์กรหรือชุมชน 4. ในฐานะท่ีท่านเป็นนกั พฒั นาสังคม จงอธบิ ายแนวทางการจัดการความรู้เพ่ือการพัฒนา บัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาสังคมในอนาคต ว่าควรมีรูปแบบ/แนวทางเป็นอย่างไรที่จะ ส่งผลให้บณั ฑิตสาขาวิชาการพฒั นาสังคม เป็นบัณฑิตทมี่ ีคณุ ภาพ การเรียนมหาลัย เราเรียนมหาลยั ทั้งหมด 4 ปี แบ่งให้ชัดเจนว่า แต่ละปี เราควรที่จะมุ่งไปทางไหน เช่น ปี 1 พัฒนาสงั คมคืออะไร ปี 2 พฒั นาสังคมตอ้ งทำอะไร ปี 3 พัฒนาสงั คมทำอะไรได้บ้าง ปี 4 กเ็ ป็น การสรุปความเป็นพัฒนาสังคม เป็นต้น โดยเราจะใช้ 7ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้เข้ามา ชว่ ยเหลือได้ เพราะเราก็ใช้ คน ในการเรียนรเู้ หมือนกนั ตอ้ งทำนกั ศึกษานั้น รู้สกึ อยากทำ นักศึกษาต้อง มีทรัพยากรที่จำเป็นในการเรียนรู้ นักศึกษาต้องรู้ว่าทำอย่างไรโดยการใช้การฝึกอบรมหรือเรียนรู้ นักศึกษาต้องประเมนิ ได้วา่ ทำได้ตามเปา้ หมายหรือทำแลว้ ได้ประโยชนต์ ่อนักศึกษาหรือไม่ และนักศึกษา ตอ้ งอยากทำและปรับปรงุ อย่างต่อเนื่องโดยเน้นการสร้างแรงจูงใจให้นกั ศึกษา เพื่อใหเ้ กิดผลต่อนักศึกษา และประโยชน์ต่อสาขาการพัฒนาสังคม

5 อ้างอิง ผศ.ดร กนกพร ฉิมพลี. (2564). แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรียนร.ู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook