เอนโดพลาสมกิ เรติคลู มั (endopluluasmic reticm: ER) เอนโดพลาสมิก เรติคูลมั (endopluluasmic reticm: ER) เป็นออรแ์ กเนลลท์ ่ีมีผนงั บาง 2 ชน้ั มีความหนานอ้ ยกวา่ เยือ่ หุม้ เซลล์ มลี ักษณะเป็นทอ่ ขด พบั ไปมา เป็นออรแ์ กเนลล์ ที่เก่ยี วขอ้ งกับการสงั เคราะหโ์ ปรตีน ซึ่งไรโบโซมจะเกาะทางดา้ น ไซโทซอลของเยื่อหมุ้ โปรตนี ถกู สังเคราะหข์ ้ามเย่ือหุ้มของเอนโดพลาสมิก เรตคิ ลู มั นอกจากจะ เปน็ ที่ใหไ้ รโบโซมเกาะอยแู่ ลว้ ยงั ทาหน้าท่ืสังเคราะหส์ าร (sterols) และ phospholipids เปน็ สารท่ีจาเป็น ของทุกๆเยือ่ หุม้ เอนโดพลาสมิก เรทิคิวลัม ยงั ทาหน้าทีข่ นถ่ายเอนไซม์ และโปรตนี โมเลกุล เรยี กว่า การหลง่ั สาร หรือกระบวนการขบั สาร ออกนอกเซลล์ (secetion) ประกอบด้วย โครงสรา้ งระบบทอ่ ท่ีมีการเชื่อมประสานกัน ทง้ั เซลล์ส่วนของท่อยงั ตดิ ตอ่ กบั เยื่อหุ้มเซลล์ เยอื่ หุ้มนวิ เคลียส และกอลจบิ อดดี ว้ ย ภายในทอ่ มีของเหลวซง่ึ เรยี กวา่ ไฮยาโลพลาซมึ (hyaloplasm) บรรจุอยู่ และพบในยูคารโี อตเท่านนั้
เอนโดพลาสมิก เรตคิ ูลมั หรอื ER แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. เอนโดพลาสมกิ เรติคลู มั แบบขรุขระ (rough endoplasmic reticulum : RER) เป็นชนดิ ที่มี ไรโบโซมเกาะ หน้าที่ : การสงั เคราะห์โปรตีน ของไรโบโซมที่เกาะอยู่ โดยมกี อลจบิ อดี (golgi body) เปน็ ตวั สะสม หรือทาให้ มขี นาดพอเหมาะ ที่ส่งออกนอกเซลล์ ลาเลียงสาร ซึ่ง ได้แก่ โปรตีน ท่สี รา้ งได้ และสารอื่นๆ เช่น ลพิ ิดชนดิ ตา่ งๆในเซลลท์ เ่ี กดิ ใหม่ พบวา่ มี RER มากกว่า SER แต่ เมืเ่ ซลลม์ ีอายุมากขนึ้ พบว่า SER มากกวา่ RER เช่อื กัน ว่า RER จะเปลยี่ นเป็น SER เมื่อเซลล์มีอายมุ ากขึน้ พบ ในตบั อ่อน ลาไส้เลก็ ตอ่ มใตส้ มอง มีการลาเลยี ง แบบ intracellular transport
2. เอนโดพลาสมกิ เรติคูลมั แบบเรยี บ (smooth endoplasmic reticulum : SER) เป็นชนิดท่ีไม่มี ไรโบโซมเกาะ พบมากในเซลลท์ ี่มหี นา้ ที่กาจัดสารพษิ และสรา้ งสารสเต อรอยด์ จงึ พบในเซลลท์ ตี่ ่อมหมวกไต เซลลแ์ ทรกของเลย์ดกิ ในอณั ฑะ เซลล์คอร์ปสั ลเู ทียมใน รงั ไข่ และในเซลล์ของตับ หนา้ ท่ี : ลาเลียงสารต่างๆ เช่น RNA ลิพดิ โปรตนี เนื่องจากผนังของ ER ยอมให้ สารประกอบโมเลกุลใหญ่บางชนดิ รวมท้ัง ลพิ ิด เอนไซม์ และโปรตีนผ่านเขา้ ออกได้ จงึ เปน็ ทางผา่ นของสาร และเกลือแรเ่ ขา้ ไปกระจายทั่วเซลล์ รวมทงั้ สารตา่ งๆ ยัง อาจสะสมไว้ใน ER อกี ดว้ ย และการขับ ของเสีย ออกจากเซลล์ โดยผา่ นทาง ER เรียกวา่ เอกโซไซโทซิส (exocytosis)
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: