Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไลโซโซม

ไลโซโซม

Published by ploypilin21471, 2019-08-21 10:58:19

Description: ไลโซโซม

Search

Read the Text Version

ไลโซโซม (lysosome) ไลโซโซม (lysosome) พบครั้งแรกโดย คริสเตียน เดอ ดฟู ( Christain de Duve) เมอื่ ปี พ.ศ. 2495 โดยดจู ากกล้องจลุ ทรรศนอ์ เิ ล็กตรอน คลา้ ยถุงลม รปู รา่ งกลมรี เส้นผ่านศูนยก์ ลาง ประมาณ 0.15-0.8 ไมครอน พบเฉพาะในเซลลส์ ตั ว์เท่านน้ั มักพบใกล้กบั กอลจบิ อดี ไลโซโซม ยัง เปน็ ส่วนสาคัญ ในการย่อยสลาย องค์ประกอบของเซลล์ หลังจากเซลล์ตาย โดยพบมาก ในฟาโก ไซทกิ เซลล์ ( phagocytic cell) เชน่ เซลล์เม็ดเลอื ดขาว และเซลลน์ ระบบเรติคูโล เอนโดทีเลียม (reticuloendothelial system) เช่น ตบั ม้าม นอกจากน้ี ยังพบไลโซโซม จานวนมาก ในเซลลท์ ่ี ไดร้ ับบาดเจ็บ หรือมกี ารสลายตวั เอง เช่น เซลลส์ ว่ นหาง ของลูกออ๊ ด เป็นต้น ไลโซโซม มเี อนไซน์ หลายชนิด จึงสามารถยอ่ ยสลาย สารต่างๆ ภายในเซลลไ์ ดด้ ี เป็นออรแ์ กแนลล์ ท่ีมีเมมเบรนหอ่ หุม้ เพียงช้ันเดียว ซึ่งไม่ยอมให้เอนไซม์ตา่ งๆ ผา่ นออก แต่ เป็นเยื่อทส่ี ลายตวั หรือรัว่ ไดง้ า่ ย เมอเื่ กดิ การอกั เสบของเนอ้ื เย่ือ หรือขณะทีม่ ีการเจรญิ เตบิ โต เยอ่ื หมุ้ น้ีมคี วามทนทาน ตอ่ ปฏกิ ิรยิ าการย่อยของเอนไซม์ ที่อยู่ภายในได้ เอนไซมท์ อี่ ยใู่ นถงุ ของไลโซ โซมน้ี เชื่อกนั ว่าเกิดจากไลโซโซม ทอี่ ยบู่ น RER สรา้ งเอนไซม์ขนึ้ แลว้ สง่ ผา่ นไปยังกอลจบิ อดี แล้ว หลดุ เป็นถุงออกมา

ไลโซโซม มีหนา้ ท่ีสาคญั คอื • ย่อยสลายอนภุ าค และโมเลกุลของสารอาหาร ภายในเซลล์ • ยอ่ ย หรือทาลายเช้ือโรค และส่ิงแปลกปลอมตา่ งๆ ท่ีเข้าสู่ร่างกายหรือเซลล์ เชน่ เซลล์เม็ดเลือดขาวกิน และยอ่ ยสลายเซลล์แบคทเี รีย • ทาลายเซลลท์ ่ตี ายแล้ว หรือเซลลท์ ม่ี อี ายมุ าก โดยเยอ่ื ของไลโซโซม จะฉกี ขาด ได้ง่าย แลว้ ปล่อยเอนไซมอ์ อกมา ย่อยสลายเซลลด์ งั กลา่ ว • ย่อยสลายโครงสรา้ งตา่ งๆ ของเซลล์ ์ในระยะท่ีเซลล์มกี ารเปลี่ยนแปลง และมี เมตามอรโ์ ฟซสี ( metamorphosis) เชน่ ในเซลล์สว่ นหางของลกู ออ๊ ด

ไลโซโซม แบ่งเป็น 4 ชนดิ 1. ไลโซโซมระยะแรก (primary lysosome) มนี ้าย่อยท่ีสงั เคราะหม์ าจากไรโบโซม และเก็บไว้ใน กอลจิบอดี แลว้ หลุดออกมาเป็นถุง 2. ไลโซโซมระยะที่ 2 (secondary lysosome) เกดิ จากไลโซโซมระยะแรกรวมตัวกับส่ิงแปลก ปลอมท่ีเข้ามาในเซลล์ โดยวิธฟี าโกไซโตซสิ (phagocytic) หรือ พโิ นไซโตซิส (phagocytosis) แล้วมี การยอ่ ยต่อไป 3. เรซิดวล บอดี (residual body) เป็นส่วนทเี่ กิดจากการย่อยอาหารในไลโซโซมระยะทส่ี องไม่ สมบูรณ์ มีกากอาหารเหลอื อยใู่ นเซลล์บางชนดิ เช่น อะมีบา โปรโตซวั จะขับกากอาหารออกทางเยอ่ื หมุ้ เซลล์ โดยวธิ เี อกโซไซโตซสิ (exocytosis) หรือในเซลลบ์ างชนิด อาจสะสมไว้เปน็ เวลานาน ซ่ึงสามารถใช้ บอกอายขุ องเซลลไ์ ด้ เชน่ รงควัตถุที่สะสมไว้ในเซลล์ประสาทของสัตวท์ ี่มอี ายุมาก 4. ออโตฟาจกิ แวควิ โอ หรอื ออโตฟาโกโซม (autophagic vacuole or autophagosome) เปน็ ไลโซโซม ที่เกดิ ในกรณพี เิ ศษ เน่ืองจากกนิ ส่วนต่างๆของเซลล์ตัวเอง เชน่ ไมโตคอนเดรีย รา่ งแหเอน โดปลาสซึม พบมากในเซลล์ตับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook