คํานิยม รัฐบาลและประชาชนทุกคนตระหนักดีว่าเด็กเป็นรากฐานที่ สำ�คญั ตอ่ การพฒั นาประเทศชาติในอนาคต ดงั นัน้ ตลอดระยะเวลา ท่ีผ่านมารัฐบาลจึงได้ขับเคลื่อนนโยบายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 5 ปี ซึ่งทางกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ตอบรับนโยบายน้ีโดยการพัฒนาคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 5 ปี ส�ำ หรบั ผู้ปกครอง สำ�เร็จสมบูรณ์ฉบบั น้ี โดยมี เนื้อหาสาระครบถ้วน เข้าใจง่ายและมีภาพประกอบ สีสันสวยงาม น่าอ่าน นา่ สนใจ ในฐานะนายกรัฐมนตรีต้องขอกล่าวแสดงความชื่นชมและ ยินดีกับกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขที่พัฒนาองค์ความรู้ ทางด้านวิชาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตอ่ ประเทศชาติ ท�ำ ใหป้ ระชาชนทว่ั ไปเขา้ ถงึ ความรดู้ า้ นการสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ไดโ้ ดยงา่ ย และสามารถน�ำ ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั เพอ่ื สง่ เสรมิ พฒั นาการของบตุ รหลานซง่ึ นอกจากจะท�ำ ใหบ้ ตุ รหลาน มพี ฒั นาการทส่ี มวยั แลว้ ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ความรกั ความผกู พนั ในครอบครวั เปรียบเสมือนเกราะคุ้มกันให้เด็กเติบโตข้ึนอย่างมีคุณภาพทั้ง ทางด้านร่างกายและจิตใจท่ีจะเป็นกลไกสำ�คัญเพื่อนำ�พาประเทศ ไปสูค่ วามเจริญต่อไปในอนาคต นางสาวยิง่ ลกั ษณ์ ชินวตั ร นายกรฐั มนตรี
คํานยิ ม กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะพัฒนาเด็กโดยให้ ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กได้ด้วยตนเองหรือ ช่วยเหลือญาติพี่น้องในครอบครัวได้ จึงได้ทำ�การพัฒนาคู่มือ ส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กแรกเกดิ - 5 ปี ฉบบั ผปู้ กครองและทาง กระทรวงตง้ั ใจจะน�ำ คมู่ อื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ แรกเกดิ - 5 ปี ฉบับน้ีไปช่วยเหลือประชาชน โดยจะเป็นประโยชน์อย่างย่งิ ต่อ พัฒนาการของเด็กไทยทั่วประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐบาลที่เน้นการพัฒนาบุคลากรของชาติโดยเร่ิมต้นตั้งแต่ เด็กเพราะเด็กถือเป็นรากฐานท่ีสำ�คัญในการขับเคลื่อนประเทศ ให้ไปสูค่ วามเจรญิ ท้ายน้ีต้องขอแสดงความช่ืนชมและยินดีกับกรมสุขภาพจิต ท่ีทางสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ได้อุทิศเวลาเพื่อทำ� การศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ทางวชิ าการ และพฒั นาคมู่ อื ฉบบั นข้ี น้ึ มา จนสำ�เร็จสมบูรณ์ ทำ�ให้ประชาชนชาวไทยได้มีคู่มือส่งเสริม พัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี ใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริม พฒั นาการเด็กไทยต่อไป นายวทิ ยา บรุ ณศริ ิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ
คํานิยม กรมสุขภาพจิตมีบทบาทในการดูแลสุขภาพจิต ครอบคลุมกลุ่มประชากรทุกช่วงวัยโดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ซ่ึงเกี่ยวข้องสัมพนั ธก์ ับเรือ่ งพฒั นาการเดก็ ท้ังน้ี ทางสถาบนั พฒั นาการเดก็ ราชนครนิ ทรเ์ ปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ ดา้ นวชิ าการ และส่วนหน่ึงให้บริการด้านพัฒนาการเด็ก ซ่ึงมีนโยบายใน การพฒั นาองค์ความรดู้ ้านพัฒนาการเด็ก จากการติดตามการดำ�เนินงานดังกล่าวได้เห็นถึง ความทุ่มเทในการพัฒนาองค์ความรู้ของสถาบันพัฒนาการเด็ก ราชนครินทร์ท่ีมีการพัฒนาไปในทิศทางที่ก้าวหน้ามาก ทั้งทาง ดา้ นโครงสร้างและด้านวิชาการด้านพฒั นาการเด็ก ดงั นน้ั กระผมขอแสดงความชน่ื ชมยนิ ดกี บั ความกา้ วหนา้ ของสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ในการพัฒนาคู่มือ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี สำ�หรับผปู้ กครองและ ขอใหธ้ �ำ รงไวซ้ ง่ึ ความมงุ่ มน่ั ในการพฒั นางานน้ตี ่อไป เพื่อเป็น ประโยชน์ต่อเดก็ ไทยและประเทศชาติ นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ อธิบดกี รมสขุ ภาพจิต
คํานํำ� หนงั สือค่มู ือสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ แรกเกดิ - 5 ปี สำ�หรับผู้ปกครองเล่มนี้ ได้จัดทําขึ้นเพื่อให้พ่อแม่ หรือ ผู้ปกครอง ได้ใช้เป็นแนวทางในการดูแลเด็กทั้งเด็กปกติ ทั่วไป และเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ ในด้านการดูแล สุขภาพร่างกาย จิตใจ รวมถึงการเฝ้าติดตาม ประเมิน พัฒนาการและสามารถใช้คู่มือเล่มนี้ส่งเสริมพัฒนาการ เดก็ โดยผา่ นวธิ กี ารเลน่ การจดั กจิ กรรม การพดู คยุ การจดั บทบาทสมมติให้เดก็ อย่างเหมาะสมตามวยั จะช่วยส่งเสริม พฒั นาการเดก็ ในดา้ นตา่ งๆ ทง้ั ดา้ นการเคลอ่ื นไหว ดา้ นการใช้ กลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ และสตปิ ญั ญา ดา้ นการเขา้ ใจภาษา ดา้ นการ ใชภ้ าษา และดา้ นการชว่ ยเหลอื ตวั เองและสงั คม เดก็ วยั น้ี สามารถเรยี นรสู้ ิ่งต่างๆ จากประสบการณ์ การเล้ียงดูและ สภาวะแวดลอ้ ม การปลกู ฝงั พน้ื ฐานทด่ี โี ดยใหเ้ ดก็ มโี อกาส ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการครบทุกด้าน ส่งผลให้เด็กมี ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ม่ี คี ณุ ภาพและ อยู่รว่ มกบั ผ้อู ื่นในสงั คมได้อยา่ งดีต่อไป นายแพทยส์ มัย ศิรทิ องถาวร ผ้อู ำ�นวยการสถาบนั พัฒนาการเดก็ ราชนครนิ ทร์
การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเดก็ การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วง อายุ 5 ปี เปน็ ชว่ งระยะเวลาทีเ่ ด็กเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเร็วมาก เป็นช่วงเวลาสำ�คัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจ ของมนุษย์ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็วแล้ว สมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ผู้ปกครอง 1. อาหารกับการเจริญเติบโตของเดก็ ตามวัย ส่วนใหญ่มักให้ความสำ�คัญกับเด็กในการส่งเสริมการเจริญ เดก็ ในชว่ งวยั แรกเกดิ - 5 ปี ในระยะนก้ี ารเจรญิ เตบิ โต เติบโต ทางด้านรา่ งกาย เช่น รปู รา่ ง นาํ้ หนัก สว่ นสูง และ ของรา่ งกายและสมองจะรวดเร็วกวา่ วยั อืน่ ๆ ดังน้นั พ่อแม่หรอื ปล่อยให้พัฒนาการของเด็กเกิดข้ึนเองตามวัยแต่ในปัจจุบัน ผปู้ กครองควรเนน้ การรบั ประทานอาหารทม่ี คี ณุ คา่ และมปี รมิ าณ ความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ เพียงพอต่อความต้องการของเด็กโดยเฉพาะนมแม่ควรให้ ใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ การสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ มากขน้ึ ซง่ึ นอกจาก ต้ังแต่แรกเกิดเน่ืองจากเป็นอาหารที่ดีท่ีสุดของทารกมีไขมัน ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่นพันธุกรรมที่ได้รับจาก ท่ีช่วยในการพัฒนาเซลล์สมองเป็นวัคซีนสำ�เร็จรูปท่ีได้จากแม่ พอ่ แมแ่ ลว้ สง่ิ แวดลอ้ มกบั การเลย้ี งดู โดยการสรา้ งเสรมิ กจิ กรรม ทําให้เด็กไม่ป่วยบ่อย มีระดับสติปัญญามากกว่าเด็กที่ไม่ได้ กับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กท่ผี ้ปู กครอง กินนมแม่และการพูดคุยกับเด็กในขณะให้นมจะช่วยกระตุ้น ควรทาํ ในชวี ติ ประจาํ วนั ของเดก็ รวมถงึ ใหก้ ารตดิ ตามพฒั นาการ ประสาทสัมผัสทั้งห้าช่วยส่งเสริมพัฒนาการและความมั่นคง ของเด็กให้เหมาะสมตามวัยเป็นส่ิงท่ีผู้ปกครองจะละเลยไม่ได้ ทางอารมณ์ของเด็กได้เป็นอยา่ งดี สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและ มีคุณภาพตอ่ ไป แนวทางปฏบิ ัติการดูแลเด็กให้กนิ นมแม่ ส่ิงสำ�คัญผู้ปกครองควรพาเด็กไปรับบริการตรวจ 1. กินนมแมอ่ ยา่ งเดยี วอยา่ งนอ้ ย 6 เดอื น สขุ ภาพ และรบั วคั ซนี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ตดิ ตามดกู ารเจรญิ เตบิ โต 2. เมื่อเดก็ อายุ 6 เดือนเป็นตน้ ไปกนิ นมแม่ควบคู่ และพัฒนาการของเด็กเป็นไปตามวัยแล้วผู้ปกครองควรทํา อาหารตามวัย ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กในด้าน 3. พดู คุย เล่น เล่า อ่านนทิ าน รอ้ งเพลงใหเ้ ดก็ ฟงั ตา่ งๆ มดี ังน้ี 4. สรา้ งความผูกพัน และเปน็ แบบอย่างท่ีดแี ก่เด็ก 5. ประเมินและเฝา้ ระวังพัฒนาการเด็กและบนั ทึก พัฒนาการ 10
เดก็ ชว่ งอายุ 1 - 5 ปี สว่ นใหญจ่ ะไมส่ นใจอาหารและ ไม่เจริญอาหารเหมือนวัยทารก เพราะจะมีความสนใจด้านอื่น มาเกย่ี วขอ้ ง เชน่ การส�ำ รวจสง่ิ แวดลอ้ มและสนใจการเลน่ มากกวา่ นอกจากนีเ้ ด็กยงั เร่มิ เลอื กรบั ประทานอาหารในสิ่งที่ตนเองชอบ ดังนั้นผู้ปกครองควรสร้างสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร อยา่ งจรงิ จงั ในระยะน้ี ซ่งึ เป็นช่วงเวลาท่อี าหารมีความส�ำ คญั ต่อ การเจริญเติบโตและพัฒนาสมอง การให้อาหารเด็กอย่างไม่ เหมาะสมหรอื ไมค่ รบทง้ั 5 หมู่ จะทาํ ใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตหยดุ ชะงกั มีระดับสติปัญญาไม่ดีเท่าที่ควร และเจ็บปว่ ยบอ่ ย เดก็ ควรได้ รบั ประทานอาหารหลกั ครบทง้ั 5 หมใู่ นแตล่ ะหมคู่ วรรบั ประทาน ใหห้ ลากหลายชนดิ วนั ละ 3 มอ้ื และดม่ื นมเปน็ อาหารเสรมิ เพอ่ื ให้ เด็กได้รับปริมาณสารอาหารท่ีมีประโยชน์และนำ�ไปใช้ในการ เจริญเตบิ โตได้อยา่ งเตม็ ที่ แนวทางปฏบิ ัติในการให้อาหารเดก็ 1. ให้อาหารท่มี ีปริมาณและคณุ ค่าพอเพยี งกบั ความต้องการของเด็ก 2. ฝึกให้เด็กรบั ประทานอาหารแปลกใหมจ่ ากทเ่ี ดก็ เคยรบั ประทานมาก่อน เช่น ผกั มะเขอื เทศ ไม่ควรบงั คบั เดก็ ถ้าเดก็ ไมย่ อม รบั ประทาน เพราะจะทําให้เด็กไม่ชอบอาหารชนิดนัน้ แตใ่ ชว้ ิธีดดั แปลงวิธีการปรงุ และรสชาตใิ ห้เดก็ จนเดก็ ยอมรบั 3. ควรทาํ อาหารที่มีลกั ษณะสสี ัน นา่ รับประทาน 4. อาหารต้องรสชาตไิ มจ่ ัด ไม่เค็ม ไม่หวาน ไมเ่ ปรี้ยว 5. อาหารควรมีขนาดเล็ก อ่อนนุ่ม เค้ยี วงา่ ย 6. แบ่งมื้ออาหารเป็นหลายมือ้ ให้เด็กไดร้ ับเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ 7. สร้างบรรยากาศการรับประทานอาหารท่ดี ี ไมเ่ ครยี ดไมด่ ุบ่นว่า ไม่ทะเลาะเบาะแวง้ ระหวา่ งรับประทานอาหาร 8. ไม่น�ำ อาหารท่ปี รุงสุกๆ ดบิ ๆ หรืออาหารเหลือค้างมาใหเ้ ดก็ รบั ประทาน 11
2. การดูแลสุขภาพปากและฟัน แนวทางปฏิบัติ ในการดูแลสุขภาพปากและฟนั การดแู ลฟนั เดก็ ควรเรม่ิ ตง้ั แตแ่ รกเรม่ิ ไมจ่ าํ เปน็ ตอ้ งรอ จนกระท่ังฟนั นํ้านมซแี่ รกขน้ึ ผูป้ กครองมหี นา้ ท่ใี นการเอาใจใส่ 1. ใชผ้ ้าชุบนํา้ สะอาดเช็ดฟัน และกระพุง้ แก้มให้เด็ก ดูแลสุขภาพปากและฟัน ท้ังในดา้ นการรักษาความสะอาดและ อยา่ งน้อยวนั ละ 2 คร้งั ตอนเช้า และก่อนนอน การสอนให้เด็กเลือกรับประทานอาหารท่ีไม่ก่อให้เกิดสาเหตุ 2. แปรงฟนั ให้เด็ก ด้วยแปรงสฟี นั ขนออ่ นน่มุ ของฟันผไุ ดง้ า่ ย เม่อื ฟนั ขน้ึ หลายซี่ ดังนั้นควรพาเด็กไปพบทันตแพทย์ครั้งแรกเม่ือฟัน 3. สอนเดก็ แปรงด้วยตนเอง และผูป้ กครองแปรงซ้ํา ซแ่ี รกเริ่มขน้ึ อายปุ ระมาณ 6 เดอื น ผปู้ กครองจะไดร้ บั คาํ แนะนำ� จนกวา่ เดก็ อายปุ ระมาณ 6 - 7 ขวบเนอ่ื งจากเดก็ เลก็ ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กตั้งแต่แรกเริ่ม ทั้งทางด้าน ยงั ไมส่ ามารถใชก้ ลา้ มเนอ้ื มอื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การทําความสะอาดช่องปากหลังรับประทานอาหารหรือนม 4. ควรใหเ้ ดก็ ด่มื นมแม่ แต่ถา้ เด็กกนิ นมผง นมผง การพบทนั ตแพทยอ์ ยา่ งสมา่ํ เสมอ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มสี ขุ ภาพชอ่ งปาก ไม่ควรมีลักษณะหวาน ถา้ จะใหเ้ ดก็ รับประทาน ทดี่ ีมรี อยยม้ิ สดใส อาหารเสริมที่มีลักษณะเหนยี วขน้ ควรแปรงฟนั ให้เด็กหลังรบั ประทานอาหารเสรมิ 5. งดการดูดนมขวดและหลับไปพรอ้ มกบั ขวดนม 6. เลือกอาหารว่างทีม่ ปี ระโยชน์ เช่น ผลไม้ ถ่ัวตม้ หรอื เนอื้ สตั ว์อบแห้งแทนขนมหวาน 7. หมัน่ ตรวจและสังเกตฟนั เดก็ โดยเปิดรมิ ฝปี ากเด็ก ดูฟัน ถา้ พบคราบสกปรกให้เช็ดหรอื แปรงออกและ หากฟนั สขี นุ่ ขาวหรอื เปลย่ี นเป็นสีดำ�หรอื มีรูผุ ควรพาเด็กไปพบทนั ตแพทย์ 8. ควรพบทันตแพทย์ทกุ 6 เดอื น เพอ่ื ตรวจสุขภาพ ช่องปาก รับคําแนะนำ� 12
3. การได้รับวัคซีน การฉีดวัคซีนเด็กน้ันจะช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยของคุณให้มีสุขภาพท่ีดีและไม่มีการติดเช้ือโรคได้ง่ายพ่อแม่หรือ ผปู้ กครองควรพาบตุ รหลานไปรบั วคั ซนี ตามก�ำ หนดทกุ ครง้ั ตามสมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ เพอ่ื เปน็ ประโยชนใ์ นการตดิ ตามการรบั วคั ซนี อยา่ งครบถว้ นตามก�ำ หนด คําแนะนําเกี่ยวกับการได้รับวัคซีน 1. วคั ซีนบางชนดิ จาํ เป็นตอ้ งไดร้ บั มากกว่า 1 ครัง้ เพอื่ กระตุ้นใหร้ า่ งกายสร้าง ภูมติ ้านทานไดส้ งู เพยี งพอในระดบั ทีส่ ามารถปอ้ งกนั โรคได้ ดงั น้นั ผปู้ กครองจงึ ควรพาบุตรหลานไปรบั วคั ซนี ตามก�ำ หนดนดั ทุกครั้ง 2. เด็กที่เจบ็ ป่วยเล็กนอ้ ย เชน่ หวัด ไอ หรือไข้ตํ่าสามารถรับวัคซีนได้ 3. หลังได้รบั วัคซนี บางชนิด เด็กอาจตวั รอ้ น เป็นไข้ซ่งึ จะหายได้ ในเวลาอนั ส้ัน ใหเ้ ช็ดตวั ดม่ื น้าํ มากๆ และใหย้ าลดไขต้ าม คาํ แนะนำ�ของแพทย์ หรอื เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข 4. ถ้าเดก็ เคยมีประวตั ิแพ้ยา หรอื เคยมี อาการรุนแรงหลังได้รบั วัคซนี เชน่ ชัก ไข้สงู มาก โปรดแจง้ แพทย์ หรอื เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข กอ่ น รบั วัคซีนดว้ ย 5. แผลท่ีเกิดจากการรับวคั ซนี ป้องกัน วัณโรค อาจเป็นฝีขนาดเลก็ อยไู่ ด้นาน 3 - 4 สัปดาห์ ไมจ่ ําเป็นตอ้ งใสย่ าหรอื ปิดแผล เพยี งใชส้ �ำ ลี สะอาดชบุ น้ําต้มสุกท่เี ยน็ แล้วเชด็ รอบๆ แผล วคั ซีนบางชนิดจาํ เป็นตอ้ งให้จนครบชุดจงึ จะมีผลต่อการสร้างภูมคิ ้มุ กนั โรค ผปู้ กครองควรใหค้ วามส�ำ คญั และควรพาเดก็ ไปตามนัดทกุ ครงั้ ถา้ หากไม่สามารถไปตามนดั ไดค้ วรพาเด็กไปรับวคั ซนี ในภายหลงั จนครบ 13
4. การเล่น การออกกําลังกาย และพักผ่อน การเล่นของเด็ก เป็นวิธีการเรียนรู้อย่างหนึ่งโดย ธรรมชาติการเล่นของเด็กท่ีแท้จริงต้องเปิดโอกาสให้เด็กเล่น อย่างอิสระทั้งทางกาย ทางความคิด และทางสังคมเด็กจะมี ความสุขเมื่อได้เล่น โดยธรรมชาติแล้วเด็กต้องการเล่นอยู่ ตลอดเวลา ซึ่งเป็นสิ่งที่นำ�ไปสู่การเรียนรู้ตามธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมช่วยส่งเสริมพัฒนาการตามวัยทําให้เด็กเป็นคน ช่างสังเกต รู้จักคิดเชื่อมโยงเหตุผลการเลน่ ชว่ ยใหเ้ ด็กพัฒนา ไปสู่วิธีการดำ�เนินชีวิตเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ นำ�ไปสู่การรู้จัก รบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง เรียนรู้ระเบียบวินัย รู้จักควบคุมอารมณ์ ถ่ายทอดจินตนาการ เดก็ เรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ โดยการเลน่ ผา่ นทางประสาทสมั ผสั การเล่นของเล่น ไดส้ งั เกตเหน็ ความแตกต่างและควาคล้ายคลึง ของสิ่งต่างๆ ที่เล่น ได้เรียนรู้ รูปร่าง ขนาดความหยาบ ความ ละเอียดของวตั ถุของเลน่ น้ัน ผปู้ กครองควรจดั เวลา และสถานทใ่ี หเ้ หมาะสมเพอ่ื ให้ เดก็ ไดม้ กี ารออกก�ำ ลงั กายเคลอ่ื นไหว เชน่ การคบื คลาน การเกาะ เดนิ หรอื การวง่ิ ในทโ่ี ลง่ กวา้ ง บรรยากาศถา่ ยเท และคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภยั เพราะการเล่น การออกกำ�ลงั กายมคี วามสำ�คัญ ในการสง่ เสริมให้เดก็ แต่ละวยั เกดิ การเรยี นรู้ มคี วามสนกุ สนาน ไดส้ �ำ รวจค้นพบสิ่งใหมๆ่ ได้แสดงออกเลียนแบบท่าทางตา่ งๆ ผปู้ กครองควรใหจ้ ดั กจิ กรรมทน่ี า่ สนใจ ใหเ้ ดก็ ๆ สามารถเลน่ และ ออกกำ�ลังกายไปด้วยในขณะเดียวกัน หากเห็นว่าเด็กร่าเริง แจ่มใสสนกุ เพลิดเพลนิ แสดงวา่ การเลน่ และออกกำ�ลงั กาย ของเดก็ อยู่ในระดบั พอดี ซ่ึงจะเกิดผลดี ทําให้เด็กคล่องแคล่ว กระฉับกระเฉง กล้ามเนอื้ แขง็ แรง ฝึกความคิดสร้างสรรค์ และ 14
เรียนรู้การแก้ไขปัญหาได้ดี ทั้งนี้ควรให้เด็กอยู่ในสายตาของ ผู้ใหญ่ และระมัดระวังการเล่นที่ก่อให้เกิดอันตราย หรือการ เลยี นแบบท่ีอาจทาํ ใหเ้ ดก็ ใชค้ วามรนุ แรง เช่น การเลน่ โลดโผน รุนแรงการเลียนแบบทไ่ี มด่ ี เชน่ เลน่ อาวธุ หรอื สถานทท่ี ไ่ี ม่ ปลอดภยั เชน่ ทส่ี งู ถนน ใกลน้ ้าํ เปน็ ต้น หลังจากการเล่นและออกกำ�ลังกายแล้ว ควรมีเวลา พกั ผอ่ นอยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอซง่ึ การนอนหลบั เปน็ ชว่ งเวลา ที่ร่างกายได้ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอเพราะในเวลาท่ีเด็กๆ นอนหลับสนิทต่อมใต้สมองจะหล่ังฮอร์โมนชื่อโกรทฮอร์โมน ออกมา ช่วยใหร้ ่างกายเจริญเติบโตสูงขึ้น นอกจากนี้การนอน ไม่พอยังส่งผลถึงการรับรู้ ความเขา้ ใจ การเรียนรสู้ ง่ิ ใหม่ การแก้ ปญั หาและความจําลดน้อยลง ข้อเสนอแนะในการเลือกของเล่น 1. เลอื กของเลน่ ท่ีปลอดภยั คงทน ไม่มีมุมหรือเหลยี่ มคม ใชส้ ีที่ไม่เป็นพิษ มีความแข็งแรงคงทน ทําความสะอาดได้ง่าย มีน้ําหนกั ที่เหมาะสมกบั เดก็ 2. เหมาะสมกบั วัย สีสันสดใส มีประโยชนร์ อบดา้ น และเดก็ สามารถเรียนร้ไู ด้หลากหลาย 3. หลีกเลี่ยงของเลน่ ทีม่ ขี นาดเล็กใหก้ บั เด็กทอี่ ายตุ าํ่ กวา่ 3 ขวบ เนือ่ งจากเป็นวัยทช่ี อบหยบิ ของเลน่ เข้าปาก 4. หลีกเลีย่ งของเลน่ ทส่ี ง่ เสรมิ ความก้าวรา้ วรุนแรง เชน่ ของเล่นท่เี ปน็ อาวธุ 5. มมี าตรฐานความปลอดภยั โดยได้รบั ความปลอดภัยจากสถาบนั ทีไ่ ดม้ าตรฐาน เช่น มอก. 6. ของเล่นไม่จาํ เป็นตอ้ งเลือกซอ้ื ของเล่นทร่ี าคาแพง ของเลน่ ท่ีพ่อแมท่ ําเองจากวสั ดทุ ีม่ ีในบา้ น หรอื การพดู คุยหยอกลอ้ การเลา่ นิทาน รอ้ งเพลง การทายปญั หา จะเป็นการเล่นที่สง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ไดอ้ ยา่ งดแี ละมีคณุ ค่ามากสำ�หรับลูก 15
5. การสร้างความผูกพัน ภูมคิ ุ้มกันทางจิตใจ ระยะตง้ั แตอ่ ยใู่ นครรภ์ ถงึ อายุ 5 ปี เปน็ ชว่ งเวลาส�ำ คญั ทส่ี ดุ ของการสรา้ งรากฐาน ชวี ติ จติ ใจของมนษุ ย์ นอกจากรา่ งกาย และสมองจะเจริญเติบโตสูงสุด ในชว่ งนี้ เด็กยังมีความรูส้ กึ รบั รู้สมั ผัสท้ังรูป รส กล่ิน เสยี ง กายสมั ผสั และยงั เลียนแบบอย่าง ตงั้ แต่แรกเกิด เดก็ เล็กๆ เรียนรจู้ ากประสบการณ์ การเลย้ี งดู และภาวะแวดลอ้ มได้เร็ว และฝงั ลกึ ในจติ ใจ การสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพอ่ แมห่ รอื ผปู้ กครอง กอ่ ใหเ้ กดิ จดุ เรม่ิ ตน้ ของความผกู พนั ซง่ึ ผปู้ กครองสามารถสรา้ งความรกั ความผกู พนั ผา่ นทางการใหอ้ าหาร การสมั ผสั โอบกอด การสอ่ื สารพดู คยุ การมองและการพดู คยุ เลา่ นทิ าน เลน่ หรอื ทาํ กจิ กรรมรว่ มกนั ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะช่วยสร้างสายสัมพันธ์ให้แก่เด็ก ทําให้เด็กเกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ และพัฒนาทกั ษะทางสงั คม หากการเลย้ี งดเู ดก็ วยั น้ี ผปู้ กครองใหค้ วามรกั เอาใจใส่ ใกลช้ ดิ อบรมเลย้ี งดู โดยเขา้ ใจดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ ใหม้ คี วามสมดลุ กนั ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคมแล้ว เด็กก็จะเติบโตอย่างแข็งแรงใฝ่รู้และใฝด่ ี พรอ้ มทจ่ี ะพฒั นาตนเองเพอ่ื เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ด่ี ใี นอนาคต ใหเ้ ปน็ คนเกง่ คนดี อยอู่ ยา่ งมคี วามสขุ และไมล่ มื ทจ่ี ะเผ่ือแผ่ความชว่ ยเหลือใหก้ บั ผอู้ ื่นในสงั คมดว้ ย ผู้ปกครองควรสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ซึ่งจําเป็นต้องให้เวลาและเอาใจใส่อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อสร้างความผูกพัน ระหวา่ งกนั ความมน่ั คงทางใจ ซง่ึ เปน็ ภมู ิคมุ้ กนั ทางจติ ใจจะมีความสำ�คัญตอ่ ชีวติ ของเด็กมาก 16
แนวทางปฏิบัตกิ ารสร้างความผูกพัน ภูมคิ ุ้มกันทางจติ ใจ วิธีการ ถ้าได้รับการปลูกฝัง ถ้าไม่ได้รับการปลูกฝัง รักและเอาใจใส่เด็ก เด็กจะเติบโตเป็นคนที่มี เด็กจะไม่เกิดความผูกพันและไม่ไว้วางใจ สายผูกพัน มนุษยสัมพันธ์ที่ดี จิตใจมั่นคงเชื่อมั่น ผอู้ น่ื ขาดความอบอนุ่ ขาดความมน่ั คงทางใจ ในตัวเอง มีอารมณ์สุขุม หนักแน่น และมีแนวโน้มที่จะมีอารมณ์หวั่นไหวง่าย ให้เดก็ มีโอกาส เดก็ จะรจู้ กั คดิ ร้จู กั ทาํ มีความรับผิดชอบ เดก็ จะกลายเปน็ คนทาํ อะไรไม่เป็น ชว่ ยเหลือตนเอง และรู้จักพ่ึงพาตนเอง แก้ปญั หาด้วยตัวเองไม่ได้ ความรบั ผิดชอบ ไม่ดี เปน็ ภาระของพอ่ แม่ ให้เดก็ รจู้ กั รอคอย อดทน เดก็ จะมคี วามสามารถในการควบคุม เด็กมักจะเตบิ โตเปน็ คนเอาแตใ่ จตัวเอง และอดกลั้น อารมณต์ นเองได้ดี มคี วามยับย้งั ชัง่ ใจ อารมณเ์ สียงา่ ย เครยี ดง่าย ทกุ ขง์ า่ ย ตอ่ สง่ิ ลอ่ ใจหรอื สง่ิ ทม่ี ายว่ั ยไุ ด้ ตดั สนิ ใจ ทําใจไม่ได้ ระงบั อารมณไ์ ม่ไดเ้ มอ่ื ผดิ หวัง ไดว้ า่ สง่ิ ใดควรกระทาํ สง่ิ ใดไมค่ วรกระทาํ เสียหน้าหรอื ไม่ได้อะไรดงั ใจ และเคารพในกฎเกณฑข์ องสงั คม ใหเ้ ดก็ รูจ้ กั ปรบั ตวั เผชิญ เด็กจะมคี วามม่งุ ม่ันไปสคู่ วามสำ�เรจ็ เดก็ จะกลายเปน็ คนขาดความพยายาม และแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง ร้จู ักพลกิ แพลงแกไ้ ขปัญหา ไม่อดทน ขาดความกระตือรอื ร้น ให้เด็กมโี อกาสได้เล่น ทอ้ ถอยง่ายเม่ือเผชญิ ปญั หา อย่างสรา้ งสรรค์และเป็นประโยชน์ เดก็ จะเรยี นรู้การอยรู่ ว่ มกบั คนอ่ืน เมือ่ โตขึน้ มักจะเข้าสังคมยาก ไม่ร้จู กั กติกา ฝึกยอมรบั และแกไ้ ขความผิดพลาด ของสงั คม ไมร่ แู้ พ้ รชู้ นะ ร้อู ภยั ขาดความ รูจ้ กั มอี ารมณข์ ันและสนุก เบกิ บาน ไดเ้ รียนรู้การเปน็ ผูน้ ำ�ผตู้ าม และ กระฉบั กระเฉงในการทํางานและ การรว่ มงานกับผ้อู ่นื ซง่ึ จะนำ�ไป การเรียนรชู้ ีวิต ใช้ในชีวิตจริง ใหเ้ ด็กรู้จักให้ เด็กจะเป็นทช่ี ื่นชอบของคนอนื่ ๆ ท่ัวไป เดก็ จะเปน็ คนทีน่ ึกถึงแต่ตัวเองเป็นใหญ่ รจู้ ักชว่ ยเหลอื และสามารถประสานความรว่ มมือกบั ใจคอคบั แคบขาดความเห็นอกเห็นใจผอู้ ืน่ และเขา้ ใจผอู้ ืน่ ผ้อู ่นื ไดอ้ ย่างราบร่ืน และเข้ากับคนอ่ืนไดย้ าก 17
หลักการส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ผู้ปกครองสามารถติดตามสังเกตพฤติกรรมพัฒนา- การเด็กในด้านต่างๆ ได้แก่ ความสามารถดา้ นการเคลอ่ื นไหว ด้านการใช้กล้ามเน้อื มัดเล็กและสติปัญญาด้านการเข้าใจภาษา ดา้ นการใชภ้ าษา และดา้ นการชว่ ยเหลอื ตวั เองและสงั คม ของเดก็ วยั ตา่ งๆ เพอ่ื จะไดท้ ราบถงึ พฒั นาการแตล่ ะวยั และหาวธิ สี ง่ เสรมิ พฒั นาการใหเ้ ด็กแตล่ ะดา้ น การจดั สภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เปน็ สง่ิ จาํ เปน็ ในการฝกึ หรอื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ทบ่ี า้ น เดก็ จะ เรยี นร ู้ และทาํ สง่ิ ตา่ งๆ ตามความสามารถในแตล่ ะชว่ งวยั พรอ้ มท่ี จะพฒั นาขึน้ ตอ่ ๆ ไป 6. การระวังอุบัติเหตุและสารพษิ แนวทางปฏบิ ัติการส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ การทส่ี มองเดก็ ไดร้ บั ความกระทบกระเทอื นแรงๆ หรอื 1. จัดสิ่งแวดลอ้ มทบี่ า้ นใหเ้ หมาะสม เหมาะส�ำ หรบั ได้รับการกระแทกบ่อยๆ จากอุบัติเหตุ จากการเล่นหรือจาก การสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กในแต่ละชว่ งวัย การถูกจับเขย่า จะมีผลต่อสมอง อาจทําให้สมองช้ากระทบ 2. ส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างตอ่ เนอื่ งทุกวัน ต่อความจําและทักษะการเคลื่อนไหวซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั สว่ นของสมอง อย่างนอ้ ยวันละ 1 ครง้ั โดยฝึกเดก็ ผา่ นการปฏบิ ัติ ท่ไี ด้รับการกระทบกระแทกเนื่องจากเนื้อสมองท่ีละเอียดและ กจิ วัตรประจําวนั หรอื ฝึกผ่านการเล่นกับเดก็ ซบั ซอ้ นเป็นส่วนท่เี ปราะบางเป็นพิเศษ 3. ขณะฝึกเด็ก ผู้ปกครองควรใช้คาํ พดู งา่ ย สน้ั ชดั เจน และคงท่ี 4. ให้เวลาเดก็ ปฏิบัตติ าม 3-5 วินาที ถา้ เด็กยงั ไม่ได้ทํา ในเร่ืองของสารพษิ สมองเด็กจะมีความเส่ยี งต่อสาร ใหผ้ ูป้ กครองพดู ซ้าํ (ขอ้ ความเดมิ ) พรอ้ มใหก้ าร พิษที่ละลายในนํ้า เช่น สารปรอท สารตะกั่ว เพราะร่างกาย ชว่ ยเหลอื เด็กทําจนเสร็จ ของเดก็ ยงั พฒั นาแผน่ กรองพเิ ศษทจ่ี ะปอ้ งกนั สมองจากสง่ิ เหลา่ น้ี 5. ผู้ปกครองควรใหค้ วามช่วยเหลอื เด็กเท่าทจ่ี าํ เปน็ ไม่สมบูรณ์ จงึ เปน็ อันตรายเพราะมีผลทาํ ให้สมองถูกทาํ ลายได้ ลดการชว่ ยเหลือลงเมอื่ เดก็ ทําได้ การช่วยเหลอื ถา้ สมองถกู ทาํ ลายประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรจู้ ะลดลงตามไปดว้ ย ผ้ปู กครองอาจทําได้ดงั น้ี 18
5.1 ทางกาย: จับมอื ทาํ เมือ่ เดก็ ทาํ ได้ ลดการชว่ ยเหลอื ลง หากถงึ อายทุ ค่ี วรทาํ ไดแ้ ตเ่ ดก็ ยงั ทาํ ไมไ่ ด้ ผปู้ กครองควรให้ โดยให้แตะขอ้ ศอกของเด็กและกระตุ้นให้ โดยใช้ โอกาส โดยฝกึ ใหก้ อ่ น แตถ่ า้ เดก็ ไมม่ คี วามกา้ วหนา้ ใน 1 เดือน คาํ พูดใหเ้ ด็กทาํ ควรปรึกษาแพทย์ หรอื เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ ซึง่ ผปู้ กครองควร 5.2 ทางวาจา: บอกใหเ้ ด็กทราบในส่งิ ทีผ่ ู้ปกครอง บันทึกความสามารถของเด็กตามลำ�ดับพัฒนาการของเด็ก ต้องการใหเ้ ด็กทาํ แต่ละชว่ งวัยได้ดังนี้ 5.3 ทางทา่ ทาง: ผู้ปกครองชี้ใหเ้ ด็กทํา ผงกศรี ษะเมือ่ เด็กทาํ ถกู ต้อง ส่ายหน้าเมื่อเดก็ ทาํ ไม่ถูก 6. ถ้าเดก็ เกิดการเรยี นรู้แลว้ ให้เปล่ียนข้อความ แบบต่างๆ แตม่ คี วามหมายเหมอื นกัน เพอ่ื ให้เดก็ เรยี นร้สู ิ่งแตกต่างกัน เชน่ ใชค้ ําพดู ว่า “ไม่ใช”่ แทนคําว่า “ไมถ่ ูกต้อง” เป็นตน้ 7. ผปู้ กครองควรให้แรงเสริมเดก็ ทันทีเมอื่ เด็กทาํ ได้ ถูกต้อง ไมว่ ่าจะเป็นการชว่ ยเหลอื ให้ทําไดห้ รอื เด็ก ทําได้เอง เชน่ ยมิ้ ชมเชย ปรบมือ สัมผสั ให้ขนม แต่ควรคาํ นงึ ถงึ ส่ิงตอ่ ไปนี้ 7.1 ให้แรงเสรมิ เหมาะสมกบั วยั ช่วงนน้ั ๆ ควรเป็นสงิ่ ทเ่ี ดก็ ชอบ เนอ่ื งจากเดก็ แตล่ ะคนชอบไมเ่ หมอื นกนั 7.2 ควรใหแ้ รงเสรมิ บ่อยๆ เมอ่ื ตอ้ งการให้เกิดทกั ษะ หรอื พฤตกิ รรมใหมเ่ กิดขน้ึ 7.3 ควรลดแรงเสรมิ ลงเมอ่ื เด็กทําไดแ้ ลว้ 7.4 ควรขัดขวางไมใ่ หเ้ กิดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ หรอื ปอ้ งกนั เดก็ ไมใ่ หท้ าํ สง่ิ ทผ่ี ดิ หรอื สง่ิ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง เชน่ เด็กใช้มือปัดสิง่ ของ เปน็ ส่ิงทีเ่ ดก็ ทําไมถ่ กู ตอ้ ง ผู้ปกครองบอกเดก็ ไม่ควรทําและใหเ้ ด็กเกบ็ ของ หลงั จากนนั้ เบยี่ งเบนความสนใจ เพกิ เฉยกับ พฤติกรรมท่ีเด็กทาํ ไม่ถูก เปน็ ต้น 19
ตารางพัฒนาการเดก็ แรกเกดิ - 5 ปี
ตารางพัฒนาการเดก็ แรกเกดิ - 5 ปี
ตารางพัฒนาการเดก็ แรกเกดิ - 5 ปี
การส่งเตสรามิ มพัฒวนัยาการเดก็ ผู้ปกครองควรสง่ เสริมพัฒนาการเด็ก ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการเคลอ่ื นไหว ด้านการใชก้ ล้ามเนอ้ื มดั เล็กและสติปญั ญา ด้านการเข้าใจภาษา ด้านการใช้ภาษา และ ด้านการช่วยเหลอื ตัวเองและสังคม ของเดก็ ตามช่วงวัยตา่ งๆ ดังน้ี 23
อายุ 1 เดือน ด้านการเคลื่อนไหว ทักษะ : ท่านอนควาํ่ เด็กสามารถยกศรี ษะ และหนั ศรี ษะไปข้างใดข้างหนง่ึ ได้ อุปกรณ์ : กรุง๋ กริง๋ วธิ ีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. จัดให้เด็กอย่ใู นทา่ นอนควํ่า ผปู้ กครองเขยา่ ของเล่นทม่ี เี สียงตรงหนา้ เดก็ ระยะห่างประมาณ 30 ซม. (1 ไมบ้ รรทดั ) เมือ่ เด็กมองท่ีของเล่นแล้วคอ่ ยๆ เคลือ่ นของเลน่ มาทางด้านซ้าย เพอื่ ให้เด็กหนั ศรี ษะมองตาม 2. คอ่ ยๆ เคลอื่ นของเลน่ กลบั มาอยู่ทีเ่ ดิม 3. ทําซาํ้ อกี คร้ังโดยเปลย่ี นใหเ้ คลื่อนของเลน่ มาทางดา้ นขวา 24
อายุ 1 เดือน ด้านการเข้าใจภาษา ทักษะ : เด็กมีการสะดงุ้ หรอื เคลอ่ื นไหว ร่างกายเมือ่ ได้ยินเสียงพดู ระดับปกติ วธิ ีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. จัดเด็กอยใู่ นทา่ นอนหงาย ผูป้ กครองเรียกช่ือหรอื พูดคยุ กับเดก็ จากด้านขา้ งทัง้ ขา้ งซา้ ยและขวา โดยพดู เสียงดังปกติ 2. หากเด็กสะดุ้งหรอื ขยับตวั เม่ือผ้ปู กครองพูดคยุ เสียงดงั ปกติ ให้ผู้ปกครองยิ้มและสมั ผัสตัวเด็ก 3. ถา้ เด็กไมม่ ปี ฏิกิริยาใดๆ ใหพ้ ดู เสียงดงั เพิม่ ข้นึ โดยจดั ท่าเด็กเชน่ เดียวกบั ข้อ 1 หากเดก็ สะด้งุ หรือขยับตวั ใหล้ ดเสียงลงอยใู่ นระดับดงั ปกติ พรอ้ มกบั สัมผสั ตัวเดก็ 25
อายุ 1 เดือน ด้านการช่วยเหลือตัวเองและสังคม ทกั ษะ : เด็กสามารถมองจอ้ งหน้า ได้นาน 1-2 วินาที วิธีส่งเสริมพัฒนาการ 1. จดั เด็กอยู่ในท่านอนหงาย หรอื อมุ้ เด็กให้หน้า ผปู้ กครองหา่ งจากเด็กประมาณ 30 ซม. (1 ไม้บรรทดั ) 2. สบตาและทําตาลกั ษณะต่างๆ เชน่ ตาโต กระพริบตา เพ่อื ใหเ้ ด็กสนใจ 3. พดู คยุ ยม้ิ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มองทป่ี ากแทนสลบั กนั ไป หมายเหตุ อาจทําขณะอาบน้าํ หรือแตง่ ตวั เดก็ หรืออมุ้ เดก็ ใหเ้ ดก็ หนั หนา้ มาทางผปู้ กครอง แลว้ ทาํ หน้าตาหรือส่งเสียง ให้เด็กสนใจ เมื่อเด็กมองตาให้ พูดคุยและยิม้ ด้วย 26
อายุ 2 เดือน ด้านการเคลือ่ นไหว ทกั ษะ : ทา่ นอนควํ่าเด็กสามารถ ยกศีรษะต้งั ขน้ึ ได้ 45 องศา นาน 3 วินาที อุปกรณ์ : กรงุ๋ กริ๋ง วธิ ีส่งเสริมพัฒนาการ 1. จัดเดก็ อยใู่ นท่านอนควาํ่ ขอ้ ศอกงอ 2. หยิบของเล่นมาเขย่าตรงหนา้ เดก็ เมื่อเด็กมองท่ีของเลน่ แล้วกค็ ่อยๆ เคล่อื นของเลน่ ขน้ึ ด้านบนเพ่อื ใหเ้ ดก็ เงยหนา้ จนศีรษะยกขึน้ นับ 1, 2 3. คอ่ ยๆ เคลื่อนของเลน่ ลงมาอยู่ตรงหนา้ เด็กเหมอื นเดิม 4. ทําซ้าํ อกี ครัง้ โดยเขยา่ ของเล่นตรงหนา้ เด็ก เมือ่ เด็กมองทข่ี องเล่นแลว้ ก็คอ่ ยๆ เคล่ือน ของเล่นขึน้ ดา้ นบนห่างจากจุดเดิมเพ่อื ให้เดก็ เงยหน้าจนยกศรี ษะขนึ้ นบั 1, 2, 3 5. คอ่ ยๆ เคลือ่ นของเล่นลงมาอยู่ตรงหนา้ เดก็ เหมอื นเดิม 27
อายุ 2 เดือน ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเลก็ และสตปิ ัญญา ทักษะ : เด็กสามารถมองตามสิ่งของ จากดา้ นหนง่ึ ไปอกี ด้านหนึ่ง อุปกรณ์ : ลกู บอลผ้าสกั หลาดสแี ดง วิธีส่งเสริมพัฒนาการ 1. จัดให้เดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย 2. ถือของเลน่ สีสดใสไมม่ ีเสียงหา่ งจากหน้าเด็ก 30 ซม. (1 ไมบ้ รรทดั ) และอยู่ในตํำ�แหน่ง เลยจดุ ก่ึงกลางของใบหนา้ เด็กเลก็ น้อย ไปทางซ้าย 3. กระตุ้นใหเ้ ด็กสนใจโดยแกว่งของเล่นให้เด็ก จอ้ งมอง แล้วค่อยๆ เคลอ่ื นของเลน่ นน้ั ใหผ้ ่าน จดุ ก่ึงกลางใบหนา้ เดก็ ไปทางด้านขวาและสลบั มาทางด้านซ้าย หมายเหตุ ถา้ เด็กไม่มองตาม ให้ช่วยเหลอื โดยการ ประคองหน้าเด็กเพื่อให้หันมามอง และอาจใช้ใบหนา้ แม่กระตุ้นโดยการแสดงสีหน้า ยิ้ม ทําปากพดู คยุ แต่ไม่ออกเสียง ใหเ้ ด็กมองตาม 28
อายุ 2 เดือน ด้านการเข้าใจภาษา ทักษะ : เด็กสามารถมองหนา้ ผู้พูดคยุ ไดน้ าน 5 วินาที วิธีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. จดั เด็กในท่านอนหงายหรือ อมุ้ เดก็ ใหห้ นา้ ผ้ปู กครองห่าง จากเด็กประมาณ 60 ซม. (2 ไมบ้ รรทดั ) 2. สบตาและพดู คยุ ใหเ้ ด็กสนใจ เชน่ ทําตาโต ขยับริมฝีปาก ยิม้ หวั เราะ หมายเหตุ สามารถฝกึ ไดใ้ นหลายๆ สถานการณ์ เชน่ ขณะท่อี ุ้มลกู ขณะใหน้ มลกู ขณะอาบนํ้า 29
อายุ 2 เดือน อู........ออื ............ ด้านการใช้ภาษา ทกั ษะ : เดก็ ทําเสยี งในลํำ�คอ (เสยี ง “อ”ู หรอื “ออื ”) อย่างชดั เจน วิธีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. จัดเด็กอยู่ในท่านอนหงาย ผปู้ กครองนั่งขา้ งเด็ก และยืน่ หน้า เขา้ ไปหาเดก็ ในระยะห่างประมาณ 60 ซม. (2 ไม้บรรทดั ) 2. ผูป้ กครองสบตาและพูดคุยใหเ้ ดก็ สนใจ แล้วทําเสียง อู หรอื อือ ในลํำ�คอ ให้เด็กไดย้ ิน หยุดฟังเพือ่ รอจงั หวะ ให้เด็กส่งเสยี งตาม 3. เมอื่ เด็กออกเสียง “อ”ู ได้ ใหผ้ ้ปู กครอง เปลีย่ นไปฝกึ เสยี ง “อือ” และรอให้เดก็ ออกเสยี งตาม 30
อายุ 2 เดือน วธิ ีส่งเสรมิ พัฒนาการ ด้านการชว่ ยเหลือตัวเองและสังคม 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย ผปู้ กครองนง่ั ขา้ งเดก็ และยื่นหนา้ เข้าไปหาเด็ก ทกั ษะ : สามารถยิ้มหรือส่งเสยี งตอบได้ 2. สบตาเดก็ และสมั ผสั เบาๆ พร้อมกบั พดู คุยกับ เม่ือผปู้ กครองแตะตอ้ งตวั และ เดก็ เปน็ คาํ พดู สน้ั ๆ ซา้ํ ๆ ชา้ ๆ เชน่ “วา่ ไงจะ๊ .. พูดคุยด้วย (ชอ่ื ลกู )..คนเกง่ ” “ยม้ิ ซ”ิ “เดก็ ด”ี “.. (ชอ่ื ลกู ).. ลกู รกั ” “แมร่ ักลกู นะ” 3. หยุดฟงั เพ่อื รอจงั หวะให้เด็กยิม้ หรือ ส่งเสยี งตอบ หมายเหตุ สามารถฝึกไดใ้ นหลายๆ สถานการณ์ เชน่ ขณะท่อี มุ้ เดก็ โดยใหห้ น้าเด็กอย่รู ะดับเดยี วกับ หนา้ แมข่ ณะอาบนา้ํ หรอื ขณะนวดสมั ผัส วา่ ไงจะ๊ ย...ิ้ม.คสนิจเะ๊ กลง่ กู ข.อ...ง..แ...ม่ 31
อายุ 3-4 เดือน ด้านการเคลือ่ นไหว ทกั ษะ : เด็กสามารถยกแขนท้งั สองข้าง วิธีสง่ เสรมิ พัฒนาการ ข้นึ มาเลน่ โดยเหยยี ดแขนออก ห่างจากลํำ�ตวั 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย ผปู้ กครองนง่ั ขา้ งเดก็ 2. ผ้ปู กครองย่นื หนา้ เขา้ ไปพดู คยุ กับเด็กหรือย่นื อปุ กรณ์ : กรุ๋งกริ๋ง ของเลน่ ในระยะที่เดก็ จะเอื้อมมือไปถงึ หรอื แขวนโมบายใหเ้ ด็กเล่นในระยะท่ีเด็กเอ้อื ม มือถึง 32
อายุ 3-4 เดือน วิธีส่งเสริมพัฒนาการ ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเลก็ และสตปิ ญั ญา 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงายโดยศรี ษะเดก็ อยู่ในแนวกง่ึ กลางลํำ�ตัว ทักษะ : เด็กสามารถมองตามสิ่งของ 2. ผปู้ กครองถือของเลน่ ห่างจากหนา้ เด็ก ที่เคลอ่ื นทไ่ี ด้เป็นมุม 180 องศา ประมาณ 30 ซม. (1 ไมบ้ รรทดั ) อุปกรณ์ : ลูกบอลผา้ สกั หลาดสแี ดง 3. ผ้ปู กครองเขย่าหรือแกว่งของเล่นเพอ่ื กระตนุ้ เด็กใหส้ นใจจ้องมอง จากน้ันเคล่ือนของเลน่ อย่างช้าๆ เป็นแนวโค้งไปทางด้านซา้ ย 4. ทําซา้ํ โดยเปลย่ี นเปน็ เคลือ่ นของเล่นจาก ทางด้านซ้ายไปด้านขวา 5. ถ้าเดก็ ยงั ไม่มองตาม ให้ผปู้ กครองชว่ ย ประคองหน้าเดก็ เพ่ือใหห้ ันหนา้ มามองตาม 33
ทักษะ : เดก็ สามารถหนั ตามเสียงได้ อายุ 3-4 เดือน อุปกรณ์ : กรงุ๋ กรง๋ิ (ชนดิ เสยี งดงั ) ด้านการเข้าใจภาษา วธิ ีสง่ เสรมิ พัฒนาการ 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย หรอื อมุ้ เด็กนงั่ บนตัก โดยหันหนา้ ออกจาก ผูป้ กครอง 2. เขย่าของเลน่ ดา้ นขา้ งเดก็ ห่างจากเด็ก ประมาณ 30 - 45 ซม. (1 ไมบ้ รรทดั คร่ึง) 3. รอให้เดก็ หนั มาทางของเลน่ ทม่ี เี สยี ง ใหผ้ ้ปู กครองพูดคยุ และยิม้ ให้เดก็ 4. ถา้ เด็กไมห่ ันมามองของเลน่ ใหป้ ระคองหน้าเด็กเพ่ือให้หัน ตามเสยี ง 5. ค่อยๆ เพิ่มระยะห่างจนถงึ 60 ซม. (2 ไมบ้ รรทดั ) หมายเหตุ ขณะฝึกอย่าใหม้ เี สยี งอ่ืนรบกวน 34
อายุ 3-4 เดือน ด้านการใช้ภาษา ทกั ษะ : เด็กสามารถเปล่งเสยี ง เพ่ือแสดงความร้สู กึ วธิ ีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย ผปู้ กครองนง่ั ขา้ งเดก็ และยนื่ หนา้ เขา้ ไปหาเด็กในระยะหา่ งประมาณ 60 ซม. (2 ไมบ้ รรทัด) 2. ผู้ปกครองพดู คุย เล่น หวั เราะกบั เด็ก หรอื สมั ผสั จุดตา่ งๆ ของร่างกายเดก็ เช่น ใช้นิ้วมอื สัมผัสเบาๆ ท่ฝี า่ เท้า ทอ้ ง เอว หรือใชจ้ มกู สมั ผัสหนา้ ผาก แกม้ จมกู ปากและท้องเดก็ โดยการสมั ผสั แตล่ ะครง้ั ควรมจี งั หวะหนกั เบา แตกต่างกนั ไป 35
อายุ 3-4 เดือน ด้านการชว่ ยเหลือตัวเองและสังคม ทกั ษะ : เด็กยิม้ ทกั คนท่ีคุ้นเคย วธิ ีสง่ เสรมิ พัฒนาการ 1. ผปู้ กครองยม้ิ และพดู คยุ กบั เดก็ เม่อื ทํากิจกรรมต่างๆ ใหเ้ ดก็ ทุกครั้ง 2. อุ้มเด็กไปหาคนท่ีค้นุ เคย เช่น พอ่ ปู่ ย่า ตา ยาย ผูป้ กครองยิม้ ทกั คนทค่ี ุน้ เคยให้เด็กดู 3 พูดกระตนุ้ ให้เดก็ ทําตาม เชน่ “ยิ้มใหค้ ุณพ่อซิลูก” “ยิม้ ให้..........ซิลกู ” ยิม้ ใหค้ ณุ พอ่ ซิลกู .... 36
อายุ 5-6 เดือน ด้านการเคลือ่ นไหว ทกั ษะ : เดก็ สามารถยันตัวข้ึนจากท่านอนควา่ํ โดยเหยยี ดแขนตรงทั้งสองขา้ งได้ อปุ กรณ์ : กรุ๋งกริง๋ วธิ ีส่งเสริมพัฒนาการ 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นอนควา่ํ 2. ผู้ปกครองถือของเลน่ ไวด้ ้านหนา้ เหนือศีรษะเด็ก 3. เรยี กช่อื เดก็ ใหม้ องดขู องเลน่ แล้วคอ่ ยๆ เคลื่อนของเลน่ ขน้ึ เพ่อื ให้เดก็ สนใจ ยกศรี ษะ และลํำ�ตัวตามจนพ้นพื้น และแขนเหยยี ดตรง มือยันพน้ื ไว้ 37
อายุ 5-6 เดือน ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเลก็ และสตปิ ญั ญา ทักษะ : เดก็ สามารถเอื้อมมอื หยิบ และถือวตั ถุไว้ขณะอยใู่ นทา่ นอนหงาย อุปกรณ์ : กรงุ๋ กริ๋ง วธิ ีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย 2. ผู้ปกครองเขยา่ ของเลน่ ใหห้ า่ งจากตัวเด็ก ประมาณ 20-30 ซม. (1 ไมบ้ รรทดั ) ทจี่ ุดก่งึ กลางลํำ�ตัว 3. ถ้าเด็กไม่เออ้ื มมือออกมาควา้ ของเลน่ ใหใ้ ช้ของเล่นแตะเบาๆ ทหี่ ลังมอื เดก็ และ ขยบั ของเล่นถอยหา่ งในระยะทเี่ ดก็ เอือ้ มถงึ 4. ถ้าเด็กยงั คงไมเ่ อือ้ มมือมาคว้า ให้ผู้ปกครอง ช่วยเหลอื ดว้ ยการจับมอื เด็กให้เอือ้ ม มาหยิบของเล่น 5. อาจแขวนโมบายในระยะทเี่ ด็กเอือ้ มถึง เพ่อื ใหเ้ ดก็ สนใจคว้าหยิบ 38
พส่ตี ีนุ๊กำ้ํ ต�ตาามลผี ม อายุ 5-6 เดือน วิธีสง่ เสริมพัฒนาการ ด้านการเข้าใจภาษา 1. เดก็ นง่ั บนตกั ผปู้ กครอง ทกั ษะ : เด็กสนใจฟังคนพูดและสามารถมอง 2. ผปู้ กครองอกี คนนง่ั ตรงข้ามเดก็ แล้วสบตาและ พูดคุยกับเด็ก เม่ือเดก็ มองสบตา แล้วนํำ� ไปท่ขี องเล่นทีผ่ ้ปู กครองเล่นกับเด็ก ของเล่นมาอยูใ่ นระดับสายตาเด็ก พูดคุย นาน 1 นาที กับเด็กเกี่ยวกับลักษณะของเล่นทน่ี ํำ�มา อุปกรณ์ : ตุก๊ ตาผา้ เลน่ ดว้ ย เชน่ “วนั นแ้ี มม่ พี ต่ี กุ๊ ตามาเลน่ กบั หนู พตี่ ุ๊กตามีผมสีนาํ้ ตาลใสช่ ุดสเี ขยี ว” 3. เม่ือเด็กมองท่ขี องเล่นใหเ้ ด็กแตะหรอื จับของเลน่ เป็นรางวัล 39
วา...วา... อายุ 5-6 เดือน ด้านการใช้ภาษา ทักษะ : เดก็ เลียนแบบ การเล่นทําเสียงได้ วธิ ีส่งเสรมิ พัฒนาการ 1. ผปู้ กครองอยตู่ รงหนา้ เดก็ สบตาและพดู คยุ กบั เด็ก ทําเสียง “จุบ๊ จ๊บุ ” หรือ “วา..วา..” ใหเ้ ด็กดู หลายๆ ครัง้ แล้วรอใหเ้ ดก็ ทําตาม 2. ถ้าเด็กยงั ทําไมไ่ ด้ ผปู้ กครองทําปากออกเสียง จุบ๊ ใหเ้ ดก็ ทําตามหรอื ผ้ปู กครองจับมอื เดก็ มาไว้ท่ปี ากแล้วขยับตปี ากเบาๆ กระตุน้ ให้ ออกเสียง “วา..วา..” 40
อายุ 7-9 เดือน ด้านการเคลื่อนไหว ทกั ษะ : เด็กสามารถเอ้ียวตัวใชม้ ือเลน่ ได้อยา่ งอิสระในทา่ นั่ง อุปกรณ์ : ลกู บอลมีเสยี ง วิธีส่งเสรมิ พัฒนาการ 1. จดั เดก็ อยใู่ นทา่ นง่ั วางของเลน่ ไวท้ พ่ี น้ื ทาง ด้านข้างเยอื้ งไปด้านหลงั ของเดก็ ในระยะ ที่เด็กเอื้อมถึง 2. ผู้ปกครองเรียกช่ือเด็กใหส้ นใจของเล่น เพ่ือจะไดเ้ อี้ยวตัวไปหยิบของเลน่ ทําอีกข้างสลับกนั ไป 3. ถา้ เด็กทําไม่ได้ เลอ่ื นของเลน่ ให้ใกล้ ตัวเด็กอีกเล็กนอ้ ย แล้วผู้ปกครองชว่ ยจับ แขนเด็กให้เอย้ี วตัวไปหยิบของเล่นน้ัน 41
อายุ 7-9 เดือน ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเลก็ และสติปญั ญา ทกั ษะ : เดก็ จอ้ งมองไปทีห่ นงั สือพร้อมกับ ผใู้ หญ่นาน 2-3 วินาที อปุ กรณ์ : หนังสือรูปภาพท่มี ภี าพสขี นาดใหญ่ วิธีส่งเสริมพัฒนาการ 1. ผ้ปู กครองอุ้มเด็กน่ังบนตัก เปดิ หนังสอื อา่ นกบั เดก็ พร้อมกับพูดคุย ชชี้ วนใหเ้ ด็กดู รปู ภาพในหนงั สอื 2. หากเดก็ ยังไม่มองรปู ภาพในหนังสือ ให้ผู้ปกครองประคองหน้าเดก็ ใหม้ องที่ รปู ภาพในหนงั สอื 42
อายุ 7-9 เดือน นอ้ นง้อแงนแนนจนะ๊ ... ด้านการเข้าใจภาษา ทักษะ : เด็กหันตามเสยี งเรยี กช่ือ วิธีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. ผปู้ กครองเรยี กชอ่ื เดก็ ดว้ ยนา้ํ เสยี ง ปกติบ่อยๆ ในระยะห่าง 120 ซม. (4 ไม้บรรทดั ) (ควรเป็นช่ือท่ีใชเ้ รียกเดก็ เป็นประจํา) 2. ถ้าเดก็ ไมห่ ัน เม่ือเรยี กช่ือแลว้ ให้ ผูป้ กครองประคองหน้าเดก็ ให้หนั มา มองผู้ปกครองจนเดก็ สามารถทําได้เอง 43
“ม“าหมมา”ํ่ ำ�ห“มปำํ่ า�”ปา” อายุ 7-9 เดือน วิธีสง่ เสริมพัฒนาการ ด้านการใช้ภาษา ผปู้ กครองเลน่ กบั เดก็ และออกเสยี งใหมๆ่ ทกั ษะ : เด็กสามารถออกเสียงสระผสมกับ ใหเ้ ดก็ เลยี นเสยี งตาม เชน่ พยัญชนะตา่ งๆ กันได้ มามา ปาปา 44 หมำ่ �หมำ่ �
จะ๊ เอ.๋ .. วธิ ีส่งเสริมพัฒนาการ อายุ 7-9 เดือน 1. ขณะเลน่ กบั เดก็ ผปู้ กครองใชผ้ า้ เชด็ หนา้ หรอื ผ้าผนื เลก็ ๆ บังหน้าไว้ ด้านการช่วยเหลือตัวเองและสังคม 2. ผู้ปกครองโผลห่ นา้ ออกมาจากผ้าเชด็ หน้า ดา้ นใดดา้ นหนง่ึ พรอ้ มกับพูดวา่ “จ๊ะเอ”๋ ทักษะ : เด็กเล่นจะ๊ เอไ๋ ด้ 3. หยดุ รอจังหวะเพ่ือให้เด็กหันมามองหรือ อุปกรณ์ : ผ้าขนาด 30 x 30 ซม. ยิม้ เลน่ โตต้ อบ มีรูขนาดคร่ึงซม. อยู่ตรงกลาง 4. ให้ผ้ปู กครองทําซํ้าโดยโผล่หน้าออกมาจาก ผ้าเชด็ หนา้ ด้านเดิมหรอื สลับเป็นอกี ดา้ น พรอ้ มกบั พูดว่า “จะ๊ เอ๋” 5. ผูป้ กครองเอาผา้ คลุมศรี ษะเดก็ และกระตุ้น ให้เดก็ ดงึ ผ้าออก แล้วผู้ปกครองพูด “จ๊ะเอ”๋ 6. ให้ผู้ปกครองฝกึ บอ่ ยๆ จนกระทงั่ เดก็ สามารถ รว่ มเลน่ จะ๊ เอ๋ได้ หมายเหตุ ในการเลน่ “จะ๊ เอ”๋ อาจทาํ ร่วมกบั กิจกรรมอ่นื ๆ เชน่ การร้องเพลง การทําท่าตา่ งๆ การปรบมอื เข้าจังหวะกับเสยี งเพลง และควรเล่น ดว้ ยกันหลายๆ คน โดยเฉพาะคนในครอบครัว 45
อายุ 10-12 เดือน ด้านการเคลือ่ นไหว ทักษะ : เด็กสามารถหยอ่ นตวั ลงน่ังจากท่ายืนโดยใชม้ ือ เกาะเครอื่ งเรอื นช่วยพยงุ อปุ กรณ์ : กรงุ๋ กริง๋ วธิ ีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. จดั ใหเ้ ดก็ อยใู่ นทา่ ยนื เกาะเครอ่ื งเรอื นผปู้ กครองอยดู่ า้ นหลงั เดก็ ระยะห่างพอดที ่จี ะช่วยประคองเม่ือเดก็ จะลม้ 2. หยิบของเล่นข้ึนมาเลน่ ในระดบั สายตาของเด็กเม่ือเดก็ สนใจของเล่น วางของเลน่ ไวท้ พ่ี น้ื 3. พดู คยุ ชักชวนให้เด็กหย่อนตวั ลงมาน่งั เล่นของเลน่ ทีพ่ ้ืนดว้ ยกนั กบั ผปู้ กครอง 4. ถา้ เดก็ ยงั ทรงตวั ไม่ดี ผปู้ กครองชว่ ยพยุงตัวเด็กใหล้ งนง่ั ท่พี ื้น ลดการช่วยเหลอื เด็กลง จนกระทงั่ เดก็ สามารถหย่อนตัวลงนั่งทพี่ นื้ ไดด้ ้วยตวั เอง 46
อายุ 10-12 เดือน ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเลก็ และสติปญั ญา ทกั ษะ : เด็กสามารถจีบนิ้วมือเพอ่ื หยิบขนม หรืออาหารทเี่ ปน็ ชิ้นเล็กๆ อปุ กรณ์ : ขนมหรอื อาหาร ขนาด 1 ซม. และ จาน 1 ใบ วธิ ีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. ผปู้ กครองแบง่ ขนมหรอื อาหารเปน็ ชน้ิ เลก็ ๆ ประมาณ 1 ซม.ไว้ในจาน ผู้ปกครองหยิบ อาหารหรอื ขนมโดยใช้นิว้ หัวแม่มือและ นิว้ ชหี้ ยิบใหเ้ ด็กดู แล้วบอกใหเ้ ด็กทําตาม 2. ถ้าเด็กทําไมไ่ ด้ ชว่ ยเหลอื เด็กโดยจับรวบ นิว้ กลาง นิว้ นาง และนิว้ กอ้ ยเขา้ หาฝา่ มือ เพื่อให้เด็กใช้นิว้ หัวแมม่ ือและนิ้วช้ีหยิบวัตถุ 3. เล่นเกมท่เี ด็กตอ้ งใช้นิว้ หวั แม่มือและนิ้วชี้ แตะกันเป็นจังหวะ หรือเลน่ ร้องเพลงแมงมุม ขยมุ้ หลงั คาประกอบทา่ ทางจบี นิ้ว 47
อายุ 10-12 เดือน แปตบะ..ม..แือป....ะ ด้านการเข้าใจภาษา ทกั ษะ : เด็กสามารถโบกมือหรอื ตบมือตามคําสั่ง วิธีสง่ เสริมพัฒนาการ 1. ผปู้ กครองเลน่ กบั เดก็ โดยใชค้ าํ สง่ั งา่ ยๆ เชน่ โบกมอื ตบมือ พรอ้ มกบั ทําทา่ ทาง ประกอบ 2. ถ้าเดก็ ไม่ทํา ใหจ้ บั มอื ทําและคอ่ ยๆ ลดความช่วยเหลือลงโดยเปล่ียนเป็น จบั ข้อมือ จากน้นั เปลยี่ นเป็นแตะข้อศอก เมอ่ื เริม่ ตบมือเองได้แล้ว ลดการชว่ ยเหลอื ลง เป็นออกคําส่งั อยา่ งเดยี ว หมายเหตุ ผปู้ กครองอาจเปิดเพลงประกอบการเล่น ตบมอื หรอื อาจฝึกร่วมกับการดํำ�เนินชีวิตประจาํ วัน เชน่ โบกมอื ให้พอ่ ทจ่ี ะไปทํางานโบกมือให้พีเ่ มอ่ื พ่ี จะไปโรงเรียนหรอื ปรบมือให้เดก็ ทกุ ครง้ั เม่อื เดก็ ทําได้สํำ�เรจ็ และใหเ้ ด็กปรบมือใหก้ ับตนเองด้วยเพือ่ ให้เด็กเข้าใจคาํ สง่ั ไดเ้ ร็วข้นึ 48
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106