ความหมายของการออกแบบ การออกแบบ หมายถึง การรจู้ ักวางแผนจดั ตงั้ ข้นั ตอน และรู้จกั เลอื กใช้วัสดุวิธีการเพื่อทาตามทต่ี อ้ งการนัน้ โดยใหส้ อดคล้อง กับลักษณะรูปแบบ และคณุ สมบตั ิของวัสดุแตล่ ะชนดิ ตามความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ หมายถงึ การปรบั ปรุงแบบ ผลงานหรือสิง่ ต่าง ๆ ที่มอี ยู่แล้วใหเ้ หมาะสมและดูมีความแปลกใหม่ข้ึน เชน่ โตะ๊ ทเี่ ราทามาใชเ้ ม่อื ใช้ไปนาน ๆ กเ็ กดิ ความเบือ่ หนา่ ยในรูปทรง หรือสี เราก็จัดการปรับปรุงใหเ้ ปน็ รปู แบบใหมใ่ หส้ วยกว่าเดมิ การออกแบบ หมายถงึ การรวบรวมหรอื การจดั องคป์ ระกอบทั้งท่ีเปน็ 2 มิติ และ 3 มิติ เขา้ ดว้ ยกันอยา่ งมีหลักเกณฑ์ การนาองค์ประกอบของการออกแบบมาจดั รวมกันนัน้ ผอู้ อกแบบจะตอ้ งคานงึ ถึงประโยชนใ์ นการใช้สอยและความสวยงาม การออกแบบ หมายถงึ กระบวนการทสี่ นองความต้องการในสง่ิ ใหม่ๆ ของมนษุ ย์ ซง่ึ ส่วนใหญ่ เพ่ือการดารงชวี ติ ใหอ้ ยู่รอด และสรา้ งความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
การออกแบบ (DESIGN) แบ่งออกเป็ น 3 ข้อหลักๆได้ดังน้ี 1. ความสวยงาม เปน็ ส่งิ แรกที่เราได้สัมผัสกอ่ น คนเราแต่ละคนต่างมคี วามรบั รเู้ รื่องความสวยงามกับความพอใจใน ทง้ั 2 เรือ่ งนีไ้ มเ่ ทา่ กนั จึงเป็นสงิ่ ทถี่ กเถยี งกนั อยา่ งมากและไมม่ เี กณฑใ์ นการตัดสนิ ใด ๆ เป็นตวั ทก่ี าหนดอย่างชัดเจน 2. มีประโยชนใ์ ช้สอยที่ดี เปน็ เร่ืองท่สี าคญั มากในงานออกแบบทกุ ประเภท เชน่ ถ้าเป็นการออกแบบส่ิงของ เชน่ เก้าอ,ี้ โซฟา นน้ั จะตอ้ งออกแบบมาให้นัง่ สบายไมป่ วดเม่อื ย ถ้าเปน็ งานกราฟกิ เช่น งานส่ือสง่ิ พมิ พ์นน้ั ตัวหนังสอื จะตอ้ งอา่ นงา่ ย เขา้ ใจ ง่าย ถงึ จะได้ชอื่ ว่า เปน็ งานออกแบบท่ีมีประโยชน์ใชส้ อยท่ีดีได้ 3. มแี นวความคดิ ในการออกแบบท่ีดี เป็นหนทางความคดิ ท่ที าให้งานออกแบบสามารถตอบสนอง ต่อความรสู้ ึกพอใจ ช่ืนชม มีคณุ ค่า บางคนอาจให้ความสาคญั มากหรอื นอ้ ย หรืออาจไม่ให้ความสาคญั เลยกไ็ ดด้ งั นน้ั บางคร้งั ในการออกแบบโดยใช้ แนวความคิดทดี่ ี อาจจะทาใหผ้ ลงาน หรือสิ่งที่ออกแบบมคี ณุ คา่ มากขึน้ ดังนนั้ การออกแบบ (Designer) คือผูท้ พี่ ยายามค้นหาและสร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่หาวิธแี กไ้ ข หรอื หาคาตอบใหมๆ่ สาหรับ ปญั หาต่าง ๆ
องค์ประกอบมูลฐานของการออกแบบ การจดั องค์ประกอบศลิ ป์ 1. จดุ (Dot)จุดเปน็ องคป์ ระกอบพื้นฐานท่ีสาคัญสาหรบั การออกแบบ เพราะจุดเป็นต้นกาเนิดของเสน้ และน้าหนักของภาพ ดังจะเหน็ ได้วา่ ในการพมิ พ์ภาพโทนต่อเนอื่ ง (Half Tone) การเกิดนา้ หนักอ่อนแกใ่ นภาพเปน็ การใชจ้ ุดในบรเิ วณทีเ่ ป็นนา้ หนัก ออ่ น เกิดจากจดุ หรือเมด็ สกรนี ทเี่ ล็กและหา่ ง สว่ นในบริเวณท่มี นี า้ หนักเขม้ จะประกอบด้วยจดุ ที่มขี นาดใหญแ่ ละหนาแน่น จะเหน็ ได้วา่ จดุ สร้างความงามในธรรมชาติใหเ้ กดิ ขน้ึ อีกมากมายอาทิ ลายจดุ บนผวิ หนงั 7 ของเสือดาว จดุ บนปีกผีเส้อื จุดบนใบไม้จดุ ท่ี เกดิ จากก้อนกรวด เมด็ ทรายเป็นต้น การทผ่ี ูอ้ อกแบบจะนาจดุ มาใช้งานออกแบบสามารถใชไ้ ด้ 3 ลักษณะ ดังนี้ (1) การวางตาแหน่งของจดุ ลักษณะกระจาย มักใช้ในการออกแบบแนวนอน (2) การวางตาแหนง่ ของจุดลักษณะเน้นชอ่ งจังหวะ เปน็ การวางจุดโดยให้พักเป็นระยะ (3) การวางตาแหน่งของจดุ ลกั ษณะเป็นกลุ่ม เปน็ การทาให้จุดในงานออกแบบเกดิ เอกภาพ สามารถ กระทาไดใ้ นลกั ษณะต่อไปนี้ -การวางจุดหลายขนาดไว้ด้วยกัน ลักษณะที่เหมอื นกนั ของจุดจะทาให้เกดิ เอกภาพ -การใช้จดุ ขนาดเดยี วกนั แต่ใชเ้ สน้ เช่ือมโยงเพื่อทาให้จดุ เกดิ เอกภาพ -การวางจุดในกรอบภาพ โดยใชจ้ ุดเปน็ ตัวเนน้ และกรอบภาพเป็นตวั สรา้ งเอกภาพ
2. เสน้ (Line) เส้นเกดิ จากการเดนิ ทางหรอื ตอ่ เนอ่ื งของจุดในลักษณะทิศทางเดียวกัน ในการออกแบบเสน้ อาจเกดิ จากการลากพ่กู ัน (Brush Stroke) การขูดขดี ด้วยดินสอ ปากกา ฯลฯ นักออกแบบถอื ว่าเส้นเป็นองค์ประกอบมูลฐานทสี่ าคัญ เนือ่ งจากเสน้ เปน็ ตน้ กาเนดิ ของ รปู ร่าง รูปทรง ทิศทาง พื้นผิวและแสงเงาในภาพไดใ้ นงานศลิ ปะตะวันออกนยิ มเน้นความงามทีเ่ สน้ รอบรปู มากกวา่ การ ใชส้ ีสร้างแสงเงา เพราะเสน้ ท่ีเน้นน้าหนกั ตา่ งกนั สามารถสรา้ งแสงเงาในภาพได้ เชน่ ในงานจิตรกรรมไทย สามารถสร้างความรสู้ ึกที่ กลมในใบหน้าจากการใช้เสน้ ในดา้ นที่เป็นแสง และเส้นหนักในดา้ นทเ่ี ปน็ เงา เสน้ ในงานออกแบบประกอบดว้ ยเน้นหลักที่สาคัญ ไดแ้ ก่ (1) เสน้ นอน (Horizontal Line) เปน็ เส้นท่ีแสดงถงึ ความรู้สึกสงบน่งิ กวา้ งขวาง (2) เสน้ ตง้ั (Vertical Line) เป็นเส้นทแี่ สดงถงึ ความสง่างาม ความมรี ะเบยี บ แขง็ แรง (3) เสน้ เฉียง (Diagonal Line) เป็นเสน้ ท่ีแสดงถึงความรู้สกึ ทเ่ี คล่ือนไหวความไม่แนน่ อนและเกิดทศิ ทาง (4) เสน้ โคง้ (Curve Line) เปน็ เสน้ ทีใ่ หค้ วามรู้สกึ อ่อนหวาน นมุ่ นวลแสดงถงึ ความออ่ นนอ้ มเศร้าโศก (5) เส้นซิกแซ็ก(Zigzag Line) เป็นเส้นซง่ึ แสดงความร้สู กึ เคลื่อนไหวรุนแรง ไม่แน่นอน (6) เส้นคลื่น (Wave Line) เปน็ เส้นที่ให้ความรสู้ กึ เคล่อื นไหวช้าๆ นิ่มนวลและเปน็ จังหวะแก่ผพู้ บเห็น
3. รปู ร่างและรูปทรง (Shape & Form)รูปร่างและรปู ทรง เกดิ จากเส้นทเี่ ดนิ ทางครบวงจร ในการออกแบบมักจะกล่าวถงึ รูปรา่ ง และรูปทรงควบคู่กนั ไปสามารถจาแนกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ (1) รูปเรขาคณติ เปน็ รูปทเ่ี กิดจากการสรา้ งข้นึ โดยใชเ้ ครื่องมอื เรขาคณิต ได้แก่รปู วงกลม วงรี สามเหล่ยี ม สเี่ หลี่ยม ห้า รูปในลักษณะนี้ จะมคี วามแข็งกระดา้ ง ความมรี ะเบยี บ จึงเหมาะสาหรบั งานออกแบบซึ่งต้องการความแข็งแรง มีระเบยี บ เครง่ ครัด (2) รูปธรรมชาติ เป็นรูปที่เกดิ จากการนาลักษณะความงามในธรรมชาตมิ าใชใ้ นการออกแบบ รปู ทรงในธรรมชาตทิ ี่ก่อให้เกดิ แรง บันดาลใจในการออกแบบ ไดแ้ ก่ เปลวไฟ เปลือกหอย กอ้ นหิน คลน่ื ใบไม้เป็นต้น การนารปู ทรงในธรรมชาตมิ าใช้ในการออกแบบ ทาได้โดยการถ่ายภาพ การเขียนภาพแบบเหมอื นจรงิ เปน็ ตน้ (3) รูปอสิ ระเป็นรปู ที่ผ้อู อกแบบใชจ้ นิ ตนาการสรา้ งขึ้นดว้ ยมืออสิ ระโดยไมใ่ ชเ้ คร่อื งจักรเข้าชว่ ยอาจเกิดจากการดดั แปลงรูปทรง เรขาคณิต หรอื เป็นการดัดแปลงจากรปู ทรงในธรรมชาตกิ ไ็ ด้
4. แสงและเงา (Light & Shade) แสงและเงา เปน็ ปจั จัยท่ีทาใหผ้ ูด้ เู กิดความรสู้ กึ ต่อลักษณะ 3 มิติ ของรูปทรงไดช้ ัดเจนยง่ิ ขนึ้ ในการออกแบบกราฟกิ ซง่ึ กระทาบนวสั ดุ 2 มิติ ผอู้ อกแบบสามารถใชแ้ สงเงาเพอื่ เน้นความลึกหรอื มติ ิทสี่ ามได้ โดยธรรมชาติของแสง ยอ่ มตกกระทบบนผิววตั ถไุ ม่เทา่ กนั ด้านท่ีไดร้ ับแสงจะมีความจ้า สว่ นดา้ นท่ีตรงขา้ มจะมนี ้าหนักมดื ลง ตามลาดับ 5. ช่องวา่ ง (Space) หมายถงึ การกาหนดชอ่ งว่างในตวั วัตถุหรอื ตวั รปู (Positive Space) และช่องวา่ งรอบตวั วัตถุหรอื พน้ื การออกแบบ ในสมัยก่อนมกั ไมค่ านงึ ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรูปแบบ และพื้นทีเ่ ท่าใดนัก หลักในการสร้างความสาคญั ระหว่างรูป และพน้ื ใหม้ ีความทัดเทยี มกัน และมีความสัมพนั ธ์กนั สามารถกระทาได้ดงั นี้ (1) กาหนดให้พ้นื ท่ีของรูปมปี ริมาณใกลเ้ คียงกนั (2) หลกี เลีย่ งไมใ่ ห้ตัวรปู ลอยอยู่กลางพ้ืน แต่ควรใหต้ วั รูปตกชิดขอบภาพ เพอ่ื มิใหบ้ รเิ วณพืน้ ลอ้ มรอบตวั รูป การใช้บริเวณว่างในการ ออกแบบท้ังหลายผูส้ ร้างงานจะใช้บรเิ วณว่างใหม้ ีความสัมพันธก์ บั ภาพรวมของวัตถุนน้ั ๆ
6. สี (Color) สีเปน็ องค์ประกอบมลู ฐานทีม่ อี ทิ ธพิ ลต่อความรู้สึกและการรับร้ขู องผดู้ เู ป็นอย่างยง่ิ ถา้ เปน็ ภาพขาวดาจะมีน้าหนักเทา่ ใกลเ้ คียงกัน แตถ่ า้ เป็นภาพสีผ้ดู จู ะเห็นความแตกตา่ งกนั ของสีไดอ้ ยา่ งชดั เจน ผู้ออกแบบจาเปน็ ต้องเลือกใชส้ ีใหเ้ หมาะสมกับจุดมงุ่ หมาย ของงานออกแบบ จึงจะเกดิ ประสิทธภิ าพตอ่ ความรสู้ ึกของผดู้ ู เช่น สีแดง ให้ความรสู้ ึก ร้อน อันตราย สีส้ม ให้ความรสู้ กึ สว่าง อบอุ่น สีเลือดหมู ให้ความรูส้ กึ สง่า หนกั แน่น สีนา้ ตาล ใหค้ วามรูส้ ึก เก่าแก่ถอ่ มตน สเี หลือง ให้ความรสู้ ึก สดใส งอกงาม สนี ้าเงิน ใหค้ วามรู้สึก สงบ จริงจงั สมี ่วง ให้ความรสู้ กึ หนักแน่น มเี ลศนยั สดี า ใหค้ วามร้สู กึ หดหู่ เศรา้ สขี าว ให้ความรู้สึก บรสิ ทุ ธิ์ สะอาด
7. ลกั ษณะพื้นผิว (Texture) หมายถึง ความรูส้ ึกในการจาแนกความเรียบ หรอื ความขรุขระของผวิ วตั ถุจากการสมั ผสั ทาง สายตา ลกั ษณะพนื้ ผวิ ทีม่ ีความแตกตา่ งกนั ยอ่ มเร้าใหผ้ ดู้ เู กิดความสนใจ ความแปลกตา ไมน่ า่ เบื่อหนา่ ย เชน่ ผนงั อาคารที่มี ลักษณะเรียบยอ่ มไมส่ รา้ งความน่าสนใจแกผ่ ู้ดู แต่สถาปนิกออกแบบโดยใชพ้ น้ิ ผวิ ทม่ี ีความแตกต่างกนั เช่น การใชห้ ินล้าง หนิ ขดั การประดบั หนิ กาบบนผนัง การใช้ผวิ คอนกรีตเปลอื ยยอ่ มสร้างความนา่ สนใจให้แกผ่ ู้ดไู ดด้ กี วา่
หลกั การจดั วางส่วนประกอบในการออกแบบ 3.1 การเนน้ จุดแหง่ ความสนใจ(Emphasis) การสร้างจดุ แหง่ ความสนใจใหเ้ กิดข้นึ ในงานออกแบบ โดยการกาหนดบรเิ วณใดบริเวณ หนง่ึ ในภาพท่ีเหมาะสมกระทาได้หลายลกั ษณะดังน้ี (1) การเน้นโดยการตัดกนั หมายถึง การทาใหส้ ว่ นประกอบจานวนหนึ่งทีม่ ีความแตกตา่ งไปจากส่วนประกอบอนื่ เช่น เนน้ ด้วยขนาด เนน้ ดว้ ยรูปร่าง เน้นดว้ ยสี เน้นด้วยนา้ หนัก เน้นดว้ ยพน้ื ผวิ (2) การเน้นโดยการแยกตวั ประกอบออกไป หมายถงึ การเนน้ โดยให้สว่ นประกอบบางสว่ นแยกตวั ออกมาต่างหากการเน้นดว้ ยวธิ ีน้ี เป็นการเน้นดว้ ย การนารูปรา่ ง หรือรปู ทรงส่วนใหญอ่ ยูร่ วมกันเปน็ กลมุ่ สว่ นในสว่ นหนง่ึ ของพนื้ ท่ีรปู รา่ ง หรือรูปทรงทีแ่ ยกตัวออกมา จะกลายเป็นจุดเดน่ (3) การเนน้ โดยการจัดวางตาแหน่ง หมายถงึ การเน้นโดยผอู้ อกแบบจดั วางสว่ นประกอบในตาแหนง่ ท่ีเหมาะสม ไม่ใช่เป็นการตัดกนั ด้วย รูปรา่ งตา่ ง ๆ แต่อาจใช้เส้น สี รปู รา่ ง รปู ทรง ฯลฯ นามาจดั วาง เน้นให้อยใู่ นตาแหนง่ ท่นี ่าสนใจ
3.2 ความสมดุล(Balance) เปน็ การกาหนดและจัดวางองคป์ ระกอบมูลฐานใหม้ นี ้าหนกั และขนาดในสัดสว่ นท่ีเทา่ ๆ กัน ทง้ั สองข้าง งานออกแบบทีข่ าดความสมดุลจะกอ่ ใหเ้ กิดความรู้สึกว่าภาพนัน้ เอยี งได้ ซ่ึงการสรา้ งความสมดุลให้เกิดขนึ้ ในงาน ออกแบบ สามารถทาได้ 3 แบบ ไดแ้ ก่ (1) สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Or Balance) หมายถึง การจัด วางภาพโดยวางองค์ประกอบใหซ้ กี ซา้ ยและซีกขวามี ลักษณะเหมือนกันทกุ ประการ ตวั อย่างเช่น ลักษณะใบหนา้ คน ลกั ษณะลายผเี ส้อื (2) สมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Or Formal Balance) เป็น การจดั องคป์ ระกอบเพ่ือใหผ้ ดู้ ูเกิดความรูส้ ึกวา่ องคป์ ระกอบในซีกซา้ ยและซีกขวามีปรมิ าณที่เทา่ ๆ กนั แม้วา่ ลกั ษณะท่แี ท้จริงจะไม่เหมือนกันก็ตาม สมดลุ ในลักษณะนจี้ ะใหค้ วามรสู้ กึ ทเ่ี ป็นอสิ ระไม่ เคร่งครดั (3) สมดุลแบบรศั มี (Radical) เปน็ การจัดวางองคป์ ระกอบใหม้ ีการกระจายหรอื การรวมตัวทจ่ี ุดศนู ย์กลาง นยิ มใช้ในการออกแบบ ลวดลายตา่ ง ๆ เชน่ ลายดาวเพดาน และเครอื่ งหมายการค้า เปน็ ตน้
3.3 ความมีเอกภาพ (Unity) การจดั วางองคป์ ระกอบใหม้ กี ารรวมตวั เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดียวกนั โดยไมแ่ ตกแยก กระจดั กระจาย งานออกแบบทขี่ าดเอกภาพจะทาใหผ้ ดู้ เู กดิ ความรูส้ ึกแตกแยกและไม่น่าสนใจ การสร้างเอกภาพใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั งานออกแบบ สามารถทจ่ี ะทาได้หลายวธิ ดี ังนี้ (1) การนารูปรา่ ง รปู ทรง มาวางซ้อนทบั เกีย่ วเน่ืองกนั การซ้อนทับกัน (2) การใชร้ ูปรา่ ง รปู ทรง ท่มี ีความกลมกลนื กนั แมว้ ่าตัวภาพมลี กั ษณะท่ีแตกตา่ งกนั (3) การใช้พื้นรองรับภาพในลกั ษณะเดียวกนั แมว้ ่าตัวภาพจะมีลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกน (4) การใชเ้ สน้ ชกั นาสายตาสู่จดุ เดยี วกัน ลกั ษณะของเส้นชกั นาสายตา รวมทสี่ จู่ ุดเดียวกัน (5) การใชเ้ ส้นโยงเพื่อทาให้เกิดเอกภาพ องค์ประกอบซึ่งวางอยูโ่ ดยกระจดั กระจาย (6) การใชส้ วี รรณะเดียวกัน เพือ่ ทาให้เกิดเอกภาพ แม้ว่างานออกแบบจะ มีการใช้รปู รา่ งที่ไม่กลมกลนื กัน
3.4 จังหวะ (Rhythm) ลกั ษณะของจงั หวะในการจัดภาพ ซึ่งจะก่อให้เกดิ ความร้สู กึ เคล่อื นไหวต่อเนือ่ ง และความมีทศิ ทางแก่ผูด้ ู จงั หวะในการออกแบบ แบ่งได้เปน็ 3 ลักษณะได้แก่ จังหวะชนิดซ้า จงั หวะชนดิ ช่วงระยะที่เปน็ แบบแผนคงที่ และจงั หวะชนดิ ช่วง ระยะไม่คงท่ี 3.5 ความกลมกลนื (Harmony) ซึง่ มีคุณสมบตั ใิ กล้เคยี งกนั เข้าไวด้ ้วยกันอยา่ งพอเหมาะ ทาให้งานออกแบบนน้ั เกิดความประสาน กลมกลืน มีความเป็นระเบียบ และนาไปสู่ความมีเอกภาพ แตใ่ นบางกรณถี ้าหากความกลมกลืนมาจากสง่ิ ท่ีซา้ กัน เหมือนกนั หรือเท่ากันมากเกินไปอาจทาให้เกดิ ความน่าเบือ่ ได้ จงึ ตอ้ งจัดให้ความขัดแยง้ เขา้ ไปร่วมในผลงานน้ัน บา้ งเพยี งเล็กนอ้ ย ก็จะทาใหเ้ กิด ความนา่ สนใจขึ้น ความกลมกลืนจึงเปน็ การรวมกันของหน่วยยอ่ ยต่าง ๆ ได้แก่ เสน้ รูปรา่ ง สี ขนาด ฯลฯ 3.6 ความขดั แยง้ (Contrast) ไม่ใหซ้ ้าซากกัน เชน่ มรี ูปรา่ ง สี ท่ีแตกตา่ งกัน ซงึ่ ความขัดแย้งจะตรงข้ามกบั ความกลมกลนื และมคี ุณค่าในงานออกแบบของศลิ ปะและส่งิ พมิ พ์ เพราะสามารถนามาใชแ้ กไ้ ขส่งิ ทก่ี ลมกลนื กันมาก ๆ จนเกดิ ความน่าเบอื่ หนา่ ย ให้กลบั กลายดนู ่าสนใจขน้ึ ได้
3.7 สัดส่วน (Proportion) โดยสัดส่วนเปน็ กฎเกณฑข์ องเอกภาพท่ีเกยี่ วข้องกบั ความสมสว่ นซ่ึงกันและกันของขนาดในส่วนต่าง ๆ ของรปู ทรง และ ระหวา่ งรูปทรง เช่น การทเ่ี ราพบเห็นคนหวั โตตวั เตยี้ คนคอยาวขาสั้น อยูใ่ นสังคมแสดงใหเ้ ห็นถงึ สัดสว่ นท่ผี ดิ ไปจาก ธรรมดาของบคุ คลท่วั ไป ในงานออกแบบมกี ารนา สัดสว่ นเข้ามาใช้เพอื่ สรา้ งความรู้สึกทางสนุ ทรียภาพและอุดมคตนิ ้ัน คอื การใชส้ ว่ น ประกอบมลู ฐานทางการออกแบบ ไดแ้ ก่ เสน้ สี แสงเงา ฯลฯ เขา้ มาใชไ้ ด้อยา่ งมีความสัมพันธ์เหมาะสมกลมกลืน 3.8 ความเรยี บง่าย (Simplicity) ควรเน้นทค่ี วามเรียบงา่ ยไม่รกรงุ รัง พบวา่ มคี วามแตกต่างของงานออกแบบในสมยั โบราณกบั งานออกแบบสมยั ใหม่ ได้แก่ การใชค้ วามเรยี บงา่ ยในการออกแบบ เพื่อให้งา่ ยตอ่ การรับรขู้ องผดู้ ู และเหมาะสมกบั สภาพความ เปลีย่ นแปลงในสงั คม สาหรับหลักในการจดั วางองคป์ ระกอบทางศลิ ปะน้ัน มหี ลายแนวทางได้แก่ การเน้นจุด ความสนใจ ความสมดลุ เอกภาพ จังหวะ ความกลมกลนื ความขัดแย้ง ความมีสดั ส่วนและความเรียบงา่ ยเพราะส่ิงเหลา่ นีเ้ ป็นหลักการพ้นื ฐานสาคญั ในการท่ี จะทาใหง้ านออกแบบมกี ฎเกณฑ์ และเกิดความสวยงามได้อย่างลงตัวสมบรู ณ์โดยสามารถรับรไู้ ด้ดว้ ยสายตาและความรู้สกึ
หลกั การออกแบบทด่ี ี 4.1 ควรจะเปน็ การออกแบบที่มีลกั ษณะเหมาะสมตรงกบั ความมุ่งหมายตาม ประโยชนใ์ ช้สอย มีความกลมกลืนตามหลกั เกณฑ์ความงาม ของสังคม และความสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลงได้ 4.2 ควรเปน็ การออกแบบทมี่ ลี ักษณะงา่ ย มีจานวนผลิตผลตามความต้องการของสงั คมและมีกระบวนการผลติ ไม่ยุ่งยากสลับซับซอ้ น 4.3 ควรจะมสี ัดส่วนทีด่ มี คี วามกลมกลืนกันท้ังสว่ นรวม เช่น รปู แบบ ลกั ษณะผวิ เสน้ สี เปน็ ตน้ และมีสดั สว่ นทีเ่ หมาะสมในการใช้งาน 4.4 ควรมคี วามเหมาะสมกับวัสดุและวธิ กี าร มคี ณุ ภาพ มวี ธิ ีการใช้งา่ ยสะดวก สามารถผลิตได้ตรงตามความต้องการของสังคมปจั จุบัน 4.5 ควรมีลกั ษณะของการตกแต่งอยา่ งพอดี ไมร่ กรงุ รัง 4.6 ควรมีโครงสร้างทเ่ี หมาะสมกลมกลืนกบั วัฒนธรรม และความตอ้ งการของสงั คม 4.7 ไม่ควรส้นิ เปลืองเวลามากนัก
หนา้ ทแ่ี ละประโยชน์ของการออกแบบด้วยเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ชว่ ยในการออกแบบมีหนา้ ทสี่ าคัญ 2 ประการ ประการแรกคอื อานวยความสะดวกในการเขียนแบบ (drafting) ของช้ินงาน ที่ต้องการบนจอภาพ การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการออกแบบจะตัดความย่งุ ยากในการเขยี นแบบบนกระดาษด้วยมือ ซงึ่ เป็นงานท่ีละเอยี ด ตอ้ งการความสามารถสงู และกนิ เวลานานออกไป ทั้งนค้ี อมพิวเตอร์สามารถแสดงภาพบนจอจากขอ้ มลู ท่ีผ้อู อกแบบป้อนใหเ้ ปน็ ภาพ ทั้งในระบบ 2 มติ ิ และ3 มิติ ได้ตามต้องการ ภาพในระบบ 2 มติ ิ หรือ 3 มติ นิ ีเ้ กิดขึ้นจากการมองช้ินงานจากทิศทางที่แตกตา่ งกนั คอมพิวเตอรส์ ามารถออกแบบไดท้ ุกชนิด ต้งั แต่แบบอาคารแบบบา้ นทอี่ ยู่อาศยั ขนาดสะพาน รถยนตเ์ ครือ่ งบนิ วงจรไฟฟ้า ของเลน่ ตลอดจนแบบโฆษณาต่าง ๆ หนา้ ทีส่ าคัญประการท่ี 2ของคอมพิวเตอร์ ในงานออกแบบไดแ้ ก่การจาลอง (simulation) สภาพการทางานจรงิ ของช้ินงานทไ่ี ด้ออกแบบ ไวใ้ นสภาวะตา่ ง ๆ เพอ่ื ศกึ ษารายละเอียดของช้ินงาน และวิเคราะห์หาประสทิ ธภิ าพ และคณุ ภาพของชิ้นงานน้นั โดยทีผ่ อู้ อกแบบไม่จาเปน็ ตอ้ งสรา้ งช้นิ งานต้นแบบ (prototype) ขึน้ มาทดลองจริง ๆนอกจากน้ัน คอมพิวเตอร์ยงั ช่วยประหยัดเวลา ในการคานวณค่าตา่ ง ๆ
ประโยชน์ของการใช้คอมพวิ เตอร์ช่วยในการออกแบบสรปุ ได้เป็ น 4 ประการ สาคัญดังน้ี 1. เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการออกแบบ ในการเขยี นแบบ คอมพิวเตอร์สามารถช่วยผใู้ ชว้ าดรูปต่าง ๆ บนจอภาพได้อยา่ งรวดเร็ว และง่ายดายผูใ้ ชท้ ่ีไม่มีฝี มือในด้านการเขียนแบบก็สามารถวาดแบบทต่ี อ้ งการได้อย่างถูกต้อง และได้มาตรฐาน 2. เพม่ิ คณุ ภาพของงานออกแบบ การทค่ี อมพิวเตอร์สามารถรับภาวะทางดา้ นการคานวณตวั เลขตา่ ง ๆ การแสดงผล และการเขยี นแบบ ไปจากผอู้ อกแบบได้ ทาใหผ้ ู้ออกแบบสามารถใชส้ มองและความสามารถของตนเองทางาน ในสว่ นทส่ี าคัญอน่ื ๆเช่น ความปลอดภยั ความ สวยงาม ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมให้ไดด้ ยี งิ่ ข้ึน 3. ลดต้นทุนการออกแบบและการผลิต การออกแบบโดยใชค้ อมพิวเตอร์ช่วยเปน็ การออกแบบท่ไี ม่ส้นิ เปลืองทงั้ วัสดุและเวลา เพราะคอมพิวเตอร์สามารถจาลองการทางาน หรือวเิ คราะห์งานออกแบบใหไ้ ดโ้ ดยผ้อู อกแบบไม่ตอ้ งสรา้ งชน้ิ งานตน้ แบบขนึ้ มาทดสอบ จริง ๆ ในกรณีท่งี านออกแบบมีคุณภาพไมต่ รงกบั ความประสงคข์ องผู้ใช้ ผอู้ อกแบบจะทราบผลไดจ้ ากการวเิ คราะห์ดว้ ยคอมพวิ เตอร์และ สามารถตัดงานออกแบบช้ินนน้ั ท้ิงไป โดยไม่ตอ้ งนา ไปสรา้ งใหส้ น้ิ เปลืองเปล่า ๆ 4. เป็นแหล่งรวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆในการออกแบบ เมอ่ื ทาเสร็จแล้วเรายังสามารถนา ขอ้ มลู มาใช้ในการออกแบบคร้งั ต่อไปได้ความ ตอ้ งการ หรอื ความสนใจของสงั คมมนษุ ยม์ กั จะเปลย่ี นไปตามกาลเวลา และเทคโนโลยี เป็นไปไมไ่ ดท้ เี่ ราจะออกแบบเพยี งคร้ังเดยี วแลว้ ได้ ช้ินงานทด่ี แี ละเหมาะสมท่สี ุด จนไมต่ ้องแกไ้ ขหรอื ออกแบบใหม่ในภายหลงั ของทด่ี ีและสวยท่สี ดุ ในปจั จุบนั อาจจะล้าสมัย และไมน่ า่ ดูใน อกี ไม่กป่ี ี ข้างหน้าก็ได้
ผจู้ ัดทา นางสาวนารีรัตน์ หนอ่ แก้ว เลขท่ี 11 ชน้ั ปวส.1/กส ขอจบการนาเสนอคะ ขอบคุณคะ...
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: