Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนคำประพันธ์

การเขียนคำประพันธ์

Published by ตะวัน ชัยรัต, 2021-03-09 01:12:13

Description: การเขียนคำประพันธ์

Search

Read the Text Version

การเขยี นคาํ ประพันธ์ ครูตะวัน ชัยรัต

คาํ ประพันธ ภาษาไทยเปนภาษาประจาํ ชาตไิ ทย และเปนภาษาที่แสดงออกถึงเอกลักษณ ความเปน ไทย ภาษาไทยมคี วามงาม และมี สุนทรียภาพทางภาษาทแ่ี ตกตางจากชนชาติ อื่น เพราะภาษาไทยบทรอ ยกรองที่มีความ ไพเราะ สละสวย มีสมั ผสั บังคบั ท่ถี ูกตอง ตามหลักฉนั ทลักษณ

ความหมายของ \"คาํ ประพันธ\" คาํ ประพนั ธ หมายถงึ การนาํ เอา ถอยคํามาเรยี งรอยตอ กัน จนเกดิ ความ ไพเราะสละสลวย และมีสมั ผัสบงั คับถูกตอง ตามฉนั ทลักษณไทย ฉนั ทลกั ษณ หมายถงึ รูปแบบ หรือขอ กําหนด ขอ บังคบั ในการแตงคําประพันธ แตล ะชนิด เชน คําประพันธป ระเภทโคลงส่ี สุภาพ บงั คับเสยี งวรรณยกุ ตเอก และ วรรณยกุ ตโ ท

ประเภทของคําประพันธ คาํ ประพนั ธ สามารถแบงออกได 2 ประเภท คือ คําประพนั ธแ บบดงั้ เดิม และคาํ ประพนั ธแ บบรวมสมยั 1. คาํ ประพนั ธแ บบด้ังเดมิ คือ คํา ประพันธท ่มี าตง้ั แตโ บราณ เปน คาํ ประพันธท ่ี แตงโดยยึดรูปแบบฉนั ทลกั ษณอ ยางเครง ครดั ประกอบดว ย กลอน กาพย โคลง ฉันท รา ย และลิลติ ลลิ ิต หมายถงึ การนาํ เอาคําประพนั ธ 2 ชนดิ มาแตง รวมกนั คือ โคลง กับ ราย

ประเภทของคาํ ประพันธ 2. คําประพันธแบบรวมสมยั คอื คาํ ประพนั ธร ูปแบบใหมไ ดร บั อิทธพิ ลมาจาก ชนชาตติ ะวันตก ต้งั แตส มัย รัชกาลที่ 6 เปน ตนมา คาํ ประพนั ธแบบรว มสมยั อาจจะ แตงโดยไมเครง ครัดฉันทลกั ษณ หรืออาจจะ คิดรปู แบบฉันทลักษณขน้ึ ใหม เรียกวา กลอน เปลา

ประเภทของคําประพนั ธ กลอนเปลา หรอื กลอนอสิ ระ หมายถึง คําประพันธท ไ่ี มม ขี อ บังคับทางฉนั ทลกั ษณ บทกวี นิพนธท ่วั ไป ท่ีแตง ดวยฉันทลกั ษณแ บบตา งๆ เชน โคลง ฉนั ท กาพย กลอน ฯลฯ นอกจาก 2 คาํ น้แี ลว ยังมคี นเรยี กดวยคาํ อ่นื ๆ อีก เชน กลอนไรฉันทลักษณ กลอนเปลอื ย เรยี งรอย ถอ ยคํา คํารอย เปนตน ทม่ี คี ําวา กลอน อยูดวย แสดง วายังอยากใหร ูว า เปน งานประพันธท ไี่ มใชร อยแกว สวนท่ไี มต อ งการใชค ําวา กลอน กค็ งเพราะเห็นวา เปน ขอเขียนทไ่ี มม อี ะไรใกลเคยี งกบั กลอนเลย แตเ ปนการ เอาคาํ มาเรียงรอ ยกันใหมลี ลี าจังหวะและความหมาย ตามทผี่ แู ตงตอ งการ

ตวั อยา งกลอนเปลา

ตวั อยา งกลอนเปลา

คําประพนั ธแ บบดั้งเดิม คาํ ประพนั ธแ บบดั้งเดิม ประกอบดวย กลอน กาพย โคลง ฉันท รา ย และลิลิต 1. กลอน คือ คําประพนั ธไ ทยที่ ฉนั ทลักษณป ระกอบดวยลกั ษณะบงั คบั 3 ประการคือ คณะ จาํ นวนคํา และสัมผัส ไมม ี บงั คับเอกโทและครุลหุ กลอนท่นี ิยมแตงไดแก กลอนส่ี กลอนหก กลอนแปด และกลอน สภุ าพ (คณะ คือ แบบบงั คับที่วางเปน กาํ หนด กฎเกณฑไ วว า คําประพันธช นดิ นัน้ จะมีก่ี วรรค ก่ีคาํ หรอื มีเอกโท ครุลหุ)

คาํ ประพันธแ บบด้ังเดมิ กลอนสภุ าพ - กลอน 1 บท มี 2 บาท - กลอน 1 บท มี 4 วรรค (เรยี กวา วรรค สดับ รบั รอง สง ) - กลอน 1 วรรค มีจํานวนคาํ 7-9 คาํ - การสมั ผัส คอื คาํ สดุ ทายของวรรค สดับ จะสมั ผสั กับคําที่ 3 หรอื 5 ของวรรครับ และคําสดุ ทายของวรรครบั จะสมั ผสั กบั คาํ สดุ ทายของวรรครอง และคําสดุ ทายของรอง จะสัมผสั กบั คําที่ 3 หรือ 5 ของวรรคสง

ตวั อยางแผนผงั กลอนแปด

คาํ ประพันธแ บบด้ังเดิม 2. กาพย คือ คําประพันธช นิดหน่ึงที่ บังคับจาํ นวนคาํ และสัมผสั จดั วรรคตางจากก ลอนและไมบังคบั เสยี งวรรณยกุ ตทา ยวรรค ไมม ีบงั คบั เอก-โทเหมอื นโคลง และไมมีบังคบั ครุและลหเุ หมือนฉันท กาพยท ีน่ ิยมแตง ไดแก กาพยยานี 11 กาพยฉบงั 16 กาพย สรุ างคนางค 28

คาํ ประพนั ธแบบดั้งเดิม กาพยย านี 11 - กาพย 1 บท มี 2 บาท (เรยี กวาบาท เอก บาทโท) - กาพย 1 บาท มจี าํ นวนคํา 11 คํา วรรคหนา 5 วรรคหลัง 6 - การสัมผัส คือ คําสดุ ทา ยของวรรคแรก จะสัมผสั กับคาํ ท่ี 3 ของวรรคท่ี 2 และคาํ สุดทายของวรรคท่ี 2 จะสมั ผสั กับคําสุดทาย ของวรรคที่ 3

ตวั อยางแผนผังกาพยยานี 11

คําประพันธแบบด้ังเดิม 3. โคลง คือ คาํ ประพันธท ่ีนิยมแตงใน สมยั กรุงศรีอยธุ ยา คาํ ประพนั ธป ระเภทโคลง จะบงั คับฉันทลักษณเ สยี งวรรณยุกตเอก และ วรรณยกุ ตโ ท และโคลงท่นี ิยมแตงไดแ ก โคลง ดน้ั โคลงกระทู โคลงสี่สุภาพ

คําประพันธแบบดงั้ เดิม โคลงส่ีสภุ าพ - โคลง 1 บท มี 4 บาท - โคลง 1 บาท มจี ํานวนคํา 30 คาํ ไมรวมคําใน วงเล็บ - คําในวงเล็บ คอื คาํ สรอ ย จะมีหรอื ไมม ีกไ็ ด เชน พอเฮย แมนา พ่ี - โคลงสส่ี ุภาพบังคับเสียงวรรณยุกตเ อก และ วรรณยกุ ตโท (เอก 7 โท 4) - การสมั ผัส คอื คาํ สุดทา ยของบาทที่ 1 จะสัมผัส กับคําสุดทายของวรรคแรก ในบาทท่ี 2 และคาํ สุดทา ย ของวรรคแรก ในบาทที่ 3 สวนคาํ สุดทายของบาทท่ี 2 จะสมั ผสั กบั คาํ สุดทายของวรรคแรก ในบาทท่ี 4

ตวั อยางแผนผังโคลงสี่สภุ าพ

คําประพนั ธแบบดง้ั เดิม 4. ฉนั ท คือ รอ ยกรองในภาษาไทย ทบ่ี ังคบั เสยี งหนัก - เบาของพยางค ที่เรียกวา ครุ - ลหุ ฉันทใ นภาษาไทยรับแบบมาจาก ประเทศอินเดีย ตาํ ราฉันทท ่เี กา แกที่สุดของ อินเดียเปน ภาษาสันสกฤต คือ ปง คลฉันทศาสตร ฉันทภ าษาบาลเี ลมสาํ คัญ ทีส่ ุดไดแ ก คมั ภรี วตุ โตทยั ปกรณ ฉันททนี่ ิยม แตง ไดแก อินทรวเิ ชยี รฉนั ท 11 วสันตดิลกฉนั ท 14

คาํ ประพันธแ บบดั้งเดมิ ครุ คือ เสียงหนกั พยางคทีผ่ สมดวยสระ เสียงยาว และมีตวั สะกดทกุ มาตรา แมน มี รา ย ปน ไป ลหุ คอื เสียงเบา พยางคที่ผสมดวยสระ เสียงสน้ั ไมม ตี วั สะกด เชน ฉะ นิ นะ ก็ และ

ตวั อยา งแผนผงั อินทรวเิ ชยี รฉนั ท 11

คําประพันธแ บบดั้งเดิม 5. ราย คือ คําประพนั ธประเภทรอ ย กรองแบบหนง่ึ ทีแ่ ตง งายทส่ี ดุ และมี ฉันทลกั ษณนอ ยกวารอ ยกรองประเภทอน่ื ถา พจิ ารณาใหด จี ะพบวา รายมีลกั ษณะใกลเ คยี ง กับคําประพนั ธประเภทรอยแกว มาก เพยี งแต กําหนดท่คี ลองจองและบงั คบั วรรณยกุ ตใน บางแหง รายมสี ่ปี ระเภท เรยี งลาํ ดับตามการ กําเนดิ จากกอ นไปหลงั ได ดงั น้ี รายยาวราย โบราณ รา ยดนั้ และรายสภุ าพ

ตวั อยางแผนผงั รายยาว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook