Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน1-3 pdf pro

แผน1-3 pdf pro

Description: แผน1-3 pdf pro

Search

Read the Text Version

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตผุ ล การบริหารราชการแผ่นดินนั้นรัฐบาลได้ประกาศนโยบายในการบริหารประเทศตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 และได้จัดทำแผนบริหารราชการ 4 ปี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร ราชการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 กำหนดให้ทุกส่วนราชการมีแผนปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการนั้น โดยจัดทำเป็นแผน 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งจะต้องมีความสอดคล้องกับแผน บริหารราชการแผ่นดินเป็นกรอบในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ทั้งนี้จะต้องจัดทำรายงาน ผลสัมฤทธ์ขิ องการปฏิบตั ริ าชการประจำปีดว้ ย วทิ ยาลยั การอาชีพพทุ ธมณฑล เป็นหนว่ ยงานราชการทม่ี ีภารกจิ ตามกฎหมาย ในการผลิตพัฒนา กำลงั คนทเ่ี ป็นทรพั ยากรมนุษย์ ท่ีมีคุณภาพและสมรรถนะในการประกอบอาชีพ สาขาวชิ าต่างๆ ซ่ึงจัดอย่ใู น ประเภทอุตสาหกรรมบริการ ไดแ้ ก่ สาขาชา่ งยนต์ ช่างไฟฟ้ากำลงั ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ช่างกลโรงงาน สาขาวิชา พาณชิ ยกรรม ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบญั ชี คอมพิวเตอรก์ ราฟิก ธรุ กจิ คา้ ปลีก การโรงแรม และเทคโนโลยี สารสนเทศในการขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ สังคมของประเทศ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการดำเนินงานและ พัฒนาวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑลในอีก ปีข้างหน้า ที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารราชการ 4 แผ่นดินของรัฐบาลนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตลอดจนนโยบายจังหวัด โดยกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ตัวช้ีวดั เป้าหมาย และงบประมาณที่ชัดเจน เพือ่ เปน็ กรอบในการปฏิบัติราชการให้ เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ สำเรจ็ ลุล่วงตามเป้าประสงค์เพื่อให้บังเกดิ ผลดีต่อประชาชนและประเทศชาติตอ่ ไป ในการนี้ ในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล จึงได้ทำการ รวบรวมเอกสารและเก่ยี วกบั นโยบายต่างๆ ทั้งนโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2562 - 2565 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

2 อาชีวศึกษา นโยบายของจังหวัดนครปฐม แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลาง แหล่งที่มาเป็นข้อมูลในการ กำหนดนโยบายวิทยาลยั การอาชีพพทุ ธมณฑล และการสำรวจสภาพปจั จุบนั ในดา้ นโอกาสการจัดการศกึ ษา 1.2 วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2562) วิสัยทศั น์ มงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ คคู่ ณุ ธรรม มคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ดี มี ีความสขุ ในสังคม พันธกจิ 1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดบั /ประเภทสูส่ ากล 2. เสรมิ สร้างโอกาสเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาของประชาชนอย่างทั่วถงึ เทา่ เทยี ม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าล ยุทธศาสตร์ 1. พฒั นาหลักสตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล 2. ผลติ พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 3. ผลิตและพฒั นากำลงั คน รวมทั้งงานวจิ ยั ท่ีสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของการพัฒนาประเทศ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาและการเรียนรู้อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ 5. สง่ เสริมและพฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื การศึกษา 6. พัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา เปา้ ประสงค์ 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และ การพฒั นาประเทศในอนาคต 2. กำลงั คนได้รับการผลติ และพัฒนา เพ่ือเสรมิ สร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ 3. มีองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนนุ การพฒั นาประเทศอยา่ งย่งั ยนื 4. คนไทยไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ 5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

3 1.3 วสิ ัยทัศน์ นโยบายของรัฐบาล วิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยมีความมนั่ คง ม่ังคัง่ ยั่งยืน”เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทั้งนี้ วิสัยทัศน์ดังกลา่ วจะตอ้ งสนองตอบต่อผลประโยชน์ แห่งชาติ อนั ได้แก่ การมเี อกราช อธปิ ไตย และบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรฐั การดำรงอยู่อย่างมัน่ คง ย่ังยนื ของสถาบันหลักของชาติ การดำรงอยู่ อย่างม่นั คงของชาติและประชาชนจากภยั คกุ คาม ทกุ รูปแบบ การอยูร่ ่วมกนั ในชาติอย่างสันตสิ ขุ เป็นปกึ แผน่ มีความมั่นคงทางสังคมท่ามกลาง พหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรม และความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลง ของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติประสาน สอดคล้องกับด้าน ความมั่นคงในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี ไม่เป็นภาระ ของ โลกและสามารถเกอื้ กลู ประเทศท่ีมีศักยภาพทางเศรษฐกจิ ทด่ี ้อยกวา่ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ในการท่จี ะบรรลุวสิ ัยทศั นแ์ ละทำให้ประเทศไทยพัฒนาไปสอู่ นาคตท่ีพงึ ประสงค์น้นั จำเปน็ จะตอ้ งมี การวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์การพฒั นาในระยะยาว และกำหนดแนว ทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้ ขบั เคลอื่ นไปในทิศทางเดียวกัน ดงั นัน้ จึงจำเป็นจะตอ้ งกำหนด ยทุ ธศาสตร์ชาตใิ นระยะยาว เพอื่ ถ่ายทอดแนว ทางการพัฒนาสู่การปฏบิ ัตใิ นแตล่ ะชว่ งเวลาอยา่ ง ตอ่ เน่ืองและมกี ารบูรณาการ และสร้างความเขา้ ใจถงึ อนาคต ของประเทศไทยรว่ มกนั และเกิดการ รวมพลังของทุกภาคสว่ นในสงั คมท้งั ประชาชน เอกชน ประชาสงั คม ใน การขับเคล่ือนการพัฒนา เพ่ือการสรา้ งและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แหง่ ชาติและบรรลุวิสยั ทัศน์ “ประเทศไทยมี ความมั่นคง มงั่ คัง่ ย่งั ยนื เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรอื แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

4 คตพิ จน์ประจำชาติ “ม่นั คง ม่ังคง่ั ยัง่ ยนื ” เพอื่ ให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มรี ายได้สูงอยู่ในกลมุ่ ประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี กนิ ดี สังคมมีความม่ันคง เสมอภาค และเป็นธรรม ซ่ึงยุทธศาสตร์ ชาติทีจ่ ะใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ ๒๐ ปตี ่อจากนไ้ี ป จะประกอบดว้ ย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ )๑( ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้าง )๒( ยทุ ธศาสตร์ด้านความม่ันคง ความสามารถในการแขง่ ขัน ยทุ ธศาสตร์การ )๓( พัฒนาและเส ริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ )๔( ดา้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทาง สงั คม ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ ง)๕( การเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม และ ยุทธศาสตร์ )๖( ดา้ นการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ โดยมีสาระสำคญั ของแต่ละยุทธศาสตร์ สรปุ ได้ ดงั นี้ 1. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมงั่ คั่ง มีเปา้ หมายท้งั ในการสรา้ ง เสถยี รภาพภายในประเทศและช่วยลดและ ป้องกันภัยคุกคามจากภายนอก รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นใน กลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคมโลกที่มีต่อ ประเทศไทย กรอบแนวทางท่ีต้องให้ความสำคัญ อาทิ )๑( การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ (๒) การปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมืองขจัดคอร์รัปชัน สร้างความเช่ือมน่ั ในกระบวนการยตุ ิธรรม (๓) การรักษาความมนั่ คงภายในและความสงบเรยี บร้อยภายใน ตลอดจนการบรหิ ารจัดการ ความมนั่ คงชายแดนและชายฝง่ั ทะเล (๔) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับและรักษา ดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศมหาอำนาจ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง รูปแบบใหม่ (๕) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกำลังป้องกันประเทศ การรักษาความสงบ เรยี บรอ้ ยภายในประเทศ สรา้ งความรว่ มมือกับประเทศเพือ่ นบา้ นและมิตรประเทศ (๖) การพฒั นาระบบการเตรียมพรอ้ มแห่งชาติ และระบบบริหารจดั การภยั พิบตั ิ รกั ษาความ ม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม (๗) การปรบั กระบวนการทางงานของกลไกทีเ่ ก่ียวขอ้ งจากแนวดิง่ สู่แนวระนาบมากข้นึ ๒. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน เพือ่ ให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่การ เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ซ่ึงจำเป็นตอ้ ง ยกระดับผลติ ภาพการผลิตและการใชน้ วตั กรรมในการเพ่ิมความสามารถ ในการแข่งขันและ การพฒั นาอย่างยงั่ ยืนท้งั ในสาขาอุตสาหกรรม เกษตรและบริการ การสร้างความม่ันคงและ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

5 ปลอดภัยด้านอาหารการเพม่ิ ขีดความสามารถทางการค้าและการเป็นผู้ประกอบการรวมท้งั การพัฒนา ฐานเศรษฐกจิ แห่งอนาคต ท้ังนีภ้ ายใตก้ รอบการปฏริ ูปและพัฒนาปัจจยั เชิงยุทธศาสตร์ ทกุ ดา้ น อนั ได้แก่ โครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม การพัฒนาทุนมนษุ ย์ และการ บริหารจดั การทง้ั ในภาครฐั และภาคธุรกจิ เอกชน กรอบแนวทางทตี่ ้อง ใหค้ วามสำคญั อาทิ (๑( การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและสร้างความ เชื่อมั่นการส่งเสริมการค้าและการลงทุนที่อยู่บนการแข่งขันที่เป็นธรรมและรับผิดชอบต่อ สงั คม ตลอดจนการพัฒนาประเทศสู่ความเป็นชาตกิ ารค้าเพ่ือให้ได้ประโยชนจ์ ากห่วงโซ่มูลค่า มากขน้ึ (๒( การพัฒนาภาคการผลิตและบรกิ าร บนฐานของการพัฒนานวัตกรรมและมีความเป็นมติ ร ต่อส่ิงแวดล้อม โดยมกี ารใชด้ ิจิทลั และการค้าทเี่ ขม้ ขน้ เพื่อสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ และขยายกิจกรรม การผลติ และบริการ โดยม่งุ สูค่ วามเปน็ เลิศในระดบั โลกและในระดับภูมิภาคในอตุ สาหกรรม หลายสาขา และในภาคบริการท่หี ลากหลายตามรปู แบบการดำเนนิ ชีวิตและการดำเนินธุรกิจ ท่เี ปล่ียนไป รวมทงั้ เป็นแหล่งอาหารคุณภาพ สะอาดและปลอดภยั ของโลก - ภาคเกษตร โดยเสรมิ สรา้ งฐานการผลติ ใหเ้ ขม้ แข็งและยั่งยืน เพ่มิ ขีดความสามารถ ในการแข่งขนั ของภาคเกษตร ส่งเสรมิ เกษตรกรรายย่อยให้ปรบั ไปสกู่ ารทำการเกษตรยงั่ ยนื ท่ี เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมและรวมกลมุ่ เกษตรกรในการพฒั นาอาชีพที่เขม้ แขง็ และการพฒั นา สินคา้ เกษตรทม่ี ศี ักยภาพและอาหารคุณภาพ สะอาด และปลอดภยั - ภาคอุตสาหกรรม โดยพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ ยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรม ปัจจุบันที่มีศักยภาพสูง และพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคตที่มีศักยภาพ โดยการใช้ดิจิทัลและ การคา้ มาเพมิ่ มลู ค่าและยกระดับหว่ งโซ่มลู คา่ ในระดบั สูงขึน้ - ภาคบริการ โดยขยายฐานการบริการใหม้ ีความหลากหลาย มคี วามเปน็ เลิศและเปน็ มติ รต่อ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยการยกระดบั บริการท่ีเปน็ ฐานรายไดเ้ ดิม เช่น การทอ่ งเทยี่ ว และพัฒนาให้ ประเทศไทยเป็นศนู ยก์ ลางการใหบ้ ริการสุขภาพ ธรุ กิจบรกิ ารด้านการเงนิ และธุรกจิ บริการ ที่ มศี กั ยภาพอืน่ ๆ เปน็ ตน้ (๓( การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการยกระดับผลิต ภาพแรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม )SMEs) สู่สากล และพัฒนา วิสาหกจิ ชมุ ชนและสถาบันเกษตรกร แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

6 (๔( การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและพัฒนา ระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ จัดระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและมีส่วนร่วมมีการ จัดการสิ่งแวดล้อมเมือง และโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับ ศกั ยภาพ (๕( การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ในด้านการขนส่ง ด้านพลังงาน ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร และการวจิ ัยและพฒั นา (๖( การเช่ือมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกจิ โลก สร้างความเป็นหุ้นสว่ นการพฒั นากบั นานา ประเทศ ส่งเสริมความร่วมมอื กบั นานาชาตใิ นการสรา้ งความมนั่ คงด้านต่างๆ เพิม่ บทบาท ของไทยในองค์กรระหว่างประเทศ รวมถงึ สร้างองคค์ วามรู้ดา้ นการต่างประเทศ 3.ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน เพอ่ื พัฒนาคนและสังคมไทยให้เปน็ รากฐานท่ี แขง็ แกรง่ ของประเทศ มีความพร้อมทางกาย ใจ สตปิ ัญญา มคี วามเป็นสากล มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์อย่างมี เหตผุ ล มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรม จริยธรรม รูค้ ุณคา่ ความเปน็ ไทย มีครอบครวั ท่มี ่ันคง กรอบ แนวทางท่ีต้องให้ความสำคญั อาทิ (๑( การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนนุ การเจริญเตบิ โตของประเทศ (๒( การยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรยี นรูใ้ ห้มีคณุ ภาพ เทา่ เทยี ม และทัว่ ถึง (๓( การปลูกฝงั ระเบยี บวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ (๔( การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี (๕( การสร้างความอยดู่ ีมีสุขของครอบครัวไทย เสรมิ สร้างบทบาทของสถาบันครอบครวั ใน การบม่ เพาะจิตใจใหเ้ ข้มแข็ง ๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม เพื่อเร่งกระจาย โอกาสการพัฒนาและสร้างความมั่นคงให้ทั่วถงึ ลดความเหลื่อมล้ำไปสสู่ ังคมท่เี สมอภาคและเปน็ ธรรม กรอบ แนวทางที่ต้องให้ความสำคัญ อาทิ (๑( การสรา้ งความมัน่ คงและการลดความเหลื่อมลำ้ ทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม (๒( การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสขุ ภาพ (๓( การสรา้ งสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมทเ่ี อ้ือต่อการดำรงชวี ติ ในสงั คมสูงวยั แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

7 ของชุมชน (๔( การสร้างความเขม้ แข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวฒั นธรรมและความเข้มแข็ง (๕( การพัฒนาการส่ือสารมวลชนให้เปน็ กลไกในการสนบั สนนุ การพฒั นา นโยบายรฐั บาลหลกั 12 ข้อ 1( ปกป้องและเชดิ ชสู ถาบันพระมหากษตั รยิ ์ 2( สร้างความม่ันคงและปลอดภัยของประเทศ และความสงบสขุ ของประเทศ 3( ทำนุบำรุงศาสนาและวัฒนธรรม 4( การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทีโลก 5( การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย 6( การพัฒนาพื้นทเ่ี ศรษฐกจิ และการกระจายความเจริญสูภ่ มู ิภาค 7( การพัฒนาสร้างความเขม้ แข็งจากฐานราก 8( ปฏิรูปกระบวนการเรยี นร้แู ละการพัฒนาศักยภาพของไทยทุกช่วงวัย 9( สาธารณสุขความเสมอภาคและสวสั ดกิ ารท่เี หมาะสมกับกลุม่ ประชาชน 10( การฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสง่ิ แวดล้อมเพอื่ สร้างการเตมิ โตอยา่ งย่งั ยืน 11( การปฏิรปู การบรหิ ารจัดการภาครัฐ 12( การป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบและกระบวนการยุติธรรม สรปุ คำแถลงนโยบายคณะรฐั มนตรี ๘. การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้และการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวยั ๘.๑ สง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ๘.๑.๑ จดั ให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกดิ อยา่ งต่อเน่ืองจนถึง เด็กวยั เรียนให้มีโอกาสพฒั นาตาม ศกั ยภาพ เพ่อื สรา้ งคนไทยท่ีมีพฒั นาการเต็ม ตามศักยภาพผ่านครอบครวั ที่อบอุน่ ในทกุ รปู แบบครอบครวั เพ่อื สง่ ตอ่ การพัฒนาเด็กไทย ให้มีคณุ ภาพสู่การพฒั นาในระยะถัดไปบนฐานการให้ความช่วยเหลือทค่ี าํ นึง ถงึ ศักยภาพ ของครอบครวั และพ้นื ท่ี เตรยี มความพร้อมการเป็นพอ่ แม่ ความร้เู รื่องโภชนาการและสขุ ภาพ การอบรมเลยี้ งดูการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั ผ่านการให้บริการสาธารณะที่เกีย่ วข้อง โดยเฉพาะการ ยกระดบั คุณภาพสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ท่ัวประเทศให้ได้มาตรฐาน และพฒั นา ศักยภาพของบุคลากรทาง การศกึ ษาและผูด้ แู ลเดก็ ปฐมวยั ให้สามารถจัดการศกึ ษาได้อยา่ ง มีคุณภาพ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

8 ๘.๑.๒ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคํานึงถึงพหุปัญญา ที่หลากหลายของเด็กแต่ละคนให้ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผ่านการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับระบบ โรงเรยี นปกติท่ีเปน็ ระบบและมที ศิ ทางทชี่ ัดเจน ๘.๒ พฒั นาบัณฑติ พันธใุ์ หม่ ๘.๒.๑ ปรับรปู แบบการเรียนรู้และการสอนเพื่อพฒั นาทักษะ และอาชพี ของคนทุกช่วงวัยสําหรับ ศตวรรษที่ ๒๑ โดยปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษา ให้ทันสมัย มีการนําเทคโนโลยีและการเรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์จริงเข้ามามสี ว่ นในการจัดการเรยี น ๒๑ การสอน และปรบั ระบบดึงดดู การคัดเลือก การผลิตและ พัฒนาครูที่นําไปสู่การมีครูสมรรถนะสูง เป็นครูยุคใหม่ที่สามารถออกแบบและจัดระบบการสร้างความรู้สร้าง วินัย กระตุ้น และสร้าง แรงบันดาลใจ เปิดโลกทัศน์มุมมองของเด็กและครูด้วยการสอนในเชิงแสดงความ คิดเหน็ ใหม้ ากขึ้น ควบค่กู บั หลกั การทางวิชาการ ๘.๒.๒ จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานเพื่อพัฒนา สมรรถนะของผู้เรียนทั้งในส่วน ฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ และตรงกับ ความต้องการของประเทศในอนาคต และ เป็นผู้เรียนที่สามารถปฏบิ ัตไิ ด้จริงและสามารถกํากับ การเรียนรู้ของตนเองได้รวมถึงมีทักษะด้านภาษาองั กฤษ และภาษาที่สามท่ีสามารถสื่อสาร และแสวงหาความรู้ได้มีความพร้อมท้ังทักษะความรู้ทักษะอาชพี และทักษะ ชีวติ ก่อนเข้าสู่ ตลาดแรงงาน ๘.๓ พัฒนาอาชวี ะ พัฒนาคุณภาพวชิ าชีพ และพัฒนาแรงงานรองรบั อตุ สาหกรรม ๔.๐ โดยการ จดั ระบบและกลไกความร่วมมือระหวา่ งหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ท่ชี ัดเจนเป็นระบบในการพฒั นากําลังคน ท่ีมที ักษะขัน้ สงู ใหส้ ามารถนําความรู้และทักษะมาใช้ ในการแก้ไขปญั หา รวมถึงการสรา้ งและพฒั นานวัตกรรม ซ่งึ ต้องครอบคลมุ การพัฒนากําลังคน ทีอ่ ยู่ในอุตสาหกรรมแลว้ กาํ ลงั คนที่กาํ ลงั จะเข้าสู่อุตสาหกรรม และ เตรียมการสําหรบั ผลิต กาํ ลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพือ่ รองรบั อุตสาหกรรมและเทคโนโลยใี นอนาคต รวมทั้ง เรง่ รดั และขยายผลระบบคุณวุฒวิ ชิ าชพี การยกระดบั ฝมี ือแรงงานในกล่มุ อตุ สาหกรรมท่ีมศี ักยภาพ และ อตุ สาหกรรมทใ่ี ช้แรงงานเข้มข้น ๘.๔ ดงึ ดดู คนเกง่ จากทว่ั โลกเขา้ มาร่วมทํางานกับคนไทย และส่งเสรมิ ผ้มู คี วามสามารถสูง สนบั สนนุ ให้ธุรกจิ ชนั้ นําในประเทศดงึ ดูดบคุ คลทมี่ ีความสามารถระดับสูง จากทวั่ โลกโดยเฉพาะคนไทย เพ่ือ กลบั มาเป็นผนู้ าํ การเปลย่ี นแปลงและถา่ ยทอดประสบการณ์ ความรูค้ วามเชย่ี วชาญใหแ้ กบ่ ุคลากรในองค์กร ซ่งึ จะชว่ ยกระตุ้นใหเ้ กิดการสรา้ งธรุ กจิ ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กบั ประเทศโดยในระยะแรก ใหค้ วามสาํ คญั กบั การดึงดดู นักวิจยั ผ้เู ช่ียวชาญจากตา่ งประเทศมารว่ มวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยีชน้ั แนวหนา้ ใน แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

9 สาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย รวมท้ังมีพนื้ ท่ใี ห้กลุ่มผู้มคี วามสามารถพิเศษทีม่ ศี ักยภาพสูงได้ทาํ งานร่วมกัน หรือ รว่ มกบั เครอื ขา่ ยอ่ืน ๆ เพื่อสร้างองค์ความร้แู ละนวัตกรรมใหม่ๆ ใหก้ ับประเทศ ๘.๕ วจิ ัยและพัฒนานวตั กรรมที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ๘.๕.๑ ส่งเสริมการวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อขจัด ความเหลื่อมล้ำและความยากจน ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนา นวัตกรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชงิ พื้นที่ท่ีสามารถช่วย แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ สร้างโอกาส สําหรับผู้ด้อยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยควบคู่ไปกับการ พฒั นาทนุ มนุษยใ์ ห้พร้อม สําหรับโลกยคุ ดจิ ิทัลและอุตสาหกรรม ๔.๐ ตามความเหมาะสมได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยระยะแรกจะให้ความสําคัญกับการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพของประชาชน อย่างครบวงจร ทง้ั ระบบยา วัคซีน เวชภัณฑแ์ ละเทคโนโลยที ที่ ันสมัย ๒๒ ๘.๕.๒ สง่ เสรมิ การวิจัยและพัฒนานวตั กรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยขี ้ันสงู เพอื่ สร้าง ความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั สามารถตอบสนองต่อ ความเปล่ียนแปลง และสรา้ งความเปน็ เลิศของประเทศใน อนาคต โดยมุง่ เนน้ การวิจยั และพฒั นา นวตั กรรมเพอ่ื นํามาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในเชงิ ธุรกิจ กาํ หนดวาระการวิจยั แห่งชาติส่งเสริม ความร่วมมือและการเป็นห้นุ ส่วนของทุกฝ่ายทง้ั ภาครฐั ภาคการศึกษา ชมุ ชน และภาคเอกชน ในทกุ สาขาการผลติ และบรกิ าร สรา้ งสภาพแวดล้อมและองคป์ ระกอบของระบบวจิ ยั และ การพฒั นานวัตกรรม ให้เขม้ แข็ง รวมทัง้ บูรณาการการวิจัยและพฒั นานวตั กรรมกบั การนําไปใชป้ ระโยชนใ์ นเชิงพาณิชย์ ๘.๕.๓ สร้างเครอื ขา่ ยการทาํ วจิ ยั ระหว่างภาคสว่ นตา่ ง ๆ ปฏิรปู และบูรณาการระบบการเรยี นการ สอนกับระบบงานวิจัยและพัฒนา ให้เอื้อต่อการเพิ่มศักยภาพ ด้านนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนุนการ สร้างความเข้มแข็งของธุรกิจไทยทุกระดับในเวที การค้าโลก ส่งเสริมกระบวนการการทํางานของภาครัฐและ ภาคเอกชนในการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีนวัตกรรมให้เป็นระบบเปิด และมีการบูรณาการการ ทํางานกันอย่างมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงระบบการศึกษากับภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง การสร้างนักวิจัยมืออาชีพและนวัตกรที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มและยกระดับงานวิจัย สู่การเพ่ิม ศักยภาพดา้ นเทคโนโลยีและนวตั กรรมของประเทศ ๘.๖ สง่ เสรมิ การเรียนรูแ้ ละพัฒนาทกั ษะทกุ ช่วงวัย ๘.๖.๑ มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหาร จัดการศึกษาในทุกระดับบนพืน้ ฐานการสนับสนุนที่คํานึงถึงความจาํ เป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษาแต่ ละแห่ง พร้อมทั้งจัดให้มีมาตรฐานขั้นต่ำของ โรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผลโรงเรียนและครูที่ สะท้อนความรบั ผดิ ชอบต่อผลลัพธ์ ที่เกิดกบั ผเู้ รียน คนื ครใู หน้ ักเรยี นโดยลดภาระงานท่ีไมจ่ ําเปน็ รวมถึงจัดให้มี ระบบฐานข้อมลู เพอ่ื การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์โดยการเชอื่ มโยงหรือส่งต่อข้อมลู ครอบครัวและผเู้ รียนระหว่าง แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

10 หน่วยงานต่าง ๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงการพัฒนาตลอดช่วงชีวิต ตลอดจนพัฒนาช่องทาง ให้ภาคเอกชนมีส่วน รว่ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต ๘.๖.๒ พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้ง ส่งเสริมให้มีการนําเทคโนโลยี สารสนเทศและการสร้างสรรค์ที่เหมาะสมมาใช้ในการเรียนการสอน ออนไลน์แบบเปิดที่หลากหลาย เพื่อ สง่ เสริมการเรยี นรู้ด้วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสม กบั ชว่ งวยั ตลอดจนพฒั นาแหล่งเรียนรู้และอุทยาน การเรียนร้สู าํ หรบั เยาวชนท่ีเชื่อมโยงเทคโนโลยี กับวถิ ีชีวิต และส่งเสรมิ การเรยี นการสอนที่เหมาะสมสําหรับผู้ที่ เขา้ สูส่ งั คมสูงวยั ๘.๖.๓ ลดความเหลือ่ มล้ำทางการศึกษา โดยบรู ณาการ การดาํ เนนิ งานระหวา่ งหน่วยจัดการศึกษา กับกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งเน้น กลุ่มเด็กด้อยโอกาสและกลุ่มเด็กนอกระบบการศึกษา ปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณ ๒๓ ให้สอดคล้องกับความจําเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของ สถานศึกษาจัดระบบโรงเรียนพี่เลี้ยงจับคู่ระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีคุณภาพการศึกษาดีกับโรงเรียนขนาด เล็กเพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษา และการส่งเสริมให้ภาคเอกชน ชุมชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการ ออกแบบการศึกษา ในพื้นที่ สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถแต่ไม่มีทุนทรัพย์เป็นกรณีพิเศษ ตลอดจนแก้ไข ปัญหา หนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหน้ีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และทบทวน รูปแบบ การให้กยู้ ืมเพอ่ื การศึกษาท่ีเหมาะสม ๘.๖.๔ พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยกําหนดระบบที่เอื้อต่อ การพัฒนาทักษะและเพ่ิม ประสิทธิภาพของทุกช่วงวัย อาทิการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ให้เชื่อมโยงกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพื่อเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์หน่วยการเรียนที่ชัดเจน ส่งเสริม เยาวชนทม่ี ศี ักยภาพดา้ นกีฬาให้สามารถพฒั นา ไปสนู่ กั กฬี าอาชพี การกาํ หนดมาตรฐานฝีมอื แรงงาน การจัดให้ มีระบบที่สามารถรองรับ ความต้องการพัฒนาปรับปรุงทักษะอาชีพของทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนสาย อาชีพ ให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานทีอ่ าจจะเปลีย่ นไปตามแนวโน้มความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี ในอนาคต ๘.๖.๕ ส่งเสริมหลักคิดที่ถูกต้อง โดยสอดแทรกการปลกู ฝังวินัย และอุดมการณ์ท่ีถกู ต้องของคนใน ชาติหลักคิดที่ถกู ต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม การมีจิตสาธารณะ การเคารพกฎหมาย และกติกาของสังคมเข้า ไปในทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรม ควบคไู่ ปกับ การสง่ เสรมิ กลไกสรา้ งความเข้มแขง็ ของสถาบนั ครอบครัวใน ทุกมิติอย่างเป็นระบบและ มีประสิทธิภาพ ปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอื้อต่อ การมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมทั้งลงโทษผู้ละเมิดบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม ตลอดจนส่งเสริม ให้เกิดการมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการขับเคล่ือนประเทศ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

11 ๘.๗ จัดทําระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น เน้นออกแบบหลักสูตรระยะส้ัน ตามความสนใจ พัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่ใช้ในการดํารงชีวิตประจําวัน และทักษะอาชีพของคนทุกช่วงวัยในพื้นท่ี และชุมชนเป็นหลัก พร้อมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนา เป็นรูปแบบธนาคารหน่วยกิต ซึ่งเป็นการเรียนเก็บ หนว่ ยกติ ของวชิ าเรยี นเพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถ เรยี นขา้ มสาขาวชิ าและข้ามสถาบันการศึกษาหรือทํางานไปพร้อม กัน หรือเลือกเรียนเฉพาะหลักสูตร ที่สนใจ เพื่อสร้างโอกาสของคนไทยทุกช่วงวัยและทุกระดับสามารถพัฒนา ตนเองท้งั ในดา้ น การศึกษาและการดํารงชีวติ นโยบายรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ น)ายธรี ะเกยี รติ เจริญเศรษฐศิลป์ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนด จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีสาระสำคัญ ดงั น้ี 1.น้อมนำแนวพระรำชดำริ สืบสำนพระรำชปณธิ ำนและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช และสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณบดนิ ทร เทพยวรางกูร มาขับเคลื่อนงานดา้ นการศึกษาให้เกดิ เป็นรูปธรรม เพราะพระราชปณิธานของพระองคท์ ่าน ถือ เปน็ พรอนั สูงสุดและมอบเปน็ นโยบายเพ่ือเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านแก่หน่วยงานในสังกัด 2. การดำเนินกำรตำมแผนยุทธศำสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กระทรวงศึกษาธิการจะดำเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี .ศ.พ(2561-2580) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฯ โดย ยึดยุทธศาสตร์ชาติเปน็ จดุ เน้นดา้ นการศึกษาท่ีจะ ดำเนนิ การ 6 ดา้ น คอื 1) ความม่ันคง 2) การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 3) การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 5) การสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม 6) การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 3. จุดเน้นสำคัญ นโยบาย แนวทางหลักการดำเนินงำนและโครงการสำคัญของกระทรวง ศึกษาธิการ โดยยึดกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 6 ดา้ น เป็นหลักในการดำเนินการใหเ้ ป็นรูปธรรม ดังนี้ 1. ด้านความมน่ั คง แนวทางหลกั 1.1 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอน แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

12 1.1.1 การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลัก น้อมนำพระราชปณิธานและ พระราชกระแสด้านการศึกษา พัฒนาหลกั สูตร การเรียนการสอนวิชาท่ีมีเน้ือหาเกย่ี วประวัตศิ าสตร์และสถาบัน พระมหากษัตรยิ ์ 1.1.2 พัฒนากระบวนการเรียนการสอน เพื่อความปรองดองและสมานฉันท์ เช่น กจิ กรรมเพ่ือนช่วยเพ่ือน 1.2 การบริหารจดั การ 1.2.1 การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพน้ื ท่ีชายขอบชายแดน/ 1.2.2 ป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา 2. ด้านการผลิต พัฒนากำลังคนและสร้ำงความสามารถในการแข่งขัน แนวทางหลัก ผลิต : พฒั นากำลังคนและงานวิจยั ท่ีสอดคล้องกบั การพัฒนำประเทศ 2.1 การยกระดับมาตรฐาน พฒั นาหลกั สตู ร สื่อ และครูด้านภาษา 2.1.1 ยกระดับวิชาภาษาอังกฤษรองรับ Thailand 4.0 ในสถานศึกษาสังกัด สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานอย่างต่อเน่ือง และสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดทำ Echo English Vocational ซึ่งเป็น Application ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนอาชีวศึกษา และ การอบรมโดย Boot Camp ตลอดจนพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อาทิ หลักสูตร ภาษาองั กฤษระยะสน้ั Application และสือ่ ต่างๆ ท่ีหลากหลาย 2.1.2 พัฒนาวิชาภาษาจีน โดยหลักการเดียวกับวิชาภาษาอังกฤษ โดยปี 2560 จะดำเนนิ การเป็นกลุ่มเล็กโดยการสนบั สนนุ ของสถานทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน 2.1.3 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อแก้ปัญหา ขาดแคลนบุคลากรสายวิทยาศาสตร์ของประเทศ 2.1.4 พัฒนาโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ห้องเรียนหลักสูตรพิเศษเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ การแข่งขัน 2.2 ผลิตกำลังคนรองรับ New S-Curve โดยสานพลังประชารัฐด้านการศึกษาและ จัดการศึกษาทวิภาคีอีกรูปแบบหนึ่ง โดยใช้สถานการณ์จริงจากสถานประกอบการและชุมชน “ปรับโรงงาน เป็นโรงเรียน” โดยมุ่งเน้นให้นักเรียน นักศึกษาได้ฝึกทักษะฝีมือควบคู่กับการฝึกทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น เพอ่ื ให้มสี มรรถนะท่ีเป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ 2.3 ปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นการสอน เรง่ รดั การพัฒนาอาจารย์ เพอื่ ผลิต นวตั กรรมและ เทคโนโลยรี องรับอุตสาหกรรมเปา้ หมาย 10 อุตสาหกรรมใหม่ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

13 3. ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน แนวทางหลกั 3.1 การพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล 3.1.1 การจัดการศกึ ษาเด็กปฐมวัย 1) กระทรวงศึกษาธิการ รบั ผดิ ชอบดูเดก็ ระดับชั้น อนุบาล 1 ถึงระดับ ชั้นอนุบาล 3 )เด็กอายุ 3 -5 ปี สถานศึกษา และจัดทำมาตรฐานผู้เรียน ครู และผู้บริหาร เพอื่ ประกันคุณภาพให้แก่ เดก็ ปฐมวยั ทุกสังกดั 2( หน่วยงานอ่นื อาทิ กระทรวงมหาดไทย รับผิดชอบดูเด็กของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.1.2 การส่งเสริม ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม 1) เรื่องคุณธรรม จริยธรรม เน้นการพัฒนาคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคใ์ นเด็ก เยาวชน และตอ่ ยอดการสรา้ งความดี ซ่ึงโมเดลการสร้างความดี มีหลายทางทั้งกระบวนการลูกเสือเนตรนารี- รวมทั้งรูปแบบโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนวิถีพุทธ และโครงการ ยวุ ทตู ความดี 2) รณรงคใ์ ห้เด็ก “เกลยี ดการโกง ความไม่ซือ่ สตั ย์” 3.1.3 การพฒั นา ปรับปรุงหลักสูตร การเรยี นการสอน 1) หลักสตู รมคี วามยดื หยุ่น ชมุ ชนท้องถน่ิ สามารถออกแบบหลักสูตรเองได้ 2) ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร โดยเพ่มิ 3 วชิ า ซง่ึ อยู่ในกรอบเดิม ได้แก่ วชิ าภมู ศิ าสตร์ ICT และ Design and Technology โดยวิชา ICT และ Design and Technology เป็นการสนับสนุน ชว่ ยเหลอื จากประเทศองั กฤษและประเทศสหรัฐอเมริกา 3) แก้ไขปัญหาอา่ นไม่ออกเขยี น ไม่ได้ เน้นกจิ กรรมการอา่ นโดยเฉพาะการ อ่านให้เด็กอนุบาลฟงั และการปรบั ปรุงห้องสมุด 4) เน้นการจัดการ เรียนการสอน การคิดวเิ คราะห์ตามรูปแบบ Active Learning ในห้องเรียนปกติและกจิ กรรมเสรมิ โดยกจิ กรรม ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ เป็นกจิ กรรมวิธกี ารยอ่ ย / รวมทัง้ การรองรับผลการทดสอบ PISAและ STEMEducation 3.1.4 การวัดและประเมนิ ผล 1) การวางแผนการประเมนิ ผลนักเรยี นนานาชาติ )PISA) เพื่อใหผ้ ลคะแนนสูงขึ้น 2) การประเมนิ ผล O - Net ในวิชาสังคมศกึ ษาใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เปน็ ผู้ประเมนิ สำหรบั วิชาคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ใหส้ ถาบนั สง่ เสริมการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยเี ป็นผู้ออกข้อสอบ 3) การออกข้อสอบวชิ าคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ดำเนนิ การ ในรปู คณะทำงานออกข้อสอบ 3.2 การผลิต พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา 3.2.1 การสรรหาครู 1) โครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น มอบให้สำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นหน่วยงานหลัก ดำเนินการสรรหาครู (การผลิต รูปแบบการสรรหา การบรรจุแต่งตั้ง การติดตามพร้อมการพัฒนา ( 2) เปดิ โอกาสใหค้ นเก่งมาเป็นครู แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

14 3.2.2 ปรับเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะครูให้เป็นการเชื่อมโยงกับการเรียนการสอน เพ่อื ให้ครูอยใู่ นห้องเรยี น 3.2.3 การพัฒนาครู การอบรมครู 1) หลักสูตรในการอบรมครูให้มีความเชื่อมโยงกับ การได้รับวิทยฐานะและการ ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูโดยต้องเป็นหลักสูตรที่ได้รับการอนุมัติ/ เห็นชอบ รวมทั้งการพัฒนาครูด้วย ระบบ TEPE Online 10 2) หน่วยดำเนินการ ให้หน่วยงานกลางในการ พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากร ทางการศกึ ษา ได้แก่ สถาบนั อุดมศกึ ษา มหาวิทยาลยั และสถาบันพัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษา 4. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แนวทาง หลกั โอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษา 4.1 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาโดยยกระดับคุณภาพสถานศึกษา ที่ต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วน )ICU) รวมทั้งการดำเนินการตามแนวทาง No Child Left Behind คือ จัดทำข้อมูลเพื่อส่งต่อผู้เรียน การป้องกัน การติดตามเด็กออกกลางคันโดยชุมชน ผูป้ กครองรว่ มรบั ผดิ ชอบ และคัดกรองเด็กท่ีมีความจำเปน็ และตอ้ งการเปน็ พเิ ศษ 4.2 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษาให้สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบเครือข่าย ด้านระบบข้อมูล สารสนเทศเพื่อการศึกษา ด้านสื่อและองค์ความรู้ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรให้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่าง สร้างสรรคแ์ ละรูเ้ ทา่ ทันการเปลีย่ นแปลง 4.3 จัดระบบการคดั เลือกเข้าเรยี นมหาวทิ ยาลัย)Admission) เพ่ือสรา้ งความเท่าเทียม ใน การใช้สิทธิ์เข้าศึกษาต่อระดบั อุดมศึกษาผ่านระบบ Clearing-House 5. ด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชำชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางหลักพัฒนา หลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน 1. โครงการธนาคารขยะโดยโรงเรียนและชมุ ชนรว่ มคดั แยกขยะนำกลับมา ใช้ประโยชน์ 2. การสร้างจิตสำนึกการพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่น โรงเรียนตามพระราชดำริ ต้นแบบ : การจัดการ สงิ่ แวดล้อม 3. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยขยายผลบรรจใุ นหลักสตู รทุกระดับ 6. ดา้ นการพัฒนาระบบและการบริหารจดั การ แนวทางหลักพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ 6.1 เร่อื งกฎหมาย เตรยี มความพร้อมเกีย่ วกับกฎหมายการศกึ ษา 6.2 ปรบั ปรงุ ระบบการบรหิ ารงานบุคคลของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 6.3 การจัดตั้งกระทรวงอุดมศึกษา ท่เี ปน็ รูปธรรม ชดั เจน แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

15 6.4 การขับเคลื่อนนโยบายระดับพ้ืนที่ ให้สำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนักงาน ศึกษาธิการจงั หวัด เป็นฐานในการขับเคล่อื นนโยบายเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา 6.5 บรหิ ารจัดการโรงเรียนแมเ่ หลก็ และโรงเรียนขนาดเล็ก นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธกิ าร ยังเป็นสว่ นราชการทีส่ ำคัญในการรว่ มขับเคลื่อนการดำเนินการ ตามนโยบายของรฐั บาลในด้านอ่นื ๆ ซ่ึงมคี วาม เกย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษา ดังนี้ นำมาไว้เฉพาะนโยบายท่เี กี่ยวขอ้ ง กบั การศึกษา) นโยบายที่ 1 การปกป้องและเชิด ชูสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ นโยบายที่ 2 การรักษาความม่นั คงของรัฐและการต่างประเทศ เฉพาะทเ่ี กย่ี วข้องกับ กระทรวงศึกษาธิการ ไดแ้ ก่ 2.1 การเตรยี มความพร้อมสู่ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซยี น ประเดน็ แรงงานตา่ งด้าว ยาเสพติด 2.2 เรง่ แก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายที่ 3 การ ลดความเหล่ือมลำ้ ของสงั คม และการสร้างโอกาสการเขา้ ถึงบริการของรัฐ เฉพาะทเี่ กี่ยวข้องกับ กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้แก่ 3.1 ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสรา้ งโอกาสอาชพี และการมรี ายได้ที่มั่นคงแก่ผทู้ ี่ เขา้ สตู่ ลาดแรงงาน รวมทง้ั สตรี ผ้ดู อ้ ยโอกาสและแรงงานข้ามชาติที่ถกู กฎหมาย พร้อมทั้งยกระดับคุณภาพ แรงงาน 3.2 ป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ 3.3 จัดระเบียบสังคม นโยบายที่5 การยกระดับคุณภาพบริการด้าน สาธารณสขุ และสขุ ภาพของประชาชน เฉพาะทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั กระทรวงศึกษาธิการ ไดแ้ ก่ 5.2 พัฒนาระบบ บรกิ ารสุขภาพ 5.7 พัฒนาขีดความสามารถในการวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข นโยบายท่ี 6 การเพ่ิมศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเฉพาะที่เก่ียวข้องกับ กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดแ้ ก่ 6.6 ชักจูงให้ นกั ทอ่ งเทีย่ วต่างชาติเข้ามาเท่ียวในประเทศไทย 6.8 แก้ปญั หาน้ำท่วมในฤดฝู นท้ังท่นี ำ้ ทว่ มเป็นบริเวณกวา้ งและ ทว่ มเฉพาะพน้ื ท่ี และปญั หาขาดแคลนนำ้ ในบางพน้ื ทีแ่ ละบางฤดูกาล 6.9 ปฏิรูปโครงสรา้ งราคาเชื้อเพลิง ประเภทต่างๆ ให้สอดคลอ้ งกบั ต้นทุนและ ให้มีทีเ่ หมาะสมระหว่างน้ำมันตา่ งชนิดและผ้ใู ชต้ ่างประเภท 6.17 เพมิ่ ขีดความสามารถของผูป้ ระกอบการวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมให้ เข้มแขง็ สามารถแข่งขนั ได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ 6.18 สง่ เสริมภาคเศรษฐกจิ ดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ให้เรม่ิ ขับเคลอ่ื นได้อยา่ ง จรงิ จงั 12 นโยบายท่ี 7 การสง่ เสรมิ บทบาทและการใช้โอกาส ในประชาคมอาเซียน เฉพาะท่ี เกย่ี วขอ้ งกับ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้แก่ 7.4 เรง่ พัฒนาความเช่ือมโยงด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ภายในอนุภูมิภาค และภูมิภาคอาเซียน 7.5 ต่อเชือ่ มเส้นทางคมนาคมขนส่งและระบบโลจสิ ตกิ สจ์ ากฐานการผลิตในชมุ ชนสู่ แหล่งแปรรปู เพ่ือเพิ่มมูลคา่ ท้งั ภายในประเทศและเช่ือมโยงกับอาเซยี น 7.6 พฒั นาเขตเศรษฐกจิ พิเศษ นโยบายท่ี 8 การพฒั นาและส่งเสริม การใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และพฒั นา และนวัตกรรม เฉพาะทเ่ี กีย่ วข้องกับ กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดแ้ ก่ 8.2 เร่งเสรมิ สรา้ งสังคมนวัตกรรม 8.3 ผลักดนั งานวจิ ัยและพฒั นาไปสู่การใช้ ประโยชน์เชงิ พาณชิ ย์ นโยบายที่ 9 การรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากรและการสรา้ งสมดลุ ระหว่างการ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

16 อนุรักษ์กบั การใช้ประโยชน์อย่างยง่ั ยนื เฉพาะท่เี กีย่ วข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ ไดแ้ ก่ 9.1 ในระยะเฉพาะหน้า เร่งปกป้องและฟ้ืนฟพู ื้นที่อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสตั ว์ ป่าโดยให้ความส าคญั ในการแก้ไข 9.4 บรหิ ารจัดการ ทรพั ยากรน้ าของประเทศให้เปน็ เอกภาพในทุกมิติท้ังเชงิ ปริมาณ และคุณภาพ 9.5 เร่งรัดการควบคุมมลพิษทงั้ ทางอากาศ ขยะ และน้ำเสีย นโยบายท่ี 10 การสง่ เสรมิ การบรหิ ารราชการแผน่ ดินท่ีมีธรรมาภิบาล และการ ป้องกัน ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบในภาครัฐ เฉพาะท่ีเกย่ี วข้องกับกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดแ้ ก่ 10.5 ใชม้ าตรการทางกฎหมาย การปลกู ฝงั คา่ นยิ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และ จติ สำนึกในการรักษาศักดิ์ศรีของ ความเป็นขา้ ราชการและความซ่อื สัตย์สจุ รติ ควบคู่กบั การบริหารจัดการ นโยบาย ยุทธศาสตรแ์ ละแผนงานทเี่ กี่ยวข้องกับจดุ เนน้ เชงิ นโยบายรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงศึกษาธกิ าร (นายธีระเกียรติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์) 1. นโยบายรัฐบาลทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การดำเนนิ งานของกระทรวงศึกษาธกิ าร )พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา( 1.1 นโยบายรัฐบาลหลักด้านการศกึ ษา ไดแ้ ก่ นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้ การทะนบุ ำรงุ ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรม 4.1 จดั ให้มีการปฏริ ปู การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 4.2 ในระยะเฉพาะหนา้ จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา 4.3 ให้องคก์ รภาคประชาสงั คม ภาคเอกชน องคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ และประชาชนทวั่ ไป มีโอกาสร่วมจดั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพและท่ัวถึง 4.4 พัฒนาคนทุกช่วง วัยโดยสง่ เสริมการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 4.5 ส่งเสริมอาชวี ศกึ ษาและการศึกษาระดบั วิทยาลัยชมุ ชน 4.6 พฒั นา ระบบการผลิตและพฒั นาครูท่ีมคี ุณภาพและมีจติ วญิ ญาณของความเปน็ คน 4.7 ทำนุบำรงุ และอปุ ถัมภ์ พระพทุ ธศาสนาและศาสนาอ่ืนๆ สนับสนุนใหอ้ งค์กร ทางศาสนามีบทบาทสำคัญในการปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวติ สรา้ งสันติสขุ และความปรองดองสมานฉันท์ในสงั คมไทยอย่างยงั่ ยืน 4.8 อนรุ กั ษ์ ฟ้นื ฟู และเผยแพร ม่ รดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน รวมท้ังความ หลากหลายของศลิ ปวัฒนธรรมไทย 4.9 สนบั สนุนการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศวฒั นธรรมของประเทศเพื่อน บ้าน และวัฒนธรรมสากล 4.10 ปลกู ฝังคา่ นิยมและจิตสำนกึ ท่ีดี 1.2 นโยบายรัฐบาลท่ีเกีย่ วข้องด้านการศกึ ษา ได้แก่ นโยบายท่ี 1 การปกป้องและเชิดชสู ถาบันพระมหากษัตริย์ 2. นโยบายการรักษาความม่นั คงของรฐั และการตา่ งประเทศ 2.1 การเตรยี มความพร้อมสู่ประชาคมการเมืองและความมน่ั คงอาเซียน ประเดน็ แรงงานต่างดา้ ว ยา เสพติด 2.2 เรง่ แกไ้ ขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

17 3. นโยบายการลดความเหลอื่ มล้ำของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรฐั 3.1 ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสร้างโอกาสอาชีพและการมีรายได้ที่มั่นคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ ตลาดแรงงาน รวมท้งั สตรี ผูด้ ้อยโอกาสและแรงงานข้ามชาตทิ ่ีถูกกฎหมาย พร้อมท้งั ยกระดบั คุณภาพแรงงาน 3.2 ป้องกันและแกไ้ ขปัญหาการคา้ มนุษย์ 3.6 จดั ระเบยี บสังคม 5. นโยบายการยกระดับคุณภาพบรกิ ารด้านสาธารณสุข 5.2 พฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 5.7 พฒั นาขดี ความสามารถในการวจิ ัยดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสขุ 6. นโยบายการเพม่ิ ศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ 6.6 ชกั จูงใหน้ ักทอ่ งเที่ยวต่างชาติเข้ามาเท่ยี วในประเทศไทย 6.8 แก้ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝนทั้งที่ท่วมเป็นบริเวณกว้างและท่วมเฉพาะพื้นที่ และปัญหาขาดแคลน น้ำในบางพื้นที่และบางฤดูกาล -15- 6.9 ปฏิรูปโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับต้นทุน และใหม้ ี ภาษที ่ีเหมาะสมระหว่างนำ้ มนั ตา่ งชนดิ และผ้ใู ชต้ ่างประเภท 6.17 เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้เข้มแข็ง สามารถ แข่งขันได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 6.18 สง่ เสรมิ ภาคเศรษฐกจิ ดจิ ิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ให้เริ่มขับเคล่ือน ไดอ้ ย่างจริงจัง 7. นโยบายการสง่ เสรมิ บทบาทและการใชโ้ อกาสในประชาคมอาเซียน 7.4 เร่งพัฒนาความเชอื่ มโยงด้านการขนส่งและระบบโลจสิ ติกสภ์ ายในอนภุ ูมภิ าค และภมู ภิ าคอาเซียน 7.5 ต่อเชื่อมเส้นทางคมนาคมขนส่งและระบบโลจิสติกส์จากฐานการผลิตในชุมชน สู่แหล่งแปรรูป เพ่ือเพ่ิมมูลค่าทัง้ ภายในประเทศและเชอื่ มโยงกับอาเซยี น 7.6 พัฒนาเขตเศรษฐกจิ พิเศษ 8. นโยบายการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการวิจัย และพัฒนา และนวัตกรรม 8.2 เร่งเสรมิ สรา้ งสังคมนวตั กรรม 8.3 ผลกั ดนั งานวิจัยและพฒั นาไปสกู่ ารใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ย์ 9. นโยบายการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรและการสรา้ งสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์ กับการใช้ประโยชน์ อย่างยง่ั ยืน 9.1 ในระยะเฉพาะหน้าเร่งปกป้องและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า โดยให้ความ สำคญั ในการแกไ้ ขปัญหาการบุกรกุ ท่ดี นิ ของรัฐ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

18 9.4 บริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศให้เป็นเอกภาพในทุกมิติทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ 9.5 เรง่ รดั การควบคุมมลพิษท้ังทางอากาศ ขยะ และน้ำเสยี 10. นโยบายการสง่ เสริมการบริหารราชการแผ่นดินท่ีมีธรรมาภิบาลและการป้องกันปราบปราม การทุจริตและ ประพฤติมชิ อบในภาครฐั 10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึก ในการรักษา ศักดิศ์ รีของความเป็นขา้ ราชการและความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ ควบคู่กบั การบริหารจัดการ วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และเป้าหมายบริการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วสิ ยั ทศั น์ “สถานศึกษาอาชีวศึกษากลมุ่ ภาคกลาง ไดร้ ับการสง่ เสรมิ พัฒนาการจดั การอาชวี ศกึ ษาตามมาตรฐาน การศึกษา เพ่ือพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรกั ชาติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีความรู้ มที ักษะประสบการณ์งานอาชพี ดำรงตนในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข” พนั ธกจิ 1. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นร่วม ให้มีประสทิ ธิภาพ โปร่งใส 2. ส่งเสริมพฒั นาผูเ้ รียนในสถานศึกษา ให้มีคุณภาพมาตรฐาน 3. ส่งเสรมิ พฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา 4. สง่ เสรมิ การปฏริ ูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าทพี่ ลเมือง 5. ส่งเสรมิ พฒั นาหลกั สตู ร การจัดการเรยี นการสอน สื่อนวัตกรรม การวดั ประเมินผลตามสภาพจรงิ 6. พัฒนาระบบสนบั สนุนการนิเทศติดตามในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษากลมุ่ ภาคกลาง 7. พฒั นาระบบการนิเทศตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงานตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพ 8. ส่งเสริมพฒั นาศักยภาพสถานศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐานอาชวี ศึกษา 9. วิจยั พัฒนาอาชวี ศกึ ษาเพ่ือสรา้ งองค์ความรแู้ ละนวตั กรรม เปา้ หมายการพัฒนา 1. พัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาอาชีวศึกษากลุ่มภาคกลาง 14 จังหวัด 75 สถานศึกษา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สื่อนวัตกรรม การวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง และการเพ่ิมขีดความสามารถทางภาษาอังกฤษ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

19 2. นิเทศติดตามสถานศึกษาอาชีวศึกษากลุ่มภาคกลางในด้านการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา การจดั การเรียนการสอนภาษาไทย ประวตั ศิ าสตร์ หน้าที่พลเมือง การพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพอ่ื ลดปัญหาการออกกลางคัน ยุทธศาสตร์วทิ ยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ยุทธศาสตรท์ 1ี่ 1.1 พฒั นาวทิ ยาลยั การอาชีพพุทธมณฑลใหเ้ ปน็ สถาบันแห่งการเรียนรู้ 1.2 พัฒนาระบบการจัดการความรู้ 1.3 พัฒนาประสิทธภิ าพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.4 พัฒนางานวจิ ัย ส่ิงประดิษฐ์ และนวัตกรรม 1.5 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 2.1 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การให้มีประสทิ ธิภาพ โดยใช้ระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพและ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 พฒั นาประสิทธิภาพบุคลากร 2.3 พัฒนาประสทิ ธิภาพการดำเนนิ งานประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในและภายนอก 2.4 สร้างแหลง่ เรียนรหู้ ลากหลายทม่ี ีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 3.1 พฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะสำหรับนกั เรยี น นกั ศกึ ษาปกติ 3.2 พัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะสำหรบั ผพู้ ิการ และผู้ดอ้ ยโอกาส 3.3 พฒั นาการจดั การศึกษาระบบทวิภาคี สำหรบั นกั เรียน นกั ศกึ ษาปกติ 3.4 พัฒนาการจดั การศึกษาระบบทวภิ าคีสำหรับผู้พิการ และผดู้ อ้ ยโอกาส ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 4.1 พฒั นาผูเ้ รียนให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและลักษณะอันพึงประสงค์ 4.2 มงุ่ เนน้ ฝกึ อาชีพใหแ้ ก่ประชาชนท่ัวไป แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

20 4.3 จดั การอาชวี ศกึ ษาแก่ผู้พิการอยา่ งมีคุณภาพ 4.4 พฒั นาสมรรถนะวิชาชพี 4.5 พัฒนาผูเ้ รียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและลกั ษณะอันพึงประสงค์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 5.1 พัฒนาหลักสูตรสมรรถนะรว่ มกบั สถานประกอบการที่มีมาตรฐานในระดับสากล 5.2 เพอ่ื ให้หน่วยงานจากทุกภาคสว่ นทม่ี ีสว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นรู้ 5.3 เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานจากทุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ สอศ./โครงการ 1. การจัดการอาชวี ศึกษาเพอื่ ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ 1.1 พัฒนาการศกึ ษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1.2 ส่งเสริมการพฒั นาศักยภาพกำลังคนดา้ นวิชาชพี บริเวณชายแดนเพอ่ื รองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกจิ ของประเทศ 1.3 รณรงค์ป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติด 2. การผลิตและพฒั นากำลังคนด้านการอาชวี ศึกษาเพื่อสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2.1 ส่งเสรมิ การประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผ้เู รียนอาชีวศกึ ษา 2.2 อาชีวศกึ ษามาตรฐานสากล 2.3 สง่ เสรมิ สถานศึกษาอาชวี ศึกษาให้มีความเป็นเลศิ เฉพาะทาง 2.4 พัฒนาระบบการประเมนิ และการประกันคุณภาพอาชีวศึกษาแบบออนไลน์สูม่ าตรฐานสากล )APACC) 2.5 วทิ ยาลัยเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ 2.6 ความร่วมมืออาชีวศึกษาสู่มาตรฐานนานาชาติ 2.7 ความร่วมมอื ในการฝึกงานนักเรยี น นักศกึ ษา อาชวี ศึกษาในต่างประเทศ 2.8 ยกระดับการจัดการอาชวี ศกึ ษาเพ่อื เป็นศูนย์กลางดา้ นอาชีวศึกษาของภมู ภิ าคเอเชียตะวันออก เฉยี งใต้ 2.9 ความร่วมมือผลติ กำลงั คนดา้ นอาชวี ศกึ ษาตอบสนองการผลติ และบริการใน 10 กลุ่ม แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

21 อุตสาหกรรม 2.10 ขยายและยกระดับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี 2.11 ผลงานวจิ ัยเพอ่ื ถ่ายทอดเทคโนโลยี 2.12 ทกั ษะการใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 2.13 ความรว่ มมอื กับต่างประเทศเพอื่ พฒั นาอาชีวศึกษาไทยประเทศไทย 2.14 พัฒนาหลักสตู ร การจัดการเรยี นการสอน การวดั ประเมนิ ผลเพอื่ การพัฒนาคณุ ภาพและ มาตรฐานการจดั การอาชวี ศกึ ษา 2.15 พัฒนามาตรฐานกำลังคนอาชีวศึกษาด้านเทคโนโลยีนวัตกรรม )Innovative Technology) ใหพ้ รอ้ มก้าวสู่ Thailand 4.0 3. การพัฒนาศักยภาพกำลงั คนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะ สอดคล้องกับความต้องการในการ พฒั นาประเทศ 3.1 ขยายโอกาสการศึกษาวิชาชพี และพัฒนาทกั ษะวิชาชพี เพ่ือเตรียมความพร้อมเขา้ สตู่ ลาดแรงงาน )Fix it center) 3.2 อาชวี ะศกึ ษาพัฒนา 3.3 เตรยี มความพรอ้ มผู้เรียนอาชวี ศกึ ษา)Pre.Voc.Ed) 3.4 อุดหนุนองค์การเกษตรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี )ศพก.( 3.5 อุดหนนุ กจิ กรรมองคก์ ารวชิ าชพี อตุ สาหกรรม 3.6 อุดหนุนกจิ กรรมองคก์ ารวชิ าชีพพาณชิ ยกรรมความคิดสรา้ งสรรค์ อำนวยการและอาชพี เฉพาะ ทาง 3.7 ยกระดบั มาตรฐานทกั ษะวิชาชีพผเู้ รยี นอาชีวศกึ ษา 3.8 ส่งเสริมการพัฒนาทกั ษะอาชพี ให้กบั ผูเ้ รียนตามนโยบายลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ 3.9 สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี ภายใต้ความรว่ มมอื ไทย-จนี 3.10 ผลติ และพฒั นากำลงั คนสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3.11 เสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา 3.12 โรงเรียนคณุ ธรรม แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

22 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมในดา้ นการอาชีวศึกษา 4.1 การสร้างค่านยิ มอาชวี ศึกษา 4.2 อาชวี ศึกษาเพอื่ พฒั นาชนบท 4.3 อดุ หนุนค่าอปุ กรณ์การเรยี นของนกั เรยี นสายอาชีพอาชีวศึกษา 4.4 จัดการศึกษาเรยี นร่วมหลกั สตู รอาชีวศึกษาและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 4.5 พฒั นาอาชีพต่อยอดอาชพี ประชากรวยั แรงงาน กลมุ่ เป้าหมายพิเศษ และผูส้ ูงอายุ 4.6 สนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาตัง้ แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 4.7 ทนุ เฉลมิ ราชกุมารี 4.8 พัฒนาการจดั การอาชวี ศึกษาในโครงการพระราชทานความชว่ ยเหลอื แก่ราชอาณาจักรกัมพูชา ด้านการศึกษา 4.9 อาชีวะ )พระดาบส( 4.10 ฝึกอบรมและพฒั นาเกษตรกรให้เปน็ Smart Farmer 4.11 อดุ หนุนการฝึกอบรมเกษตรระยะส้นั 4.12 จัดอาชีวศกึ ษาเพ่อื คนพกิ าร 4.13 การหารายได้ระหวา่ งเรยี นของนกั เรียนนักศึกษาทย่ี ากจน 5. การจดั การอาชีวศกึ ษาเพ่ือสร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ เป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 5.1 พฒั นาการศกึ ษาวิชาชพี ตามแนวพระราชดำริ 5.2 เสริมสร้างจติ สำนกึ และความร้ใู นการผลิตและบริโภคท่เี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม 5.3 ปลูกจติ สำนึกรกั ษาทรพั ยากรปา่ ไม้ 5.4 โครงการปอ้ งกันและแก้ไขการตั้งครรภใ์ นเยาวชนคนพนั ธ์ R 5.5 อนุรักษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชดำริฯ 6. การเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบการบรหิ ารจัดการอาชวี ศึกษา 6.1 ผลิต พัฒนา เสริมสร้างคุณภาพชีวติ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 6.2 จา้ งครวู ชิ าชีพผูท้ รงคณุ ค่า 6.3 เร่งประสทิ ธิภาพการสอนครูอาชีวศึกษา แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

23 6.4 จดั หาบุคลากรสนบั สนุนเพ่อื คืนครใู ห้นกั เรยี น 6.5 ผลิตสอ่ื องค์ความรู้วิชาชีพบรกิ ารประชาชน เผยแพร่ทางสถานีวทิ ยุ R-Radio Network 6.6 เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการเรียนการสอนและการบริหารจดั การอาชีวศกึ ษา 6.7 ทางไกลผ่านดาวเทียม 6.8 การลดปญั หาการออกกลางคนั ของผเู้ รยี นอาชวี ศึกษา 6.9 พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจดั การเรียนการสอนบริหารจัดการ 6.10 พฒั นาส่อื ดิจิทลั ดา้ นอาชีพและวชิ าชีพเพอ่ื ขับเคล่ือนเศรษฐกจิ และสงั คมดิจิทัล 6.11 สนบั สนนุ การขับเคล่ือนสู่ดิจิทัลชุมชน 6.12 เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาเอกชน ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจังหวัดนครปฐม วสิ ัยทศั น์จงั หวัด : (Vision) “เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตร อุตสาหกรรมที่ปลอดภัยได้มาตรฐานสากลการท่องเที่ยวเชิง ประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรม และประชาชนมีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี” พันธกจิ : (Misson) 1. ยกระดับการผลิตสนิ ค้าและอุตสาหกรรม ใหม้ ีคุณภาพ มคี วามปลอดภยั ไดร้ บั การรับรอง มาตรฐานระดบั สากล และเป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม 2. พฒั นาการคา้ การลงทนุ ทท่ี ันตอ่ ยคุ สมคั ร ให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูบ้ ริโภค ตลาดท้งั ในและต่างประเทศ 3. ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวตั ิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมให้มคี ณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน ทางการทอ่ งเทย่ี ว และพฒั นาขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ให้อยู่ในระดับต้นของประเทศ 4. พัฒนาคนใหม้ คี ณุ ภาพ มีความร้คู ู่คณุ ธรรม มที กั ษะการด ารงชีวิตอย่างเหมาะสม การสร้าง สงั คมท่ีเข้มแขง็ ตลอดจนการสรา้ งกระบวนการมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศทกุ ระดับ 5. การบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติให้คืนความอุดมสมบูรณ์ การดูแลรกั ษาคุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ มใหอ้ ยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน สนบั สนุนการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน และสร้างภูมคิ ุ้มกนั รองรับ ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศและภยั ธรรมชาติ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

24 เป้าประสงคร์ วมตามแผนยทุ ธศาสตร:์ (Objectve) 1. เศรษฐกจิ ของจงั หวดั มกี ารเติบโตอยา่ งต่อเนื่องและม่นั คง ประชาชนมีรายได้เพยี งพอต่อ การดำรงชพี และพน้ จากขดี ความยากจน 2. เพ่ิมจำนวนรายไดจ้ ากการท่องเท่ียว 3. ประชาชนมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี มีภมู ิปญั หา มภี มู ิคุ้มกนั สงั คมมีความเข้มแข็ง และมศี ักยภาพ พร้อมรับการเปลีย่ นแปลง 4. ทรพั ยากรธรรมชาตไิ ดร้ ับการดแู ลรักษาให้เกดิ ความสมดุลและคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานท่ีกำหนด ประเด็นยุทธศาสตร์: )Strategic lssues) 1. การพฒั นาคุณภาพ การเสริมสร้างความปลอดภยั และยกระดบั มาตรฐานในการผลติ การตลาด และการสง่ ออกสนิ ค้าเกษตรและอุตสาหกรรม 2. การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ด้านทอ่ งเที่ยวเชิงประวตั ศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรมใหอ้ ยู่ ในระดับตน้ ของประเทศ 3. การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ประชาชน การเสริมสรา้ งความมัน่ คงและสงั คมคุณภาพอยา่ งยั่งยนื ยุทธศาสตร์จังหวดั นครปฐม ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การพฒั นาคณุ ภาพ การเสริมสรา้ งความปลอดภัย และยกระดับ มาตรฐานในการผลติ การตลาด และการสง่ ออกสนิ คา้ เกษตรและ อตุ สาหกรรมเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ สนิ คา้ เกษตรและอตุ สาหกรรมของจังหวดั มีคณุ ภาพ มีความปลอดภยั ผ่านการรบั รองมาตรฐานสากล ตวั ชี้วัด 1. อัตราการเพ่มิ ขึน้ ของมลู คา่ เพ่ิมผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั 2. อัตราการเจริญเตบิ โต GPP ณ ราคาคงที่ )เฉลย่ี 3 ปี ย้อนหลัง( 3. อตั ราการเจริญเตบิ โต GPP ภาคอุตสาหกรรม )เฉล่ีย 3 ปียอ้ นหลัง( 4. อตั ราการเจรญิ เติบโต GPP ภาคเกษตร )เฉลย่ี 5 ปี ยอ้ นหลงั ( 5. ร้อยละของจำนวนแปลง/ฟาร์มทีผ่ ่านการรบั รองมาตรฐาน )GAP และ Halan) 6. รอ้ ยละท่ีเพ่มิ ขนึ้ ของรายได้จากการจำหน่ายผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน )OTOP) 7. จำนวนการสร้างงานอาชีพจากผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน )OTOP) 8. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการจำหน่ายผลผลิตการเกษตรที่สำคัญ (ข้าว กล้วยไม้ ส้ม โอ พืชผัก และออ้ ย( ต่อหน่วยการการผลิต/ปี( กลยุทธ์ 1. สง่ เสรมิ การพัฒนาองค์ความรู้ใหเ้ กดิ คุณคา่ พฒั นาเทคโนโลยี สรา้ งนวัตกรรมเพมิ่ คุณภาพ และปริมาณการผลติ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

25 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูปแบบครบวงจร เพื่อเพิ่มมูลค่าและพัฒนา ปจั จัยพ้นื ฐาน เพ่อื ลดตน้ ทนุ การผลติ 3. พัฒนาระบบการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจรบั รองมาตรฐานตามความจำเป็น ในการแข่งขัน และพนั ธสัญญาทางการคา้ และบริการลูกค้า 4. สง่ เสรมิ การคา้ การลงทนุ และเพม่ิ ชอ่ งทางการจดั จำหน่ายทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดว้ ยกลไก ฐานการผลติ เดยี วและตลาดเดยี ว ตามกฎบัตรอาเซยี น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และ วฒั นธรรมใหอ้ ยู่ในระดับต้นของประเทศ เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์รายได้จากการท่องเทย่ี วเพม่ิ ขึ้น ตัวช้วี ดั 1. ร้อยละท่เี พม่ิ ขึน้ ของรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว )เฉลย่ี ย้อนหลัง 3 ปี( 2. รอ้ ยละท่ีเพิม่ ขึน้ ของจำนวนนักทอ่ งเทย่ี ว )เฉลีย่ ย้อนหลัว 3 ปี( 3. จำนวนแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วที่ไดร้ ับการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานการทอ่ งเทย่ี วเชงิ นิเวศ กลยุทธ์ 1. พัฒนาปจั จัยพ้นื ฐานและระบบโลจสิ ตกิ สด์ า้ นการทอ่ งเทยี่ วและทรพั ยากรการท่องเท่ียว รองรับการเตบิ โตของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวท้ังระบบ 2. พฒั นาผลิตภัณฑ์และการบริการดา้ นการทอ่ งเท่ียวรองรับการเติบโตของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ในประเทศอาเซยี นและนกั ทอ่ งเทย่ี วกลุม่ พรเี มยี่ ม 3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการและศกั ยภาพบุคลากรทางการท่องเที่ยว 4. พฒั นาด้านการตลาดและประชาสัมพนั ธ์ด้วยช่องทางท่หี ลากหลาย ทันสมยั เปน็ สากล แบบเขา้ ถึง ตอ่ เนอ่ื ง จงู ใจ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน การเสริมสร้างความม่นั คงและสังคม คุณภาพอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมมีความเข้มแข็ง และมี ศักยภาพรองรับความเปลย่ี นแปลง ตวั ชี้วัด 1. สัดส่วนของคดยี าเสพตดิ ลดลง/ปี 2. คา่ เฉล่ีย O-net ชัน้ ม.3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้หลกั เพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 3 ต่อปี 3. รอ้ ยละการลดลงของการเจบ็ ปว่ ยในโรคสำคญั ของพืน้ ท่ี 5 อันดบั แรก 4. รอ้ ยละ อปท.มกี ารจดั การขยะมลู ฝอยทถ่ี กู หลักวิชาการ 5. จำนวนสาธารณูปโภคข้ันพน้ื ฐาน )ถนน( ไดร้ บั การพฒั นาปรับปรงุ ใหด้ ีขนึ้ /ปี 6. อัตราการลดลงของคดอี าชญากรรมท่ีสำคัญทุกประเภท 7. จำนวนหมู่บา้ นชมุ ชนท่ีได้รบั การพฒั นาเปน็ หมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

26 8. รอ้ ยละคา่ เฉล่ยี ความสุขของประชาชน )Gross Provincial Happiness: GPH) กลยุทธ์ 1. เสรมิ สรา้ งภมู คิ ้มุ กันความเข้มแข็งทางสงั คมและพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้มศี ักยภาพรองรับการเปล่ยี นแปลง 2. เสริมสรา้ งความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน 3. พฒั นาระบบบรกิ ารสาธารณสขุ และการบรกิ ารสังคมขั้นพ้ืนฐานของจงั หวัดให้มคี ุณภาพ และบริการเชิงรุก 4. อนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟู และควบคมุ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมอย่างคมุ้ คา่ ข้อมูลพน้ื ฐานจงั หวดั นครปฐม 1.สภาพทัว่ ไป 1.1 ประวตั ิความเป็นมา “นครปฐม” เปน็ อู่อารยธรรมสําคัญที่มีประวัติความเป็นมายาวนานในแผน่ ดินสุวรรณภูมิจาก หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์กล่าววา่ เมืองนครปฐมแต่เดิมน้ันตงั้ อยูร่ ิมทะเล เปน็ เมอื งเกา่ แก่มีความเจริญรุ่งเรือง มานับตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิและเป็นราชธานีสําคัญในสมัยทวารวดีในยุคนั้น นครปฐมเป็นแหล่งเผยแพร่ อารย ธรรมจากประเทศอินเดีย ซึ่งรวมทั้งพุทธศาสนา นครปฐมจึงเป็นศูนย์กลางของความเจริญ มีชนชาติต่างๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่เป็นจํานวนมาก ต่อมาได้เกิดความแห้งแล้งขึ้นในเมืองนครปฐม เพราะกระแสน้ำท่ี ไหลผ่านตัวเมืองเปล่ียนเส้นทาง ประชาชนจึงอพยพไปตั้งหลักแหล่งอยู่ริมนำ้ และสร้างเมืองใหม่ขึ้น ชื่อ “เมือง นครไชยศรี” หรือ “ศรีวิชัย” นครปฐมจงึ กลายเป็นเมืองรา้ งมาเป็นเวลาหลายร้อยปีจนกระท่ัง พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวขณะที่ยังทรงผนวชได้ธดุ งค์ไปพบพระปฐมเจดีย์และทรงเห็นว่าเป็น เจดีย์องคใ์ หญ่ไม่มีท่ี ใดเทียบเท่า ครั้นเม่อได ื ้ครองราชย์จึงโปรดฯ ให้ก่อเจดีย์แบบลังกาครอบองค์เดิมไว้โดยให้ ชื่อว่า “พระปฐม เจดีย์” ทรงปฏิสังขรณ์สิ่งต่างๆ ในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ให้มีสภาพดีและโปรดฯ ให้ขุด คลองเจดีย์บูชา เพื่อให้การเสด็จมานมัสการองค์พระปฐมเจดีย์สะดวกขึ้น ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยูห่ วั ไดเ้ ริ่มกอ่ สร้างทางรถไฟสายใต้ผ่านเมืองนครปฐม ซงึ่ ขณะนั้นยงั เปน็ ป่ารก พระองค์จงึ โปรดฯ ให้ย้าย เมอื งจากตําบลท่านา อาํ เภอนครชัยศรีมาตง้ั ท่บี ริเวณ องคพ์ ระปฐมเจดีย์เหมือนเช่นคร้ังสมัยโบราณ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ ให้สร้างพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่เสด็จ แปรพระราชฐาน และฝึกซ้อมรบแบบเสือป่า โดยโปรดฯ ให้ตัดถนนเพิ่มขึ้นอีกหลายสาย รวมทั้งสร้าง สะพานเจริญศรัทธาข้าม คลองเจดีย์บูชาเชื่อมระหว่างสถานีรถไฟกับองค์พระปฐมเจดีย์ตลอดจนสร้าง พระร่วงโรจนฤทธิ์ทางด้านทิศ เหนือขององค์พระปฐมเจดีย์และบูรณะองค์พระปฐมเจดีย์ให้สมบูรณ์สวยงาม ดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน และได้ โปรดใหเปลี่ยนชอ่ื จากเมือง “นครไชยศรี” เป็น “นครปฐม” 1.2 ที่ตัง้ และอาณาเขต นครปฐมเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางด้านตะวันตก ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำท่าจีนในที่ราบลุ่ม ภาค กลาง โดยอยู่ระหวา่ งเส้นรุ้งที่ 13 องศา 45 ลปิ ดา 10 ฟลิ ิปดา เส้นแวงท่ี 100 องศา 4 ลปิ ดา 28 ฟิลิปดา แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

27 มีพื้นที่ 2,168.327 ตารางกิโลเมตรหรือ 1,355,204 ไร่ หรือร้อยละ 0.42 ของประเทศและ อันดับที่ 62 ของ ประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครไปตามเส้นทางถนนเพชรเกษม 56 กิโลเมตรหรือตาม เส้นทางถนนบรม ราชชนนี ถนนปิ่นเกล้า(–นครชัยศรี )51 กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟ 62 กิโลเมตร โดยมี อาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอําเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับอําเภอกระทุ่มแบน อําเภอบ้าน แพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร และอําเภอบางแพ จังหวดั ราชบรุ ี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอําเภอไทรน้อย อําเภอบาง ใหญ่อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร อําเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับอําเภอบ้านโป่ง อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี และอําเภอท่า มะกา อาํ เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี 1.3 สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพภูมิประเทศของจังหวัดนครปฐมโดยทั่วไปมลี ักษณะเป็นทรี่ าบถึงค่อนข้างราบเรียบ ไม่มี ภูเขา และป่าไม้ ระดับความแตกต่างของความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 2-10 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปาน กลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปลาดจากทิศเหนือสู่ทิศใต้และตะวันตกสู่ตะวันออกมีแม่น้ำท่าจีนไหลผ่านจากทิศ เหนอื ลงสู่ ทศิ ใตพ้ นื้ ทีท่ างตอนเหนือและทางตะวนั ออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เปน็ ท่ีดอน สว่ นพ้ืนที่ทางตอนกลาง ของจังหวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีที่ดอนกระจายเป็นแห่งๆ และมีแหล่งน้ำกระจาย สําหรับพื้นที่ด้านตะวันออก และ ดา้ นใตเ้ ปน็ ท่ีราบลุ่มรมิ ฝงั่ แม่น้ำทา่ จีน มคี ลองธรรมชาติและคลองซอยท่ีขุดขน้ึ เพื่อการเกษตรและคมนาคมอยู่ มาก พนื้ ที่สูง จากระดบั นำ้ ทะเล 2-4 เมตร 1.4 สภาพภมู ิอากาศ ปรมิ าณน้ำฝน จากสถิติข้อมูลปริมาณน้ำฝนของจังหวัดนครปฐม โดยใช้ข้อมูลของสถานีอุตุนิยมวิทยา นครปฐม ย้อนหลัง 5 ปี (2553–2557) ปริมาณน้ำฝนจะอยู่ในชว่ ง 1,100–1,200 มิลลิเมตร ฝนตกมากที่สุด ปี 2554 วัดได้ 1,295.5 มลิ ลิเมตร สว่ นฝนตกนอ้ ยทีส่ ุดในปี 2557 วัดได้ 795.7 มลิ ลเิ มตร อุณหภูมิ จากสถิติข้อมูลอุณหภูมิของจังหวัดนครปฐม โดยใช้ข้อมูลของสถานีอุตุนิยมวิทยานครปฐม เปรยี บเทียบย้อนหลงั 5 ปี (2553–2557) ปรากฏวา่ อณุ หภูมโิ ดยทว่ั ไปอยูใ่ นเกณฑป์ กตสิ ําหรบั อณุ หภมู ิสงู ที่สุด วัดได้ 40.2 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2553 และอุณหภูมติ ํ่าทีส่ ดุ วัดได้ 10 องศา เซลเซียส เมื่อ วันท่ี 24 มกราคม 2557 2. การเมอื งการปกครอง เขตการปกครอง จังหวัดนครปฐมแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อําเภอ 106 ตําบล 904 หมูบ่ ้าน สาํ หรับการ บริหารราชการสว่ นท้องถิน่ ประกอบดว้ ย องค์การบริหารส่วนจงั หวดั 1 แหง่ เทศบาลนคร 1 แหง่ เทศบาล เมอื ง 4 แหง่ เทศบาลตําบล 18 แหง่ และองค์การบรหิ ารสว่ นตําบล 93 แห่ง แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

28 ประชากร จงั หวดั นครปฐมมีประชากรจํานวนทั้งส้ิน 894,567 คน เปน็ ชาย จาํ นวน 429,789 คน หญิง จํานวน 464,778 คน ครัวเรือน จํานวน 366,022 ครัวเรือน สําหรับอําเภอที่มีประชากรมากที่สุด ไดแ้ ก่ อําเภอเมอื ง รองลงมา ได้แกอ่ ําเภอสามพราน และกาํ แพงแสน ตามลําดบั รายละเอียดดงั ตาราง การบริหารราชการ จังหวัดนครปฐม แบ่งส่วนการบริหารราชการออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนราชการบริหารส่วนกลางในจังหวัด มีจํานวน )ที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง(66 หน่วยงาน เป็น หน่วยงานในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมอื่นๆ จํานวน 48 หน่วยงาน หน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย จาํ นวน 4 หน่วยงาน และหน่วยงานอสิ ระจํานวน 14 หน่วยงาน 2) ส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค มีจํานวน 32 หน่วยงาน เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมอ่นื ๆ จํานวน 23 หน่วยงาน หน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย 8 หน่วยงาน ระดบั อําเภอ แบ่งเป็น 7 อําเภอ 106 ตําบล 904 หมู่บา้ น 3) ส่วนราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน แบ่งออกเป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด จํานวน 1 แห่ง เทศบาล นคร จํานวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จํานวน 4 แห่ง เทศบาลตําบล จํานวน 18 แห่ง และองค์การ บริหารส่วน ตาํ บล จาํ นวน 93 แหง่ 3. สภาพเศรษฐกิจ ภาคเกษตร ข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product: GPP) ณ ราคาประจําปี 2557 เท่ากับ 261,676 ล้านบาท มีมูลค่าเพิ่มขึ้นจากปี 2556 จํานวน 16,913 ล้านบาท และมีผลิตภัณฑ์มวล รวม จังหวัดตอ่ ประชากร (GPP per capita) เทา่ กบั 256,501 บาท คดิ เปน็ ลําดบั ท่ี 11 ของประเทศ และสงู สดุ ในกลุ่มภาคกลางตอนล่าง 1 สาขาที่มูลค่าสูงสดุ และมคี วามสําคัญในการสร้างรายไดใ้ ห้กับจงั หวดั 3 ลําดับแรก ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม จํานวน 152,251 ล้านบาท รองลงมาเป็นสาขาการขายส่ง การขายปลีก การ ซอ่ มแซมยานยนตจ์ ักรยานยนต์ของใช้สว่ นบุคคลและของใช้ในครวั เรือน จํานวน 31,555 ลา้ นบาท และ อันดับ 3 สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้จํานวน 20,177 ล้านบาท มีพื้นที่เกษตรกรรม จํานวนทั้งสิ้น 730,261 ไร่ คิดเป็นประมาณร้อยละ 58.89 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด การเกษตรเป็นสาขาการ ผลิตที่สําคัญของ จังหวัดนครปฐม ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 23.59 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาชีพสําคัญ ได้แก่ การทํานา ทําไร่ ทําสวนผลไม้และพืชผัก การเลี้ยงสัตว์และการทําการประมง ได้แก่ การเพาะเลี้ยงสัตว์ น้ำ ระบบ การเกษตรในจังหวดั นครปฐม จัดเป็นเขตเกษตรก้าวหน้า เพราะมรี ะบบชลประทานท่ดี โี ดยอาศัย แหล่งน้ำจาก ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าจีน และแม่กลอง ประกอบกับเกษตรกรจังหวัดนครปฐมมีศักยภาพสูง สามารถเรียนรู้ วิทยาการแบบใหม่ ๆ และมีการใช้เทคโนโลยีภาคการเกษตรที่พัฒนามากขึ้น การเกษตรกรรม ของจังหวัดมี ความเปน็ ไปได้สงู ตอ่ การวางแผนจัดระบบการผลติ เพื่อเชอื่ มโยงการสง่ ออก ๑การเพาะปลกู จังหวดั นครปฐมมี ) พื้นที่เพาะปลูกแยกเป็นพื้นที่ใช้ทํานาปีจํานวน429,064 ไร่ ทํา นาปรัง จํานวน 427,362 ไร่ พืชไร่จํานวน 87,293 ไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ จํานวน 17,408 ไร่ พืชเศรษฐกิจทีส่ ําคัญ ได้แก่ ข้าว จังหวัดนครปฐมมีการทํานา ปีละ 2 ครั้ง คือ ข้าวนาปีและข้าวนาปรัง โดยข้าวนาปีเป็นข้าว เพาะปลูกในช่วงเดือนพฤษภาคม ตุลาคม-และ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

29 จะเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนสิงหาคมมกราคม ส่วนข้าวนาปรังเป็น- ข้าวที่เพาะปลูกในช่วงเดือนพฤศจิกายน- สิงหาคม-เมษายน และจะเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ แต่เนื่องจากจังหวัดนครปฐมมีระบบชลประทานท่ี สมบรู ณจ์ งึ สามารถปลูกข้าวไดต้ ่อเน่ืองตลอดปีคือสามารถ ปลูกได้ 2 ปี 5 ครั้ง สาํ หรับผลผลิตข้าวฤดูการผลิตปี พ.ศ.2556 ของจังหวัด ดังนี้ - ข้าวนาปีจากสถิติการปลูกข้าวพบว่า ปีพ .ศ.2555/2556 มีปริมาณผลผลิตรวม ประมาณ 386,276 ตัน มีเนื้อที่เพาะปลูก จํานวน 429,064 ไร่ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 870 กิโลกรัม - ข้าวนาปรัง จากสถิติการเพาะปลูกพบว่า ปีพ .ศ.2555/2556 มีปริมาณผลผลิตรวมประมาณ 386,666 ตัน มีเนื้อท่ี เพาะปลูก จํานวน 427,362 ไร่ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 879 กิโลกรัม อ้อยโรงงาน พืชไร่ที่สําคัญของจังหวัดฯ คือ อ้อยโรงงานที่ใช้ผลิตน้ำตาลทรายในปี พ.ศ.2556 จังหวัดนครปฐมมีผลผลิตอ้อยโรงงานรวมประมาณ 1,070,256 ตัน มีเนื้อที่เพาะปลูก จํานวน 75,175 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 13,960 กิโลกรัม ผลไม้การทําสวน ผลไมน้ ับเปน็ อาชีพหนึ่งทรี่ าษฎรทําการเพาะปลูกมาก ประกอบด้วย มะพรา้ ว น้ำหอม สม้ โอ มะมว่ ง ฝร่ัง ชมพู่ มะนาว กล้วยน้ำว้า กล้วยหอม ลําไย ฯลฯ สําหรับผลไม้ที่มีชื่อเสียงของ จังหวัดมีผลผลิตรวมประมาณ 128,437 ตัน เนื้อที่เพาะปลกู จาํ นวน 73,802 ไร่ผลผลติ เฉล่ยี ต่อไร่ 1,740 กโิ ลกรมั พชื ผัก มีการปลูกกันท่ัวไป นอกจากจะใช้บริโภคภายในจังหวัดนครปฐมแล้ว ยังส่งไปจําหน่ายยัง จังหวัดข้างเคียงและกรุงเทพฯ เช่น หน่อไม้ฝรั่ง มีผลผลิตผักรวมประมาณ 155,118 ตัน เนื้อที่เพาะปลูก จํานวน 57,140 ไร่ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ จํานวน 2,714 กิโลกรมั 5 ไม้ดอกไม้ประดบั จังหวดั นครปฐมเปน็ แหล่งเพาะปลูกกลว้ ยไมท้ ี่สําคัญและมีไม้ดอก ไมป้ ระดบั อนื่ ๆ เช่น กหุ ลาบ มะลิบวั ฉัตร ดอกรัก ฯลฯ มีเน้อื ท่เี พาะปลกู รวมประมาณ 17,408 ไรส่ ่วนใหญ่ อยู่ ในเขตอําเภอสามพราน นครชัยศรีพทุ ธมณฑล และบางเลน การปศสุ ัตว์ การเลย้ี งสตั ว์เพอื่ การบริโภคและการคา้ สัตวท์ นี่ ยิ มเล้ียง การประมง จังหวัดนครปฐมมีเกษตรกรประกอบอาชีพประมงน้ำจืดเป็นส่วนใหญ่ ผลผลิตของสาขา ประมง โดยทั่วไปได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมีเกษตรกรด้านการประมงทั้งสิ้น จํานวน ๘,390 รายพื้นที่ทํา การประมงมีจํานวนทั้งสิ้น 90,467 ไร่สัตว์น้ำที่นิยมเล้ียง ได้แก่กุ้งก้ามกราม กุ้งขาว ปลาน้ำจืด ปลาสวยงาม จระเข้และสัตว์น้ำอื่นๆ ตามลําดับ มีผู้ประกอบการด้านการประมง ทั้งสิ้น 1๘8 ราย ประกอบด้วย ผู้ค้าปัจจัย การผลิตผู้ค้า ผู้รวบรวม สัตว์ /น้ำโรงงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สัตว์/แพปลา ท่าขึ้นปลา/น้ำกลุ่มและผู้แปร/ รูปสัตว์น้ำผู้นําเข้า ผู้ส่งออก/น้ำตว์น้ำและผลิตภัณฑ์น้ำตว์น้ำ โครงสร้างการผลิต ประกอบด้วยกิจกรรมการ เลี้ยง ปลานำ้ จืดทุกชนดิ ปลานลิ ปลาตะเพยี น( ปลาย่ีสก ปลาดุก ฯลฯ รอ้ ยละ )75.9 รองลงมาคอื การทําฟาร์ม เลยี้ ง กงุ้ ขาว กงุ้ ก้ามกราม ร้อยละ 22.6 ส่วนการเพาะพนั ธุป์ ลาและกงุ้ มีน้ำดส่วนรอ้ ยละ 1.6 ซ่ึงมาจากกิจกรรม การเพาะพนั ธุ์และอนุบาลกุ้งทะเลกุ้งกา้ มกราม ปลานำ้ จืด น้ำตวน์ ้ำสวยงามและนำ้ ตว์น้ำอื่น ๆ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

30 บทที่ 2 การดำเนินงานจดั ทำแผนยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การพฒั นา วิทยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของวิทยาลัย วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล เป็นสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 6 สำนักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขนึ้ เมื่อวนั ที่ 10 กรกฎาคม 2540 รายนามผ้อู ำนวยการวทิ ยาลยั การอาชีพพุทธมณฑล ตัง้ แต่อดีตจนถึงปจั บุ ัน 1. นายสมนึก ศิรโิ รจน์ พ.ศ. 2541 – 2542 2. นายประสทิ ธิ์ สขุ พลู ผล พ.ศ. 2542 – 2545 3. นายวรนิ ทร์ เขียวขำ พ.ศ. 2545 – 2547 4. นางอรสา รามโกมทุ พ.ศ. 2547 – 2549 5. นายธรี วัฒน์ บุญเพง็ พ.ศ. 2549 – 2550 6. นายไอยสรู ย์ ยนิ ดภี พ พ.ศ. 2550 – 2554 7. นางอบุ ลวรรณ วสิ ยั จร พ.ศ. 2554 – 2555 8. นายพรอนันต์ ภกั ดีบุญ พ.ศ. 2556 – 2562 9. นายพนิ ิจ บุญโสภา พ.ศ. 2562 – 2563 10. นางณชนกพรหมพร บุญชูศรี พ.ศ. 2563 – ปจั จุบัน วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล สร้างขึ้นเพื่อสนองตอบความต้องการของชุมชน นโยบายของรัฐบาล และนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยมีผู้ก่อตั้งได้แก่ นายชิดชัย สุดสิ้น นายครุฑ มณนี ุษย์ และนายประณต นนทเศวตเมธี ปี พ.ศ. 2541-2542 นายสมนึก สิริโรจน์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ได้เปิดการ เรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานยานยนต์ และสาขาวิชาพณิชยการ สาขางานการบัญชี ปี พ.ศ. 2542-2545 นายประสทิ ธ์ิ สุขพลู ผล ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั การอาชีพพุทธมณฑล ได้เปิดการ เรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานไฟฟ้ากำลัง และสาขาวชิ าพณิชยการ สาขางานการขาย แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

31 ปี พ.ศ. 2545 – 2547 นายวรินทร์ เขียวขำ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ได้สร้างระบบน้ำบาดาลไว้ใชใ้ นวิทยาลยั ฯ ปี พ.ศ. 2547 – 2549 นางอรสา รามโกมุท ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมฑณล ได้เปิดการ เรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาพณิชยการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และได้เปิด การเรยี นการสอนระดับเทยี บโอนความรูแ้ ละประสบการณ์วิชาชีพ ปี พ.ศ. 2549 – 2550 นายธีรวัฒน์ บญุ เพง็ ผ้อู ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ได้เปิดการ เรยี นการสอนระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี สาขาวิชาช่างไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ ปี พ.ศ. 2550 – 2554 นายไอยสูรย์ ยินดีภพ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ได้เปิด การเรียนการสอนระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์วชิ าชีพ ศูนย์โรงเรยี นวดั ศรีจนั ทร์ ศนู ย์โรงเรียนวัด เขยี นเขต ศนู ยโ์ รงเรียนวดั สุทธกิ ษัตริย์ และศนู ย์วัดไผ่ล้อม ปี พ.ศ. 2554 – 2555 นางอุบลวรรณ วิสัยจร ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ไดส้ ร้างองค์พระประจำวิทยาลัยไดจ้ ดั การเรยี นการสอนสำหรบั ผพู้ ิการและผดู้ อ้ ยโอกาส ไดแ้ ก่ ผู้ต้องขัง ผู้พิการท่ีมคี วามบกพร่องทางการได้ยิน ทำความรว่ มมือกับหน่วยงานต่างๆ ไดแ้ ก่ โรงเรียนโสตศึกษาจงั หวัด นครปฐาม โรงเรียนบ้านคลองโยง โรงเรยี นฟ้าใสวทิ ยา โรงเรยี นคลองมหาสวัสดิ์ โรงเรยี นวัดใหมผ่ ดุงเขต โรงเรยี นบญุ ยศรสี วสั ดิ์ โรงเรียนวัดเสนีย์วงศ์ เรอื นจำกลางคลองเปรม ศนู ยส์ ิรินธร บ้านปราณี โรงเรียนบ้าน คลองสว่างอารมณ์ กองพันทหารม้าที่ 3 บางขวาง รกั ษาพระองค์ ปี พ.ศ. 2556 – 2562 นายพรอนันต์ ภกั ดบี ญุ ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั การอาชีพพุทธมณฑล ไดเ้ ปดิ การเรียนการสอนระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี และระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชัน้ สงู สาขาวิชา อตุ สาหกรรม สาขางานยานยนต์ สาขางานไฟฟา้ กำลัง สาขางานซ่อมบำรุง สาขางานอเิ ล็กทรอนิกส์ สาขางานการบัญชี สาขางานคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ และสาขางานธรุ กิจค้าปลีก และได้เปดิ การเรียนการสอน เทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณว์ ิชาชีพ โดยในปกี ารศกึ ษา 2558 จัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาปกติ และผ้พู ิการและผู้ด้อยโอกาส ในระบบทวิภาคี 100 % ปี พ.ศ. 2562 – 2563 นายพนิ จิ บุญโสภา ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล ไดเ้ ปดิ การเรียนการสอนระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี และระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง สาขาวชิ า อุตสาหกรรม สาขางานยานยนต์ สาขางานไฟฟา้ กำลัง สาขางานซ่อมบำรุง สาขางานอิเลก็ ทรอนิกส์ สาขา งานการบัญชี สาขางานคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ สาขางานธุรกิจค้าปลีก สาขาคอมพวิ เตอร์กราฟกิ สาขาการโรงแรม และสาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศและไดเ้ ปดิ การเรยี นการสอนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ โดยใน แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

32 ปีการศึกษา 2558 จดั การเรียนการสอนให้กับนักศึกษาปกตแิ ละผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส ในระบบทวภิ าคี 100 % และหลักสูตรระยะส้นั ปี พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน นางณชนกพรหมพร บุญชูศรี ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพ พุทธมณฑล ได้เปิดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาอตุ สาหกรรม สาขางานยานยนต์ สาขางานไฟฟา้ กำลัง สาขางานซ่อมบำรุง สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานการบัญชี สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ สาขางานธุรกิจค้าปลีก สาขาคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก สาขาการ โรงแรม และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และได้เปิดการเรียนการสอนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ วิชาชีพ โดยในปีการศึกษา 2558 จัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาปกติและผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส ใน ระบบทวภิ าคี 100 % และหลักสตู รระยะสั้น 2.2 คณะผบู้ ริหารวิทยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 1. นายพนิ จิ บญุ โสภา ผ้อู ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล 2. นายคณุ วัฒน์ ศรีอรุณเอี่ยม รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยพัฒนากจิ การนักเรียนนักศึกษา และ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ 3. นายคมสัน รักกุศล รองผอู้ ำนวยการฝ่ายบรหิ ารทรพั ยากร และ รองผ้อู ำนวยการฝ่ายวชิ าการ 2.3 อัตรากำลังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 3 คน 1. ข้าราชการ 11 คน 1.1 ฝ่ายบรหิ ารในตำแหนง่ - คน 1.2 ครผู สู้ อน 19 คน 1.3 ข้าราชการพลเรือน 3 คน 2. พนักงานราชการ 16 คน 3. ลกู จ้างชั่วคราวครจู า้ งสอน 4. ลกู จา้ งช่ัวคราวท่วั ไป/เจ้าหน้าทธ่ี ุรกการ รวม 52 คน 2.4 จำนวนนกั เรียนนกั ศกึ ษา ปวช. ปวส. รวม สาขาวิชา/สาขางาน 92 28 116 ชา่ งยนต์/เทคนคิ ยานยนต์ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

33 ไฟฟา้ กำลัง/ตดิ ตั้งไฟฟ้า 82 42 113 อิเล็กทรอนกิ ส์/เทคนิคคอมพิวเตอร์ 22 15 67 ซ่อมบำรงุ /ซ่อมบำรงุ อุตสาหกรรม 2 11 57 เทคนคิ อุตสาหกรรม/อตุ สาหกรรมการผลิต - 20 20 การบัญช/ี การบญั ชี 8 45 102 คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ/เทคโนโลยสี ำนักงาน 11 57 118 ธุรกจิ ค้าปลกี /ธรุ กจิ ค้าปลีกท่ัวไป 4 20 60 คอมพวิ เตอร์กราฟกิ /คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก 43 57 118 การโรงแรม/การโรงแรม 10 20 60 เทคโนโลยสี ารสนเทศ/เทคโนโลยสี ารสนเทศ 7 57 118 รวมท้ังสน้ิ 390 263 653 หมายเหตุ : ข้อมลู ณ วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2562 2.5 ข้อมลู ด้านอาคารสถานที่ ชือ่ สถานศึกษา วทิ ยาลยั การอาชีพพุทธมณฑล ชอื่ ภาษาองั กฤษ BUDDHAMONTHON INDUSTRIAL AND COMMUNITY EDUCATION COLLEGE ทตี่ ง้ั สถานศึกษา เลขท่ี 99 หม่ทู ่ี 5 ถนนประชาอุทศิ ตำบลคลองโยง อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม รหสั ไปรษณยี ์ 73170 โทรศัพท์ โทร.0-3424-6194 โทรสาร โทร.0-3424-6195 เวบ็ ไซต์ http://www.biac.ac.th อเี มล - เนอื้ ทขี่ องสถานศึกษา 32 ไร่ 1 งาน 43 ตารางวา โดยเช่าที่วัดสุวรรณาราม อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม วิทยาลัยตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอพุทธมณฑล ประมาณ 6 กโิ ลเมตร มอี าคารรวมท้ังสนิ้ 7 หลงั มีหอ้ งทั้งส้นิ 55 ห้อง ไดแ้ ก่ 1. อาคารเรยี นชา่ งเชื่อม จำนวน 1 หลงั 4 ห้อง พืน้ ทใ่ี ชส้ อย 12x65ม. 2. อาคารเรียนเทคนคิ พน้ื ฐาน จำนวน 1 หลัง 5 หอ้ ง พน้ื ทีใ่ ชส้ อย 9x70ม. 3. อาคารเรียนวิชาชพี พ้นื ฐาน จำนวน - หลงั 7 ห้อง พื้นทใี่ ชส้ อย 10x23ม. แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

34 4. อาคารเรียนวชิ าพารชิ ยกรรม จำนวน - หลงั 7 หอ้ ง พื้นทใ่ี ชส้ อย 9x64ม. 5. อาคารอำนวยการ จำนวน 1 หลงั 7 ห้อง พืน้ ที่ใชส้ อย 9x64ม. 6. อาคารเรยี นชา่ งอุตสาหกรรม จำนวน 1 หลงั 10 หอ้ ง พืน้ ทีใ่ ชส้ อย 25x56ม. 7. อาคารโรงอาหาร จำนวน 1 หลัง 9 หอ้ ง พน้ื ทใี่ ช้สอย 17x43ม. 8. บ้านพกั ครู จำนวน 1 หลัง 4 ห้อง พื้นที่ใชส้ อย 8x8ม. 9. บ้านพักผบู้ ริหาร จำนวน 1 หลัง 2 หอ้ ง พนื้ ทใ่ี ชส้ อย 8x8ม. สีประจำวิทยาลัย แดงเลือดหมู ฟ้า ตน้ ไม้ประจำวทิ ยาลยั ตน้ ชงโค 2.6 การจดั การเรยี นการสอน ปัจจุบันสถานศึกษาได้ทำการเปิดสอนหลักสูตรระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ )ปวช.( ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสูง )ปวส.( และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระบบปกติและระบบทวิภาคี ประเภท วชิ าท่เี ปดิ ทำการสอน มีดังน้ี ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) 1. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม จำแนกเป็น 4 วิชา ได้แก่ 1.1 สาขาวชิ าชา่ งยนต์ - สาขางานยานยนต์ ระบบทวภิ าคี 1.2 สาขาวิชาไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ - สาขางานไฟฟ้ากำลัง ระบบทวิภาคี 1.3 สาขาวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ - สาขางานอเิ ล็กทรอนิกส์ ระบบทวิภาคี 1.4 สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน - สาขางานเครื่องมือกล ระบบทวิภาคี 2. ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม จำแนกเปน็ 3 วิชา ไดแ้ ก่ 2.1 สาขาวิชาการบัญชี - สาขางานการบัญชี ระบบทวิภาคี 2.2 สาขาวิชาธรุ กจิ คา้ ปลกี - สาขางานธุรกิจคา้ ปลีกสมัยใหม่ ระบบทวิภาคี แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

35 - สาขางานธุรกจิ คา้ ปลีกซุปเปอรม์ าเก็ต ระบบทวภิ าคี 2.3 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ - สาขางานคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ ระบบทวภิ าคี 3. ประเภทวิชาศิลปกรรม จำแนกเปน็ 1 วิชา ไดแ้ ก่ 3.1 สาขาคอมพิวเตอรก์ ราฟิก - สาขางานคอมพวิ เตอร์กราฟิก ระบบทวภิ าคี - สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกอาร์ต ระบบทวิภาคี 4. ประเภทวชิ าการโรงแรม จำแนกเปน็ 1 วิชา ได้แก่ - สาขาการโรงแรม ระบบทวิภาคี 5. ประเภทวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร จำแนกเป็น 1 วิชา ไดแ้ ก่ - สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบทวิภาคี ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) 1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม จำแนกเปน็ 3 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่ 1.1 สาขาวชิ าเครอ่ื งกล - สาขางานเทคนิคยานยนต์ ระบบทวิภาคีและเทยี บโอนประสบการณ์ 1.2 สาขาวชิ าไฟฟ้ากำลัง - สาขางานติดต้ังไฟฟา้ ระบบทวิภาคแี ละเทียบโอนประสบการณ์ 1.3 สาขาวิชาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ - สาขางานอเิ ลก็ ทรอนิกส์อตุ สาหกรรม ระบบทวิภาคแี ละเทยี บโอนประสบการณ์ 1.4 สาขาวชิ าเทคนิคการผลิต - สาขางานเคร่ืองมอื กล ระบบทวภิ าคีและเทียบโอนประสบการณ์ 2. ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกิจ จำแนกเป็น 2 สาขางาน ได้แก่ 2.1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ - สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ ระบบทวิภาคีและเทียบโอนประสบการณ์ 2.2 สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจค้าปลีก - สาขางานธุรกจิ คา้ ปลกี ร้านอาหารและภัตตาคาร ระบบทวภิ าคีและเทียบโอน ประสบการณ์ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

36 3. ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว จำแนกเป็น 1 สาขางาน ไดแ้ ก่ 3.1 สาขาวิชาการโรงแรม - สาขางานแมบ่ ้านโรงแรม ระบบทวภิ าคแี ละเทียบโอนประสบการณ์ 4. ประเภทวชิ าศิลปกรรม จำแนกเปน็ 1 สาขางาน ได้แก่ 4.1 สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์กราฟิก - สาขางานสื่อสิ่งพิมพ์ ระบบทวิภาคีและเทยี บโอนประสบการณ์ 4.2 ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร จำแนกเป็น 1 วชิ า ได้แก่ - สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบทวิภาคีและเทยี บโอนประสบการณ์ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

37 บทที่ 3 การดำเนนิ การจัดทำแผนยทุ ธศาสตรเ์ พื่อการพฒั นาวทิ ยาลัยการอาชีพพทุ ธมณฑล พ.ศ. 2562 – 2565 3.1 ขั้นตอนการดำเนนิ งานการจดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพ่ือการพัฒนาได้ดำเนนิ งานโดยใชก้ ระบวนการ PDCA โดยมีลำดับขั้นตอน การดำเนนิ งาน ดังนี้ 1. เสนอขออนุมัติโครงการจัดทำแผนยุทธศาสตรเ์ พ่ือการพฒั นาวทิ ยาลยั การอาชีพพุทธมณฑล พ.ศ. 2562 – 2565 2. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการจดั ทำแผนยุทธศาสตร์ 3. ประชมุ ชแ้ี จงครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทุกคน 4. กำหนดแผนงานดำเนนิ การจัดทำแผนยทุ ธศาสตร์เพ่อื การพัฒนาวทิ ยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล พ.ศ. 2562 - 2565 5. ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ ครัง้ ที่ 1 โดยบุคลากรท้งั วิทยาลัยในการจดั ทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อการ พฒั นาโดยใชแ้ นวทาง กพร. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. การศกึ ษาและวเิ คราะห์ )Study and Analysis) นโยบาย (Policy) 7. นโยบายรัฐบาล กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สอศ. CEO จังหวดั นครปฐม ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ประกันคุณภาพ ผู้มีสว่ นได้เสีย ครู นักเรยี นนกั ศึกษา ผูป้ กครอง ชมุ ชน สงั คม ภารกจิ ของสถานศึกษา ตามกฎหมาย วิเคราะห์สภาพปัจจบุ นั โดยเทคิน SWOT ฯลฯ 8. ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ครงั้ ท่ี 2 โดยผ้บู ริหาร หวั หนา้ แผนก หวั หนา้ งาน กำหนดวิสยั ทัศน์ เป้าประสงค์พนั ธกจิ ประเด็นยุทธศาสตร์ จดุ ประสงค์ ตวั ช้ีวัด และเปา้ หมายตัวชวี้ ดั กลยทุ ธ์ แผนงานโครงการ 9. ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการครั้งท่ี 3 เขยี นโครงการแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์พฒั นายทุ ธศาสตร์สถานศกึ ษา โดย คณะครู บุคลากรทุกท่าน 10. ประชมุ คร้งั ท่ี 4 โดยคณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา ประชาพิจารณ์ 11. ประชมุ ครงั้ ที่ 5 ขอความเหน็ ชอบคณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลัย จดั ทำรูปเล่ม 12. จัดพิมพ์แผนยุทธศาสตร์เพ่ือการพฒั นาวิทยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล พ.ศ. 2562 – 2565 13. การจดั ทำประกาศสาธารณะ )PSA) และลงนามการใชแ้ ผนยทุ ธศาสตรเ์ พื่อการพัฒนาฯ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

38 14. ใชแ้ ผนยทุ ธศาสตร์/การเผยแพร่ 15. กระจายยทุ ธศาสตรข์ องวิทยาลัยสฝู่ ่าย/แผนก/งาน/บุคคล )จดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์ระดับฝ่าย/ แผนก/งาน/บุคคล 16. กำกับ ติดตามการใชแ้ ผนยุทธศาสตร์ 17. ตรวจสอบความเช่อื มโยงโครงการตามยุทธศาสตร์กับมาตรฐานและตวั บ่งชข้ี องการประกัน คุณภาพ ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และ กพร. 18. จัดอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การติดตามและประเมนิ ผลยุทธศาสตร์เพ่อื การพฒั นา 19. การประเมินผลแผนยุทธศาสตรเ์ พ่อื การพัฒนา 20. รายงานผลการปฏิบตั ิงานตามแผนยทุ ธศาสตร์เพื่อการพัฒนา 21. ปรบั ปรงุ แกไ้ ข กลยุทธ์ แผนงานโครงการของวทิ ยาลัย 22. กำหนดแนวปฏิบตั ทิ เี่ ป็นมาตรฐาน 23. การปรบั แผนยทุ ธศาสตร์ตามนโยบายเร่งดว่ น 3.2 การวเิ คราะห์สภาพปญั หาของวทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล โดยเทคนคิ SWOT จุดแขง็ (Strength) 1. คณะครู อาจารย์ มีจิตวญิ ญาณในความเปน็ ครู มุง่ มน่ั พฒั นาศษิ ย์ของตนเองเต็มกำลงั 2. มีความพร้อมในด้านการสนบั สนุนดา้ นวัสดุ ครุภณั ฑ์ สอ่ื โสตทัศนูปกรณ์ ด้านการจดั การ เรยี นการสอนทนั สมยั สง่ ผลให้การเรียนการสอนมคี ุณภาพตามมาตรฐาน 3. มคี วามสัมพนั ธ์ท่ีดรี ะหว่างคณะกรรมการวทิ ยาลัยทเ่ี ขม้ แข็ง สามารถประสานการพฒั นา กบั หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องได้อย่างตอ่ เน่ือง 4. พฒั นามาตรฐานฝีมือของผูส้ ำเร็จการศกึ ษาท่ีตรงตามความตอ้ งการของสถาน ประกอบการในระดับสากล 5. กำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ ดา้ นการพัฒนาผูเ้ รยี น ด้านการพฒั นาหลักสูตรและการ จดั การเรยี นการสอน ด้านกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 6. จัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และเน้นการปฏิบัติจริงจัดกิจกรรมเสริม ทักษะวิชาชีพ พัฒนาหลักสูตรในการฝึกอบรมแต่ละรายวิชา ตามความเหมาะสมกับ ศกั ยภาพของผู้เรียน 7. จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาทักษะวิชาชพี ใหก้ บั นักเรียน นักศกึ ษาทกุ ระดับ ทุกสาขาวชิ า และทุกระดบั ช้นั แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

39 8. สนับสนนุ ใหม้ กี ารเผยแพรผ่ ลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์สรา้ งสรรค์ และงานวิจยั ครูเพื่อ นำไปใช้ประโยชนส์ ู่ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ 9. พัฒนาทกั ษะฝึมอื ของผูเ้ รยี นในแต่ละสาขางานหรอื สาขาวชิ าชีพโดยเรียนรู้ในสถาน ประกอบการและผเู้ ช่ยี วชาญภมู ปัญญาท้องถ่ิน 10. หน่วยงานองค์กรและสถานประกอบการ ให้การสนับสนุนในการบริการวิชาการและ วิชาชีพ 11. มีคณะกรรมการสถานศึกษา ทด่ี ำเนนิ งานภายใตห้ ลกั ธรรมาภิบาล ครบถว้ น และมกี าร ประเมนิ ผล โดยผทู้ รงคุณวุฒิทไ่ี ดม้ าจากการสรรหาจากบคุ คลภายนอก 12. มีการบรู ณาการบริหารจัดการศึกษา โดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไป ประยกุ ตใ์ ช้ในดา้ นการจดั การเรยี นการสอนในทุกรายวิชา จัดทำกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นให้ ผเู้ รยี นรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน 13. จดั ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศอยา่ งเปน็ หมวดหมู่ ครอบคลมุ ภารกิจงานด้านการบรหิ าร วชิ าการ การบรหิ ารงานบคุ ลากร การบริหารงบประมาณและการบริหารงานทว่ั ไป มีการ เช่ือมโยงข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบและเปน็ ปัจจุบัน 14. สนับสนนุ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รับทุนการศึกษา ทนุ วจิ ัย หรืองาน สร้างสรรค์ 15. มีแผนการบรหิ ารจดั การความเสี่ยงทั้ง 5 ดา้ น ทีส่ ามารถบริหารจดั การใหป้ ระสบ ความสำเรจ็ โดยมีความปลอดภัย หา่ งไกลจากยาเสพติด การพนนั และเหตุการณ์ที่ไม่พึง ประสงค์ 16. มอี งค์กร โครงสร้างการบริหารงานและมีแผนภมู ริ วมถึงขอบข่ายหนา้ ท่กี ารปฏิบัติงาน อย่างชัดเจน 17. มหี ลักสตู รร่วมกับสถานประกอบการที่ทันสมยั เพอื่ รบั ประชาคมอาเซียน 18. ผลติ ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพไดม้ าตรฐานตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา 19. มมี าตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มีแผนยทุ ธศาสตร์เพื่อการพัฒนาสถานศกึ ษา แผนปฏิบัติราชการประจำปี 20. มีครูและบุคลากรของสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมีความรู้ ความสามารถตรงกบั สายงาน และ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

40 สาขาวิชาที่สอน 21. มสี ถานประกอบการจำนวนมากใหค้ วามรว่ มมือในการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี 22. ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความมงุ่ มนั่ ในการพฒั นาตนเองเพือ่ พฒั นาการเรียนการ สอนอย่างต่อเน่ือง 23. นกั เรียนนักศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความสามคั คีรว่ มมือทำงานเปน็ ทีม 24. พฒั นาสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้และบรกิ ารวิชาการและวิชาชีพใหแ้ กบ่ คุ ลากร ภายนอกและชุมชน 25. มคี วามพร้อมด้านสื่อการเรียนการสอน และวสั ดุอุปกรณท์ ่ีทันสมัย 26. มรี ะบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน และนกั ศึกษาทีเ่ ข้มแข็งเกดิ ผลดตี ่อนักเรียนนักศึกษาและ ผูป้ กครอง จดุ ออ่ น (Weakness) 1. การบรหิ ารจัดการที่ยงั ไมเ่ ป็นระบบ ขาดการวางแผนและประสานงานทด่ี ี ทำใหเ้ กดิ อปุ สรรคในการดำเนนิ งาน 2. สถานท่ภี ายในสถานศกึ ษายังไม่เปน็ ระเบียบ ยังใชพ้ ืน้ ที่ไมเ่ ต็มเน่ืองจากตอ้ งใช้ งบประมาณในการปรบั ปรุงภูมทิ ัศน์ 3. ภารกจิ ตามงานนโยบายของสถานศกึ ษา และนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษามีมากเกนิ ไป 4. ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและนกั เรยี นนักศึกษาบางสว่ นขาดระเบียบวนิ ยั ไม่มีความ รับผดิ ชอบ 5. ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและนักเรียนนักศกึ ษา ส่วนมากยังขาดทักษะดา้ น ภาษาตา่ งประเทศ 6. เงินงบประมาณ ค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนนิ งานในดา้ นวจิ ัย นวตั กรรม วสั ดุ อปุ กรณ์ สื่อ โสต ฯ มจี ำนวนนอ้ ยไมเ่ พยี งพอตอ่ โครงการกิจกรรมที่ขออนมุ ตั ิ 7. พิจารณาจดั ซ้ือวสั ดุฝกึ การจัดซ้ือจดั จา้ ง ล่าช้าไมท่ นั ตามความต้องการในการดำเนนิ งาน 8. มีการบรหิ ารจดั การงานบางฝ่ายไม่เปน็ ระบบทำใหล้ า่ ชา้ ขาดความคลอ่ งตัวในการ ปฏิบัติงาน 9. ผ้เู รียนไมเ่ หน็ ความสำคัญในการสอน V-net เท่าท่ีควร แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

41 10. ขาดการจดั การความรู้ท่เี ชือ่ มโยงกบั หน่วยงานอื่นที่สามารถเผยแพรน่ วตั กรรมผลงานทาง วชิ าการและวิชาชพี ทีใ่ ชป้ ระโยชน์ระดบั ชุมชน ท้องถน่ิ จังหวัดและระดับชาติ 11. ขาดครูผ้สู อนภาษาตา่ งประเทศท่ีเปน็ เจ้าของภาษาอาเซยี น และภาษาประเทศเพื่อนบา้ น 12. ขาดครผู ้สู อนไม่ครบตรงตามสาขาวชิ าทีเ่ ปดิ ทำการเรยี นการสอน 13. ยังไม่มีการแกไ้ ขปัญาผู้เรยี นออกกลางคนั โดยการทำฐานข้อมลู นกั ศกึ ษาและการนำ ข้อมลู มาทำวจิ ยั 14. ยังไม่มีการจดสทิ ธบิ ตั รผลงานนวตั กรรมให้ครบทุกสาขาวชิ า 15. สถานศกึ ษาตั้งอยกู่ ลางทงุ่ นา นกพิราบมาอาศยั ทำรงั ตามอาคารเรียนถ่ายมลู สกปรกสง่ กลิน่ เหมน็ โอกาส (Opportunities) 1. รัฐบาลมีนโยบายสง่ เสรมิ เรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมีคุณภาพ และมีการใหเ้ งนิ กู้ยืมเพื่อ การศึกษา 2. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาทส่ี ง่ เสริมการปฏริ ปู หลกั สตู รการอาชีวศกึ ษา 3. นโยบายรัฐใหก้ ารสนบั สนนุ สถานศกึ ษาท่ผี ลิตบุคลากรดา้ นวชิ าชพี และเทคโนโลยี 4. มีการเมืองท้องถนิ่ ทเี่ ข้มแข็งและนโยบายจงั หวัด ทใี่ หค้ วามรว่ มมอื สง่ เสริมดา้ นอาชพี 5. ความตอ้ งการกำลังคนของสถานประกอบการ โดยเน้นผู้สำเรจ็ ด้านสายวชิ าชีพจำนวน มาก 6. สถานศกึ ษานำเศรษฐกิจพอเพยี งมาเป็นแนวทางปฏิบตั ิในการพัฒนาโรงเรียน 7. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นเปดิ กวา้ งในการประกอบอาชีพขา้ มชาตโิ ดยเฉพาะความ ตอ้ งการแรงงานด้านอาชีพ 8. ได้รบั ความร่วมมือจากภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ มาให้ความร้แู ก่นกั เรียน นักศึกษาในการจดั การ เรยี นรู้ 9. รฐั บาลและจงั หวัดส่งเสริม สนบั สนนุ อนรุ ักษ์ศิลปวฒั นธรรมประเพณีท้องถิน่ และชาติ ไทย แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

42 10. สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสนบั สนนุ ให้มีการแลกเปล่ียนครู และนักเรยี น นักศึกษากบั ต่างประเทศเพื่อศกึ ษาสงั คมวัฒนธรรมขา้ มชาติ 11. มีแหลง่ การเรียนรดู้ า้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศท่หี ลากหลาย 12. วิทยาลยั จัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี 100% ใหก้ ับนกั ศึกษาปกติและ นกั ศึกษาพิการและผดู้ ้อยโอกาส อปุ สรรค (Threat) 1. การเปลยี่ นแปลงนโยบายการบรหิ ารสถานศึกษา ตำแหน่งของผนู้ ำในกระทรวง นโยบาย เปล่ยี นแปลงตามนักการเมือง 2. ผ้บู ริหารของ สอศ.ยังขาดความมงุ่ ม่ันท่จี ะพัฒนาปฏริ ปู การอาชีวศกึ ษาอยา่ งจริงจังและ ตอ่ เนื่อง 3. ฐานะเศรษฐกจิ ของนกั เรยี น นกั ศึกษาและครอบครวั สว่ นมากยากจนขาดแคลนทุนทรัพย์ 4. เงินนอกงบประมาณ และการสนับสนุนงบประมาณดา้ นวัสดุ อุกกรณ์ ครุภณั ฑ์จาก ภาครัฐนอ้ ยเกินไป 5. คา่ นยิ มของผู้ปกครอง นักเรียนนกั ศกึ ษามเี ป้าหมายที่สายสามัญมากกวา่ สายอาชพี 6. วฒั นธรรมดงั้ เดมิ ถูกละเลย และภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ กำลงั สูญหาย 7. ประชากรในวัยเรียนมจี ำนวนลดลง 8. นักเรียนนกั ศึกษาใช้เทคโนโลยใี นทางที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดผลเสียหายตอ่ ตนเองและ ครอบครวั 9. วิทยาลยั ตัง้ อยหู่ ่างไกลจากถนนใหญ่ นกั เรยี นนกั ศึกษาการเดนิ ทางเขา้ มาเรยี นลำบาก 3.3 การกำหนดปรชั ญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ วทิ ยาลยั การอาชีพพุทธมณฑล วิสัยทัศน์ของวทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2558 ถึง ปกี ารศึกษา 2562 “สถาบันแห่งการเรยี นร้วู ชิ าชีพระบบทวิภาคี ทมี่ ุ่งผลติ กำลังคนคณุ ภาพ สูป่ ระชาคม อาเซียน” พนั ธกิจของวิทยาลัย 1. ยกระดบั วทิ ยาลยั สู่สถาบันแหง่ การเรยี นรู้วิชาชีพ ส่งเสรมิ การจัดการความรู้ ระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศ งานวิจัย สิง่ ประดิษฐ์ และนวตั กรรม แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

43 2. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการท่มี ีประสทิ ธิภาพ เสรมิ สรา้ งศักยภาพบุคลากร ยกระดบั คณุ ภาพการประกนั คุณภาพการศกึ ษา และแหล่งเรยี นรหู้ ลากหลายทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 3. พฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะและการศึกษาระบบทวิภาคีตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงานและสถานประกอบการ 4. ผลิตผู้สำเรจ็ การศึกษาท่ีมีคุณภาพทงั้ ประชาชนทว่ั ไป ผพู้ ิการและผ้ดู ้อยโอกาส ดา้ น สมรรถนะฝีมือคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะ ท่พี ึงประสงค์ 5. ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคสว่ นทัง้ ในและตา่ งประเทศ ปรัชญาของสถานศึกษา “ทักษะดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำสงั คม” เอกลักษณ์ “สร้างคน สร้างงาน สร้างอาชีพ” อตั ลักษณ์ “ทักษะดี มจี ติ บริการ” จดุ เด่น “บริการวชิ าชพี สูช่ ุมชน” จุดเน้น “สร้างโอกาสทางการศกึ ษา เพอื่ ชุมชนและสังคม” สปี ระจำวิทยาลยั “แดงเลือดหมู ฟ้า” ตน้ ไม้ประจำวทิ ยาลยั “ต้นชงโค” แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

44 แผนผังมโนทัศนข์ องวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกิจ พนั ธกจิ ท่ี 1 : ยกระดับวิทยาลยั สสู่ ถาบนั พนั ธกิจที่ 2 : พัฒนาระบบบริหารจัดการทม่ี ี แหง่ การเรยี นรู้วชิ าชีพ สง่ เสรมิ การจดั การ ประสิทธิภาพเสริมสรา้ งศักยภาพบคุ ลากร ความร้รู ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ยกระดบั คุณภาพการประกนั คณุ ภาพการศึกษา งานวิจยั สิง่ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรม และแหล่งเรียนรหู้ ลากหลายที่มปี ระสิทธภิ าพ วิสยั ทัศน์ : สถาบนั แหง่ การเรียนรู้ วิชาชพี ระบบทวิภาคี ท่ีมุ่งผลิต กำลงั คนคุณภาพ ส่ปู ระชาคมอาเซียน พนั ธกจิ ที่ 4 : ผลิตผสู้ ำเรจ็ การศึกษาท่ีมี พันธกิจที่ 3 : พฒั นาหลกั สตู รฐาน คณุ ภาพทง้ั ประชาชนท่วั ไป ผ้พู ิการและ สมรรถนะและการศกึ ษาระบบทวภิ าคีตรง ผ้ดู ้อยโอกาส ด้านสมรรถนะฝีมอื คุณธรรม ตามความต้องการของตลาดแรงงานและ จริยธรรม และคุณลักษณะ ท่ีพงึ ประสงค์ สถานประกอบการ พันธกิจท่ี 5 : ขยายเครือข่ายความร่วมมือ กับทุกภาคส่วนทง้ั ในและตา่ งประเทศ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

45 การดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาวิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล เป็นแผนปฏิบัติ การ 4 ปี พ.ศ. 2558 – 2561 ได้ปฏิบัติตามแผนงาน โครงการที่จัดทำขึ้น โดยมีตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ ชัดเจนเพื่อให้บรรลุตามกลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และวิสัยทัศน์ท่ีกำหนดไว้ ดังน้นั จึงมีความจำเป็นที่จะต้องกระจายพันธกิจไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้การดำเนินงานวิทยาลัยสามารถบรรลุ เป้าประสงค์และวิสยั ทัศนท์ วี่ างไว้อย่างมีประสิทธภิ าพ พันธกิจท่ี 1 ยกระดบั วิทยาลัยส่สู ถาบันแห่งการเรยี นรูว้ ชิ าชีพ สง่ เสริมการจดั การความรู้ ระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศ งานวิจัย สงิ่ ประดิษฐ์ และนวตั กรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.1 พัฒนาวทิ ยาลยั การอาชีพพุทธมณฑลให้เป็นสถาบนั แห่งการเรียนรู้ เป้าประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ท่ี 1.1.1 เพือ่ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มสี มรรถนะ ทางดา้ นวชิ าชีพ ตัวชี้วดั 1) ร้อยละของครแู ละบุคลากรท่มี สี มรรถนะทางด้านวิชาชพี เป้าหมาย รอ้ ยละ 100 ตวั ชว้ี ดั 2) รอ้ ยละของสาขาวชิ าที่มคี รูตรงตามสาขาวชิ าชพี เป้าหมาย ร้อยละ95 ตัวชวี้ ัด 3) รอ้ ยละของครูที่มีภาวะผนู้ ำ เปา้ หมาย ร้อยละ 80 ตวั ชี้วัด 4) ร้อยละของครทู ่มี ีการพัฒนาตนเองในสาขาวชิ าชีพ เป้าหมาย ร้อยละ 60 กลยุทธ์ 1.1.1 ยกระดับสมรรถนะทางด้านวิชาชีพของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา โครงการ 1. โครงการฝึกอบรมวชิ าชพี ในสถานประกอบการ 2. โครงการอบรมความรทู้ างด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. โครงการอบรมภาวะผนู้ ำ 4. โครงการจัดหาบคุ ลากรที่ตรงตามสาขาวิชาชพี เปา้ ประสงค์เชงิ กลยุทธ์ท่ี 1.1.2 เพ่อื พฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศของสถานศกึ ษา ตวั ชว้ี ดั 1) ระดับประสิทธิภาพของการจดั เก็บข้อมลู สารสนเทศของ สถานศึกษา เป้าหมาย ระดบั 4 ตวั ชว้ี ัด 2) ประสทิ ธิภาพของเครือ่ งมือในการจัดเกบ็ ข้อมลู ข่าวสาร แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

46 เปา้ หมาย ระดับ 4 ตวั ชี้วดั 3) ระดับความพึงพอใจของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี ของข้อมลู ขา่ วสาร เป้าหมาย ระดบั 4 กลยทุ ธ์ 1.1.2 เพิม่ ประสิทธิภาพของข้อมูลข่าวสาร โครงการ 1) โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการให้ความรู้การจดั เกบ็ ข้อมูล สารสนเทศ 2) โครงการจัดทำศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ที่ 1.1.3 เพอ่ื กำหนดมาตรฐานการปฏบิ ัติงานขอสถานศกึ ษา ตัวช้วี ัด 1) ระดับความพงึ พอใจของผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการดำเนินงาน ของสถานศกึ ษา เป้าหมาย ระดบั 4 กลยทุ ธ์ 1.1.3 สง่ เสรมิ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของสถานศกึ ษา โครงการ 1) โครงการพฒั นามาตรฐานการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานใน สถานศกึ ษา ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 1.2 พัฒนาระบบการจัดการความรู้ เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ที่ 1.2.1 เพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจ เกย่ี วกบั การจัดการความรู้ ตัวชวี้ ดั 1) รอ้ ยละครูและบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการการ ความรู้ เป้าหมาย ร้อยละ 80 กลยทุ ธ์ 1.2.1 ยกระดบั ประสทิ ธิภาพการจดั การความรู้ โครงการ 1( โครงการอบรมการจัดความรู้ 2( โครงการจดั เก็บองคค์ วามรใู้ นสถานประกอบการ 3( โครงการพฒั นาศูนย์จดั การความรู้ เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ท่ี 1.2.2 เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การความรู้ ตัวชี้วดั 1) ระดบั ประสทิ ธิภาพของระบบการจัดการความรู้ เปา้ หมาย ระดับ 4 ตัวชี้วัด 2) ระดับคุณภาพของเครอ่ื งมือในการจดั เกบ็ ความรู้ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

47 เป้าหมาย ระดบั 4 ตัวช้วี ดั 3) จำนวนองค์ความรทู้ ่ีได้จัดเกบ็ อยา่ งเปน็ ระบบตอ่ ปี เปา้ หมาย 5 องค์ความรู้ ตวั ชี้วดั 4) ระดับความพงึ พอใจของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ต่อการจัดเก็บ ความรู้ เป้าหมาย ระดับ 4 กลยทุ ธ์ 1.2.2 พัฒนาประสิทธิภาพระบบการจัดการความรู้ โครงการ 1( โครงการคลงั ปัญญาวิชาชีพ 2( โครงการจดั ทำเครอ่ื งมือในการจดั การความรู้ 3( โครงการเผยแพรอ่ งค์ความรสู้ ชู่ ุมชน ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 1.3 พัฒนาประสิทธภิ าพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ท่ี 1.3.1 เพื่อพัฒนาเครือขา่ ยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตวั ชี้วดั 1) ระดบั ประสทิ ธิภาพของเครอื ขา่ ยความเร็วสูง เปา้ หมาย ระดับ 5 ตวั ชีว้ ดั 2( ระดับประสทิ ธิภาพของเครอ่ื งแม่ขา่ ย เครื่องลูกขา่ ย และ อุปกรณ์ต่อพว่ ง เป้าหมาย ระดับ 5 เป้าหมาย 3( ระดับความพงึ พอใจของครูและบุคลากร นักเรียน นกั ศึกษาต่อ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตวั ชวี้ ดั ระดับ 5 กลยุทธ์ 1.3.1 เพิม่ ปะสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ โครงการ 1( โครงการพัฒนาระบบเครือขา่ ยแบบสายและไร้สาย 2( โครงการจัดหาเครอ่ื งแม่ข่าย เครื่องลูกข่ายและอปุ กรณ์ต่อพ่วง เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ที่ 1.3.2 เพอื่ ให้ครูและบุคลการทางการศึกษามคี วามรู้ความเข้าใจ ในระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตวั ชว้ี ดั 1) รอ้ ยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาทไ่ี ด้รบั การพัฒนา เป้าหมาย รอ้ ยละ 100 แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

48 ตวั ชว้ี ัด 2( ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ใชเ้ ทคโนโลยใี นการ เรยี นการสอน เป้าหมาย รอ้ ยละ 100 เป้าหมาย 3( ระดบั ความพึงพอใจของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตวั ชว้ี ัด ระดบั 5 กลยทุ ธ์ 1.3.2 เพิม่ สมรรถนะครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาดา้ นระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการ 1( โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2( โครงการจัดทำระบบการเรียนการสอนโดยใชร้ ะบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เปา้ ประสงค์เชิงกลยุทธ์ท่ี 1.3.3 เพ่อื ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู สำหรับการเรียนการสอนและ การปฏิบตั ิงาน ตัวช้ีวัด 1) ร้อยละของงานทใ่ี ช้โปรแกรมสำเร็จรปู ในการปฏิบตั งิ าน เปา้ หมาย รอ้ ยละ 80 ตวั ชว้ี ัด 2( รอ้ ยละของรายวชิ าทจ่ี ัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ เปา้ หมาย ร้อยละ 80 กลยุทธ์ 1.3.3 พฒั นาโปรแกรมสำเรจ็ รูปเพื่อการเรียนการสอนและการบรหิ ารจัดการ โครงการ 1( โครงการจดั ซ้ือจัดหาโปรแกรมสำเร็จรูป 2( โครงการพัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูปเพอ่ื การเรียนการสอนและ การบรหิ ารจดั การ เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ท่ี 1.3.4 เพ่ือจดั การข้อมูลข่าวสารโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ตัวชว้ี ดั 1) ร้อยละของงานท่ีไดร้ ับการจดั เก็บข้อมลู ขา่ วสารเปน็ ระบบ เปา้ หมาย ร้อยละ 95 ตวั ชี้วัด 2( ระดบั ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการข้อมลู ข่าวสาร เป้าหมาย ระดบั 5 แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พทุ ธมณฑล 2562 - 2565

49 ตัวชวี้ ดั 3( ระดบั ประสทิ ธิภาพของระบบการจัดเก็บข้อมูลข่าวสารโดยใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เปา้ หมาย ระดับ 4 กลยทุ ธ์ 1.3.4 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขอ้ มลู ขา่ วสาร โครงการ 1( โครงการจดั เก็บข้อมลู องค์ความรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2( โครงการเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารโดยใช้อนิ เทอรเ์ น็ต 3) โครงการจัดทำเคร่อื งมืออุปกรณใ์ นการจดั เก็บขอ้ มลู ข่าวสาร ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 1.4 พัฒนางานวิจยั สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม เป้าประสงค์เชงิ กลยุทธ์ที่ 1.4.1 เพ่ือให้ครู นักเรียน นกั ศึกษา มีความรคู้ วามสามารถใน งานวิจยั นวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ ตวั ชว้ี ัด 1) ร้อยละของครูทมี่ ีความรู้ความสามารถในการทำวิจัย นวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ เปา้ หมาย รอ้ ยละ 80 ตวั ชีว้ ัด 2( รอ้ ยละของนักเรยี น นักศึกษา ท่ีมีความรคู้ วามสามารถในการ ทำวจิ ยั นวัตกรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ เปา้ หมาย รอ้ ยละ 80 เป้าหมาย 3( รอ้ ยละของงานวิจัย ส่งิ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรม ที่มีคณุ ภาพ ตัวชว้ี ดั ร้อยละ 80 เป้าหมาย 4( ร้อยละของงานวิจัย สงิ่ ประดษิ ฐ์ และนวตั กรรม ท่มี ีไดร้ ับการ เผยแพร่ ตัวช้ีวัด ร้อยละ 80 เป้าหมาย 5( จำนวนงานวจิ ยั ของครูตอ่ ปีการศึกษา ตวั ชี้วดั 2 เรื่อง/คน กลยุทธ์ 1.4.1 เพิม่ สมรรถนะในการจัดทำวิจยั นวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ โครงการ 1( โครงการจดั อบรมให้ความร้ใู นการพัฒนาการทำงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวตั กรรม 2( โครงการประเมนิ คุณภาพงานวจิ ยั นวตั กรรม และส่ิงประดิษฐ์ 3) โครงการเผยแพรง่ านวจิ ยั นวัตกรรม และสง่ิ ประดิษฐ์ แผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565

50 เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ท่ี 1.4.2 เพอ่ื สง่ เสริมสนบั สนนุ ทนุ วิจัย สงิ่ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรม ตวั ชี้วดั 1) ร้อยละของงบประมาณที่สนับสนนุ ทุนวิจยั สิ่งประดษิ ฐ์ และ นวตั กรรม เป้าหมาย ร้อยละ 5 ตัวชว้ี ัด 2( รอ้ ยละของครทู ่ีได้รบั การสนบั สนนุ ทนุ วิจัย ส่ิงประดษิ ฐ์ และ นวัตกรรม เปา้ หมาย รอ้ ยละ 10 เป้าหมาย 3( รอ้ ยละของครูที่ไดร้ บั การส่งเสิรมใหศ้ กึ ษาดูงานวิจัย สง่ิ ประดษิ ฐ์ และนวตั กรรม ตัวชี้วดั ร้อยละ 10 กลยทุ ธ์ 1.4.2 ส่งเสรมิ สนับสนุนทนุ วิจัย ส่งิ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรม โครงการ 1( โครงการจัดหาทนุ วิจัย สิง่ ประดิษฐ์ และนวตั กรรม 2( โครงการประชุมและประกวดงานวิจยั นวัตกรรม และ สง่ิ ประดิษฐ์ 3) โครงการศึกษาดูงานวิจยั นวตั กรรม และสิ่งประดิษฐ์ พันธกจิ ที่ 2 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการท่ีมปี ระสิทธิภาพ เสรมิ สรา้ งศักยภาพบคุ ลากร ยกระดบั คณุ ภาพ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา และแหล่งเรียนรูห้ ลากหลายท่มี ีประสิทธภิ าพ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 2.1 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ โดยใชร้ ะบบ บรหิ ารงานคณุ ภาพและ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ท่ี 2.1.1 เพ่อื ใชห้ ลักธรรมาภิบาลในการบรหิ ารจดั การ ตัวชี้วดั 1) ระดบั ความพึงพอใจของบุคลากรทางการศึกษาทมี่ สี ว่ นรว่ มใน การบรหิ าร เปา้ หมาย ระดับ 4 กลยทุ ธ์ 2.1.1 ยกระดับประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการบริหารจดั การ โครงการ 1. โครงการประเมนิ ผลการบริหารจัดการ 2. โครงการจดั ทำรายผลการปฏิบตั ิงานประจำปี แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา วทิ ยาลยั การอาชพี พุทธมณฑล 2562 - 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook