Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Geological Resource

Geological Resource

Published by Sakdanai Sawatpon, 2021-09-30 04:31:51

Description: ทรัพยากรธรณี

Search

Read the Text Version

สรุปเนื้อหา . แบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตรโ์ ลก 19 ทรพั ยากรธรณี GEOLOGICAL RESOURCE สันติ ภัยหลบลี้

สันติ ภยั หลบล้ี ทรพั ยากรธรณี วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพอ่ื ทาความเข้าใจการสะสมตวั ของแหลง่ แรแ่ ละปิโตรเลยี ม 2. เพอ่ื ทราบกระบวนการสารวจและผลติ แหลง่ แร่และปโิ ตรเลยี ม 3. เพื่อทราบพลังงงานทางเลอื กชนดิ ตา่ งๆ สารบัญ หน้า 1 สารบัญ 2 1. ทรัพยากรแร่ (Mineral Resource) 10 2. รูปแบบการทาเหมือง (Type of Mining) 13 3. ทรัพยากรพลังงาน (Energy Resource) 20 4. การสารวจและผลิต (Exploration and Production) 27 5. พลงั งานทางเลอื ก (Alternative Energy) 38 52 แบบฝกึ หดั เฉลยแบบฝึกหัด 1

สนั ติ ภยั หลบลี้ ทรพั ยากรธรณี 1 ทรพั ยากรแร่ Mineral Resource ทรัพยากร (resource) หมายถึง ปริมาณโดยรวมของวัสดุทางธรรมชาติ ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ท้ังท่ีถูกค้นพบและยังไม่ถูกค้นพบ ทรัพยากรทาง ธรณีวิทยา มีความสาคัญอย่างมากต่อการพัฒนาประเทศ นักวิทยาศาสตร์จาแนก ทรัพยากรทางธรณีวทิ ยาออก 2 ชนดิ คอื 1) ทรัพยากรแร่ (mineral resource) ท้ังที่เป็นแรโ่ ลหะ อโลหะและแร่รตั นชาติ รวมทัง้ 2) ทรัพยากรพลงั งาน (energy resource) เช่น ปิโตรเลียม (น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ) ถ่านหิน และพลังงาน ทางเลอื ก (alternative energy) อน่ื ๆ เปน็ ตน้ ปริมาณสารอง (Reserve) คือ ปริมาณทรพั ยากรทีค่ น้ พบ และสามารถนามาผลิตได้คมุ้ ทนุ ในทางเศรษฐศาสตร์ 2

สันติ ภยั หลบล้ี ทรัพยากรธรณี แหล่งแร่ (mineral deposit) คือ พื้นที่ใดๆ ท่ีมี แร่สะสมตัวในปริมาณที่สูงกว่า ปกติ ไม่จาเป็นต้องมีปริมาณ เพียงพอในทางเศรษฐศาสตร์ ส่ ว น แ ห ล่ ง สิ น แ ร่ ( ore deposit) หมายถึง แหล่งแร่ที่ มี ป ริม าณ ม าก พ อที่ จ ะ น า ออกมาใช้ประโยชน์ได้โดยมี กาไร นักวิทยาศาสตร์จาแนก ชนิดแหล่งแร่ตามรูปแบบการ สะสมตัวได้หลากหลายรปู แบบ โดยในเบ้ืองต้น ได้แก่ 1) แหล่งแร่แบบฝัง ป ร ะ (disseminated deposit) คือ แหล่งแร่ที่เกิด จ า ก ก า ร เย็ น ตั ว ข อ ง แ ม ก ม า บางครั้งแร่มีค่าต่างๆ จะตก ผลึกและฝังกระจายอยู่ในมวล หินอัคนี เช่น แร่โคบอลต์ใน หินเพริโดไทต์ เพชรในหินคิม รูป 1. กระบวนการเกิดแหล่งแร่แบบฝังประและ เบอร์ไลต์ (รปู 1ก) เป็นตน้ แบบแบ่งชั้น 3

สันติ ภยั หลบลี้ ทรัพยากรธรณี 2) แหล่งแร่แบบแยกช้ัน (magmatic segregation deposit) คือ แหล่งแร่ท่ีเกิดจากการเย็นตัวของแมกมาท่ีมีแร่บางชนิดมีความถ่วงจาเพาะ (ถ.พ.) สูง จึงจมตัวและตกผลึกอยู่ด้านล่างของกระเปาะแมกมา (รูป 2) สะสมตัวเป็นช้ัน แร่ เชน่ แร่โครไมต์และเหลก็ (รปู 1ข-ค) รูป 2. แบบจาลองแสดงตัวอย่างการตกผลึกของแร่ท่ีมีความถ่วงจาเพาะแตกต่าง กัน ทาให้ไดแ้ หล่งแร่ท่สี ะสมตัวเป็นชั้น 3) แหล่งแร่แบบเพกมาไทต์ (pegmatite deposit) (รูป 3) คือ แหล่ง แร่ท่ีเกิดจากแมกมาตกผลึกลาดับส่วน และส่วนท่ีเหลือมีปริมาณของสารท่ีมสี ภาพ เปน็ ไอสงู เช่น นา้ โบรอน ฟลูออรีน ทาให้มีแรงดนั แทรกไปตามรอยแตกภายในหิน อัคนีและเย็นตัวกลายเป็นหินหรือสายแร่เพกมาไทต์ ท่ีมีผลึกเน้ือหยาบ เช่น แร่ ลเิ ทยี มและโบรอน (แรท่ วั มารีน) 4) แหล่งแร่แบบน้ายาความร้อน (hydrothermal deposit) คือ แหล่งแร่ท่ีเกิดจากสารละลายของน้าร้อนละลายแร่โลหะมีค่าจากใต้ดินขึ้นมา ใน 4

สันติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี รูปแบบของ สายแร่น้าร้อน (hydrothermal vein) แทรกตัวตามรอยแตกของ หินและทาปฏิกิรยิ ากับหินกลายเป็นแหล่งแร่ (รูป 3) ซ่ึงโดยส่วนใหญ่พบในบริเวณ ทแ่ี ผน่ เปลอื กโลกแยกตัวออกจากกัน โดยนา้ ทะเลไหลลงไปตามรอยแตก ละลายแร่ ด้านล่างและถูกผลักดันให้ขึ้นมาอีกคร้ัง (รปู 4ก) เช่น แร่ซัลไฟด์ที่สะสมตัวบริเวณ ปล่องควันดาใต้มหาสมุทร (black smoker) (รูป 4ข) ตามแนวสันเขากลาง มหาสมุทร แรท่ เี่ กิดแบบน้ี ไดแ้ ก่ ทองคา เงิน ตะกั่ว ดบี กุ สงั กะสี (รูป 5) รูป 3. แบบจาลองแสดงการสะสมตัวของแหลง่ แร่แบบเพกมาไทต์ แบบนา้ ยาความ รอ้ น และแบบการแปรสภาพโดยการแทนที่ 5) แ ห ล่ งแ ร่ แ บ บ ก า ร แ ป ร ส ภ า พ โด ย ก า ร แ ท น ที่ ( contact metasomatic deposit) คือ แหล่งแร่ที่เกิดจากแมกมาแทรกดันเขาไปในหิน ทอ้ งที่ ทาให้องค์ประกอบแร่ในหินท้องท่ีบริเวณสัมผัสเปลี่ยนแปลงไป (รูป 3) เกิด เป็นแร่และหินใหม่ เรียกหินแปรสภาพโดยการแทนท่ีว่า หินสการ์น (skarn) แหล่งแร่ทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ แร่เหลก็ ดบี กุ ตะกว่ั สังกะสีและทองแดง (รปู 5) 5

สันติ ภยั หลบล้ี ทรัพยากรธรณี รูป 4. (ก) แบบจาลองแสดงการสะสมตัวของแหล่งแร่แบบน้ายาความร้อน (ข) ปลอ่ งควนั ดาใตม้ หาสมุทร [NOAA] รูป 5. แร่ทพี่ บในแหลง่ แร่แบบนา้ ยาความรอ้ นและการแปรสภาพโดยการแทนท่ี 6

สนั ติ ภยั หลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 7) แหล่งแร่แบบลานแร่ (placer deposit) คือ แหล่งแร่ทเี่ กดิ จากสาย แรน่ ัน้ ผุพังและถูกพดั พาโดยกระบวนการทางน้า ซึ่งแรม่ คี ่าต่างๆ เช่น ดีบุก ทองคา พลอยทับทิม ทนทานต่อการกัดกร่อนและมีความถ่วงจาเพาะสูง ทาให้เกิดการคัด แร่โดยธารน้า และสะสมตวั ตามท่ีลุ่มต่าของธารน้า (รูป 6) ดังน้ันร่องน้าเก่าจึงเป็น บริเวณท่ีมศี กั ยภาพในการเกดิ แหล่งแร่แบบลานแร่ รูป 6. (ก) แบบจาลองแสดงการเกิดทองปฐมภูมิและทุติยภูมิ (ข) การร่อนแร่ทุติย ภูมใิ นธารนา้ โดยใช้จานร่อน 8) แหล่งแร่จากทะเลลึก (deep ocean deposit) คือ แหล่งแร่ท่ีเกิด จากการตกตะกอนอย่างช้าๆ จากน้าทะเล เช่น แร่แมงกานีสซึ่งเป็นองค์ประกอบ สาคัญในน้าทะเล ตกตะกอนและทับถมกันในที่ราบทะเลลึก ในลักษณะของ ก้อน กลมแมงกานีส (manganese nodule) (รปู 7) 7

สันติ ภยั หลบล้ี ทรัพยากรธรณี รูป 7. ก้อนกลมแมงกานสี (manganese nodule) อย่างไรก็ตาม วิธีการทาเหมืองยากและใช้ต้นทุนสูงมากเมื่อเปรียบเทียบ กบั การทาเหมืองบนบก ดงั น้ันถงึ แมว้ ่าจะพบมากในท้องทะเล แต่สินแร่น้ถี ือวา่ เป็น แหลง่ แร่ที่มีศักยภาพในอนาคต แต่ตอนนีย้ งั ไม่ค้มุ ทนุ ที่จะนาขน้ึ มาใช้ 6) แหล่งแร่จากการระเหย (evaporate deposit) คือ แหล่งแร่ที่ได้ จากการระเหยของน้าทะเล เชน่ แร่เฮไลด์ ยปิ ซมั่ และแอนไฮไดรต์ เปน็ ต้น (รูป 8) รปู 8. (ก) แรเ่ ฮไลด์ (ข) แรย่ ิปซมั่ (ค) แร่แอนไฮไดรต์ 8

สันติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี นอกจากนี้ยังมีแร่อโลหะ หมายถึง แรท่ ่ีสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดย ไม่ต้องผ่านกระบวนการถลุงแร่ เช่น ทราย (sand) กรวด (gravel) รวมท้ังหิน ประดบั (dimension stone) ชนิดต่างๆ (รูป 9) รู ป 9. ท รั พ ย า ก ร ที่ น า ม า ใช้ โด ย ไม่ ต้ อ ง ถ ลุ ง (ก ) ก ร ว ด แ ต่ ง ส ว น [www.publicdomainpictures.net] (ข) หินชนิดต่างๆ ท่ีนิยมมาประดับ สงิ่ ปลูกสรา้ ง [www.maxpixel.net] 9

สันติ ภยั หลบลี้ ทรพั ยากรธรณี 2 รูปแบบการทาเหมอื ง Type of Mining 2.1. การทาเหมือง (Mining) การทาเหมือง (mining) เริ่มจากการสารวจ และสร้างแบบจาลอง ซ่ึง ต้องประเมินว่าแหล่งแร่ท่ีพบน้ันเป็น สินแร่ (ore) หรือไม่ โดยมีหลักในการ พิจารณา คือ 1) เกรดของสินแร่ (grade) หมายถึง ความเข้มข้นของแร่มีปริมาณ มากเพียงพอท่ีจะทาเหมืองหรือไม่ 2) ชนิดของสินแร่ (type) เพื่อประเมินว่าใน กระบวนการผลิตต้องทาอย่างไร เช่น สินแร่ออกไซด์สามารถบดและกรองออกมา ได้โดยตรง แต่สินแร่ซัลไฟด์อาจจะต้องหลอมละลายก่อนจึงแยกแร่ได้ 3) ขนาด และความลึกของการสะสมตัว ย่ิงต้ืนย่ิงลดต้นทุน และ 4) สภาพแวดล้อมและ กฏหมายในพืน้ ท่ีเป็นอย่างไร ปัจจุบนั การทาเหมืองจาแนกได้ 5 วธิ ี คอื (รปู 10) 10

สนั ติ ภยั หลบล้ี ทรัพยากรธรณี รปู 10. (ก) เหมืองเปดิ [Imagevixen] (ข) เหมอื งใตด้ นิ (ค) เหมอื งหนิ ประดับ (หิน อ่อน) และ (ง) เหมืองทราย 1) เหมืองเปิด (open-pit mining) นิยมทากับแหล่งแร่ท่ีอยู่ในระดับ ต้ืนใกล้พ้ืนผิว ซึ่งใช้ต้นทุนต่าและปลอดภัยที่สุด แต่เน่ืองจากต้องเปิดหน้าดินให้ กว้างจึงเสียพนื้ ท่ีจานวนมาก (รปู 10ก) โดยเฉพาะพ้นื ทเี่ กษตรกรรม 2) เหมืองใต้ดิน (underground mining) (รูป 10ข) เป็นวิธีเก่าแก่ ทีส่ ุด ทาในกรณที ่สี ายแร่อยูล่ ึก แตม่ ีความเส่ียงต่อการถลม่ สงู 3) เหมืองหิน (quarry mining) โดยส่วนใหญ่เป็นเหมืองหินประดับ (dimension stone) เช่น หินออ่ น หนิ แกรนติ เป็นตน้ (รปู 10ค) 11

สันติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี 4) เหมืองดูด โดยส่วนใหญ่ทากับ แหล่งแร่แบบลานแร่ (placer deposit) บริเวณนา้ ตนื้ เชน่ เหมอื งทราย เหมืองดีบุก เป็นตน้ (รปู 10ง) 5) เหมอื งละลาย (solution mine) โดยการอดั นา้ เข้าไปละลายแร่ เช่น เกลือ และสบู ขึน้ มา จากนั้นผา่ นกระบวนการระเหยเพ่ือกาจดั นา้ ออกจากเกลอื 2.2. การถลุงแร่ (Smelting) ถึงแม้ว่าทรัพยากรธรณีหรือแร่บางชนิดนั้นสามารถนามาใช้ได้โดยตรง อย่างไรก็ตามแร่หลายชนิดต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอนก่อนที่จะสามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะแร่โลหะ ซ่ึงกระบวนการในการแยกแร่โลหะที่ บริสุทธิ์ออกจากสินแร่ เรียกวา่ การถลุงแร่ (smelting) โดยท่ัวไปมี 2 วธิ ี คือ 1) การถลุงแร่โดยใช้ความร้อน เช่น การถลุงแร่ในกลุ่มแร่ออกไซด์ ซลั ไฟด์ และกลุ่มคารบ์ อเนต เปน็ ตน้ 2) การถลุงแร่โดยใช้กระแสไฟฟ้า วิธีน้ีโดยส่วนใหญ่เป็นการแยกแร่ โลหะออกจากสินแรท่ อ่ี ย่ใู นรปู ของสารประกอบซ่งึ มสี ถานะเปน็ ของเหลว 12

สนั ติ ภัยหลบลี้ ทรัพยากรธรณี 3 ทรัพยากรพลังงาน Energy Resource 3.1. ปโิ ตรเลียม (Petroleum) ปิโตรเลียม (petroleum) คือ สารผสมท่ีมีองค์ประกอบโดยส่วนใหญ่ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนโครงสร้างซับซ้อน มีคุณสมบัติในการเผาไหม้และ ให้พลงั งานสูง ซ่งึ แบง่ ยอ่ ยเปน็ 2 ชนิด ตามสถานะ คอื 1) น้ามันดิบ (crude oil) (รูป 11ก) มีสถานะเป็นของเหลว โดยทั่วไปมี สีดาหรือสีน้าตาล สามารถเปล่ียนรูปมันเป็นเชื้อเพลิงชนิดอื่นๆ เช่น น้ามัน เครอ่ื งยนต์ และแกซ๊ โซลนี ซงึ่ เป็นแหล่งพลงั งานพ้ืนฐานของโลกในปัจจบุ นั นอกจากน้ี ทรายทาร์ (tar sand) หรือ ทาร์ (tar) (รูป 11ข) หรือ ยาง มะตอย (asphalt) คือ อีกรูปแบบหนึ่งของน้ามันดิบ ซ่ึงเป็นหินทรายที่มี 13

สันติ ภยั หลบลี้ ทรัพยากรธรณี สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ มีความหนืดสูง ทาร์ไม่สามารถสูบ ขึ้นมาใช้โดยตรงได้ ต้องใช้การอัดแรงดันสูงเพื่อผลักดันให้สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนทีม่ ีอยู่แยกตัวออกมาจากทราย หรือในบางกรณีอาจใช้การเผาทราย ให้รอ้ นเพ่อื ใหท้ ารล์ ดความหนดื และไหลได้ดีขึน้ 2) ก๊าซธรรมชาติ (natural gas) เกิดจากหินต้นกาเนิดท่ีอุณหภูมิ > 100 องศาเซลเซียส มักพบร่วมกับน้ามันดิบ ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทน (CH4) โดยนักวิทยาศาสตร์จาแนกก๊าซธรรมชาติออกเป็น 2 ชนิด คือ 2.1) ก๊าซธรรมชาติ เหลว มีสถานะเป็นของเหลว ลักษณะคล้ายกับน้ามนั เบนซนิ ซงึ่ กา๊ ซธรรมชาติเหลว จะมีคุณสมบตั แิ ตกตา่ งกันไปในแต่ละพื้นที่เช่นเดียวกันกับนา้ มนั ดิบ และ 2.2) กา๊ ซ ธรรมชาติแหง้ มสี ถานะเป็นก๊าซ ไมม่ ีสี และไมม่ กี ลิน่ รปู 11. ชนดิ ของปโิ ตรเลียม (ก) น้ามนั ดิบ (ข) ทรายทาร์ 3.2. การเกิดปิโตรเลียม (Origin of Petroleum) ในสภาพแวดล้อมท่ีปิโตเลียมสามารถเกิดข้ึนได้ ต้องประกอบด้วยปัจจัย หรือองคป์ ระกอบท่ีสาคญั ตา่ งๆ ดังนี้ 14

สันติ ภยั หลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 1) หินต้นกาเนิด (source rock) ปิโตรเลียมเกิดจากซากพืชและสัตว์ที่ ตายทับถมร่วมกับตะกอนเป็นเวลาหลายล้านปี และกลายเป็น หินดินดานน้ามัน (oil shale) ซง่ึ มสี ีดา ต่อมาเม่ือหินได้รับความร้อน ทาใหห้ ินเปล่ียนเป็นสารคล้าย กับข้ีผึ้งมีโมเลกุลใหญ่ข้ึน เรียกว่า เคโรเจน (kerogen) ซ่ึงเป็นสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนท่ีอยู่ในรูปของแข็ง โดยหากมีอุณหภูมิอยู่ในช่วงท่ีเหมาะสม (oil หรือ gas window ในรูป 12) หรือหากพิจารณาตามหลัก การเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิตามความลึก (geothermal gradient) อณุ หภูมิที่เหมาะสมนน้ั จะอยู่ที่ ระดับความลึกจากพื้นผิวโลกประมาณ 3-9 กิโลเมตร น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ จะสามารถก่อตัวข้ึนได้ (รูป 12) ทาให้เกิดน้ามันดิบได้ หลังจากนั้นจะไหลหรือ เคลื่อนยา้ ยออกไปกักเกบ็ ใน หนิ กกั เก็บ (reservoir rock) (รูป 13) รูป 12. การเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบโมเลกุล ของสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนตาม ความลกึ 15

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี รูป 13. แบบจาลองการเคลื่อนย้าย (migrate) น้ามันดิบจากหินต้นกาเนิดสู่แหล่ง กกั เก็บปิโตเลียม โดยปกติน้ามันดิบก่อตัวขึ้นที่ระดับความลึกประมาณ 4-6 กิโลเมตร ส่วน ก๊าซธรรมชาตกิ ่อตัวข้ึนที่ประมาณ 5-9 กิโลเมตร (รปู 12) แตห่ ากหินดินดานนา้ มัน อยู่ในระดับลึกเกินไปจะเกิดการสูญเสียนา้ มันดบิ และก๊าซธรรมชาติ ซึ่งหากภายใน ชัน้ หินมีน้าใต้ดินร่วมดว้ ย เมื่อน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติเคลื่อนเคล่ือนย้ายไปกัก เก็บในโคร้างสร้างปิดกั้น โดยชั้นบนสุดจะเป็นก๊าซธรรมชาติ รองรับด้วยน้ามันดิบ และนา้ ตามลากับ (รูป 13) 16

สนั ติ ภัยหลบลี้ ทรัพยากรธรณี 2) หินอุ้มน้ามันหรอื หินกักเก็บ (reservoir rock) โดยส่วนใหญ่เป็นหิน ที่มี ความพรุน (porosity) สูงมากพอท่ีจะให้น้ามันดิบซึมผ่านได้ เช่น หินทราย ทาหน้าที่ให้น้ามันดิบมายึดเกาะ ซ่ึงถูกปิดกั้นไม่ให้ปิโตรเลียมไหลสู่ด้านบนด้วย โครงสรา้ งปิดก้นั (trap) (รปู 13) 3) ช้ันหินกักเก็บปิโตรเลียม (trap) โดยส่วนใหญ่เป็นหินท่ีมีความพรุน ต่า เชน่ หินดินดาน คอยปิดกนั้ ไม่ให้ปิโตรเลยี มไหลขึน้ สพู่ ้ืนผิวโลกได้ (รูป 13) แหล่งน้ามันดบิ (oil field) หมายถึง บริเวณท่ีมีโครงสร้าง กกั เก็บปโิ ตรเลียมคลา้ ยกัน ในบริเวณใกล้เคยี งกัน ซึ่งอาจ อย่เู รยี งกันไปหรืออยบู่ นลา่ งตามแนวด่ิงกไ็ ด้ 3.2. ชนดิ ของชน้ั หนิ กักเก็บปโิ ตรเลยี ม (Type of Petroleum Trap) ชน้ั หินเก็บปิโตรเลียมสามารถแบ่งย่อยเป็น 2 ชนิดหลกั คือ 1) ช้ันหนิ กัก เก็บปิโตรเลียมแบบโครงสร้างทางธรณีวิทยา (structural trap) คือ ช้ันหินกัก เก็บที่เกิดสัมพันธ์กับโครงสร้างทางธรณีวิทยารูปแบบต่างๆ เช่น ชั้นหินคดโค้ง (fold) หรือรอยเลื่อน (fault) เป็นต้น และ 2) ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมแบบเนื้อ หินเปลี่ยนแปลง (stratigraphic trap) ซึ่งรูปแบบของการเกิดช้ันหินกักเก็บ ปิโตรเลียมที่พบไดโ้ ดยส่วนใหญ่ มดี ังนี้ (ดรู ปู 14 ประกอบ) 1) ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมชั้นหินคดโค้งปะทุนคว่า (anticline trap) เกิดจากการโก่งงอของช้ันหิน ทาให้ช้ันหินมีรูปร่างโค้งเป็น โครงสร้างปะทุนคว่า (anticline) (หมายเลข 1 ในรูป 14) น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติจะไหลขึ้นไป สะสมตัวอยู่บริเวณจุดสูงท่ีสุดของโครงสร้างและมีหินปิดกั้นวางตัวทับอยู่ด้านบน 17

สนั ติ ภัยหลบลี้ ทรัพยากรธรณี โครงสร้างแบบนี้ถือว่ามปี ระสิทธิภาพในการกักเกบ็ น้ามันดิบได้ดีท่ีสุด จากสถิติทั่ว โลกพบว่า > 80% ของนา้ มันดบิ ท่วั โลก ถูกกกั เก็บอย่ภู ายใตโ้ ครงสรา้ งปะทนุ คว่า รปู 14. รูปแบบของชน้ั หนิ กกั เกบ็ ปโิ ตรเลียม 18

สันติ ภยั หลบลี้ ทรัพยากรธรณี 2) ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมรอยเล่ือน (fault trap) เกิดจากการ แตกหักของชั้นหิน ทาให้ช้ันหินเคลื่อนไปในทิศทางอื่น ซึ่งทาหน้าที่ปิดก้ันการ เคลอ่ื นตัวของปิโตรเลยี มไปสทู่ ่สี ูง (หมายเลข 3 ในรูป 14) แหล่งน้ามันดิบและก๊าซ ธรรมชาติในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่พบในโครงสรา้ งกกั เก็บแบบน้ี 3) ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมโดมเกลือ (salt dome trap) เกิดจากช้ัน หินถูกดันให้โก่งตัวด้วยแร่เกลือจนเกิดลักษณะคล้ายกับโครงสรา้ งปะทุนคว่าขนาด ใหญ่ ซึ่งปิโตรเลียมจะไหลมาสะสมตัวในช้ันหินกักเก็บบริเวณโดยรอบโครงสร้าง (หมายเลข 8 ในรูป 14) 19

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี 4 การสารวจและผลิต Exploration and Production 4.1. การสารวจทางธรณีวิทยา (Geological Exploration) การสารวจทางธรณีวิทยา เร่ิมด้วยการทาแผนท่ีของพ้ืนท่ีสารวจโดยใช้ ข้อมูล โทรสัมผัส (remote sensing) เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทาง อากาศ เพ่ือประเมนิ ในเบื้องต้นว่าพื้นท่ีใดมีโครงสรา้ งทางธรณีวิทยาน่าสนใจควรท่ี จะสารวจต่อไปหรือไม่ จากน้ันสารวจภาคสนามโดยการตรวจสอบ เก็บตัวอย่าง ชนดิ หินและฟอสซิล เพ่ือกาหนดอายุและลาดบั ชนั้ หิน ตลอดจนแปลความทางธรณี ประวัติ (historical geology) และความเป็นมาของพื้นท่ี หลังจากน้ันจึงตรวจวัด แนวทิศทางความเอียงเทของช้ันหนิ เพือ่ คะเนหาแหล่งกกั เก็บของปิโตรเลยี ม 20

สนั ติ ภยั หลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 4.2. การสารวจทางธรณฟี ิสกิ ส์ (Geophysic Exploration) การสารวจทางธรณีฟิสิกส์ เป็นข้ันตอนการสารวจหาโครงสร้างทาง ธรณวี ิทยาของชั้นหินท่ีอยูใ่ ต้พ้ืนผวิ โลก เพ่ือคะเนหาแหล่งกักเก็บของปิโตรเลยี มให้ มีความถูกต้องแม่นยามากย่ิงขึ้น โดยในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้นาเสนอวิธีการ สารวจทางธรณฟี สิ กิ สห์ ลากหลายวธิ ใี นการสารวจปโิ ตเลียม ไดแ้ ก่ 1) วิธีตรวจวัดค่าสนามแม่เหล็ก (magnetic survey) เป็นการ ตรวจวัดค่าความแตกต่างของสนามแม่เหล็กโลก ซ่ึงสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลง ของชนิดหินและโครงสร้างทางธรณีวิทยา หรอื ความสามารถในการดูดซึมแมเ่ หล็ก ของหินทอี่ ยูใ่ ต้พ้ืนผวิ โลก 2) วิธีตรวจวัดค่าแรงดึงดูดของโลก (gravity survey) เป็นการ ตรวจวัดค่าความแตกต่างแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งแปรผันกับลักษณะและความ หนาแนน่ หรือชนิดของหินใตพ้ ื้นผวิ โลก 3) วิธีตรวจวัดคล่ืนไหวสะเทือน (seismic survey) เป็นวิธีท่ีใช้ หลักการส่งคลื่นไหวสะเทือน (seismic wave) ลงไปใต้ดิน ซ่ึงเป็นคลื่นคล้ายกับ คลื่นของแผ่นดินไหวในธรรมชาติ โดยแหล่งกาเนิดของคลื่นไหวสะเทือนในการ สารวจทางธรณีฟิสกิ ส์ดังกล่าว ผลิตขึ้นจากรถสรา้ งแรงสนั่ สะเทือน (vibrator car) เม่ือคล่ืนไหวสะเทือนกระทบช้ันหินใต้ดินจะสะท้อนกลับมาบนพ้ืนผิวโลกเข้าที่ ตัวรับคล่ืน (geophone หรือ hydrophone) (รูป 15) ซึ่งหินในแต่ละชนิดมี คณุ สมบัติในการสะท้อนหรือหักเหห้คล่ืนไหวสะเทอื นท่ีเดินทางผ่านได้แตกตา่ งกัน ข้อมูลที่ได้จะแสดงผลท้ังในรูปของภาพตัดขวาง 2 มิติ และแบบจาลอง 3 มิติ ซ่ึง สามารถนามาแปลความเพื่อประเมินความหนาของชั้นหินและโครงสร้างทาง ธรณีวิทยาใต้ดิน (รปู 15) 21

สันติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี รูป 15. หลักการสารวจคลื่นไหวสะเทอื น 4.3. การเจาะสารวจ (Exploration Drilling) การเจาะสารวจ (exploration drilling) เป็นการเจาะในพ้ืนที่ที่แปล ความและประเมินว่ามีปิโตรเลียมอยู่ ซ่ึงการเจาะมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพิสูจน์ว่า พ้ืนท่ีสารวจมีปิโตรเลียมอยู่หรือไม่และมีปริมาณสารวจโดยประมาณเท่าใด โดย สว่ นใหญ่ใช้เคร่อื งแบบ เครอ่ื งเจาะหมุน (rotary drill) ติดตั้งอยู่บนฐานเจาะ ใช้ หัวเจาะชนิดฟันเฟืองต่อกับก้านเจาะ (รูป 16) โดยในขณะที่เจาะจะมีการอัดน้า โคลนผสมพิเศษลงไปดว้ ย เพ่ือช่วยหล่อล่ืนๆ ในระหว่างการเจาะ ช่วยลาเลียงเศษ ดินจากหลุมเจาะขึ้นมาปากหลุม และช่วยปอ้ งกันไม่ให้น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ ดันข้ึนมาปากหลุมซ่ึงเป็นอันตรายในขณะทาการเจาะ ลาดับการเจาะสารวจ ปิโตรเลียมมีขน้ั ตอน ดงั นี้ 22

สันติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี รูป 16. ตัวอยา่ งหวั เจาะสาหรบั เจาะชั้น หิ น ใ น ก า ร ส า ร ว จ ปิ โ ต ร เลี ย ม [www.wikimedia.org] 1) การเจาะสารวจ (exploration well) เป็นการเจาะสารวจหลุมแรกบน โครงสร้างที่คาดว่าอาจเป็นแหล่งปิโตรเลียมในแต่ละแห่ง เพ่ือตรวจสอบว่ามี ปิโตรเลียมอยู่จริงหรือไม่ โดยเจาะไปท่ีส่วนบนสุดของโครงสร้าง เพ่ือให้ประหยัด งบประมาณในการเจาะ 2) การเจาะหาขอบเขต (appraisal well) เป็นการเจาะสารวจเพิ่มเติมใน โครงสร้างที่เจาะพบหลักฐานของปิโตรเลียมจากหลุมสารวจ เพื่อประเมินขอบเขต พ้ืนที่ของโครงสร้างของช้ันหินกักเก็บปิโตรเลียมหรือประเมินปริมาณสารองใน เบ้ืองตน้ 4.4. การพัฒนาและผลิตปิโตรเลียม (Development and Production) เม่ือพบโครงสร้างแหล่งปิโตรเลียมซ่ึงประเมินว่ามีศักยภาพในการผลิตใน เชงิ เศรษฐศาสตร์ ขัน้ ตอนตอ่ มาคือ การทดสอบการผลิต (well testing) เพอ่ื ศึกษา สภาพการผลิต คานวณปริมาณสารองและปริมาณท่จี ะผลิตในแตล่ ะวัน รวมทั้งการ 23

สันติ ภยั หลบลี้ ทรัพยากรธรณี ตรวจสอบคุณภาพของปิโตรเลียม และศกึ ษาลกั ษณะโครงสรา้ งทางธรณีวิทยาของ แหล่งปิโตรเลียมและชัน้ หินเพมิ่ เติมให้ชัดเจน เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ นการออกแบบแทน่ ผลติ ปิโตรเลียม (รูป 17) และวางแผนการผลิตต่อไป รปู 17. แทน่ ผลติ ปโิ ตรเลยี ม (ก) ในทะเล (ข) บนบก นอกจาน้ี ทรัพยากรพลังงาน (energy resource) ยังรวมไปถึง ถ่าน หิน (coal) ซ่ึงเป็นหินตะกอนชนิดหน่ึงที่มีองค์ประกอบเป็นอินทรียวัตถุ > 60% ของน้าหนัก (รูป 18ก) โดย การเกิดถ่านหิน (coalification) เกิดจากการตกทับ ถมของซากพืชซากสัตว์ในสภาพแวดล้อมแบบ ที่ลุ่มชื้นแฉะ (swamp) (รูป 18ข) ซ่ึงมีปริมาณออกซิเจนต่า ทาให้ซากพืชซากสัตว์ไม่ถูกย่อยสลาย แต่จะอัดรวมกัน เป็น พีท (peat) (รูป 18ค) ต่อมาถูกแบคทีเรียย่อยสลายโดยแยกออกซิเจนและ ไฮโดรเจนออกจากส่วนประกอบ ทาให้คาร์บอนท่ีเหลือมีปริมาณมากขึ้น ซ่ึงโดย ปกติถ่านหินจะเกิดเป็น ช้ันถ่าน (seam) (รูป 18ง) โดยมีความหนาโดยเฉลี่ย 50 เซนติเมตร ถึง 30 เมตร 24

สนั ติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี รูป 18. ลกั ษณะและสภาพแวดลอ้ มการเกดิ ถ่านหิน ถา่ นหินจาแนกตามปรมิ าณธาตุคารบ์ อนและค่าพลังงานความร้อนเป็น 4 ชนิด (ตาราง 1) คือ 1) ลิกไนต์ (lignite) 2) สับบิทมู ินัส (subbituminous) 3) บิทูมินัส (bituminous) และ 4) แอนทราไซต์ (anthracite) โดยลิกไนต์ให้ ความร้อนต่าทสี่ ุด และแอนทราไซต์ใหค้ วามรอ้ นสูงท่สี ดุ ถ่านหินถือเป็นทรัพยากรพลังงานที่สาคัญของโลกและเป็นวัตถุดิบสาคัญ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี แต่ถือว่าเป็นเช้ือเพลิงท่ีสกปรกที่สุด ประกอบด้วย คาร์บอนมอนอกไซด์ 49.1% ท่ีเป็นสาเหตุท่ีทาให้อุณหภูมิของโลกสูงข้ึน ซัลเฟอร์ ออกไซด์ 16.4% ไนโตรเจนออกไซด์ 14.8% ทที่ าให้เกิดฝนกรด 25

สันติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี ตาราง 1. คณุ สมบตั ขิ องถา่ นหินชนดิ ต่างๆ ชนิด สี คาร์บอน นา้ อุณหภูมิ ไอระเหย (%) (oC) (%) พีท (peat) นา้ ตาล 15 75 50 10 ลกิ ไนต์ น้าตาล 30 45 70 25 (lignite) เข้ม สบั บทิ ูมินัส ดา 40 25 75 35 (subbituminous) บิทมู ินสั ดา 45-86 5-15 85 20-30 (bituminous) แอนทราไซต์ ดา 86-98 5-10 95 5 (anthracite) 26

สันติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี 5 พลังงานทางเลือก Alternative Energy พลังงานทางเลือก (alternative energy) หมายถึง พลังงานที่ไม่ได้ ผลิตหรือสกัดมาจากทรัพยากรพลังงานดังที่อธิบายในข้างต้น ถือเป็นพลังงานท่ีมี มากท่ีสุดในโลก โดยพลังงานบางอย่างสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ และบางอย่าง ไม่มีวนั หมด ซึ่งส่วนใหญ่พลังงานทางเลือกถือเป็นพลังงานสะอาดและไม่ก่อให้เกิด มลพษิ กับสิง่ แวดลอ้ ม ปจั จุบันนกั วิทยาศาสตร์คิดค้นและนาเสนอพลงั งานทางเลือก หลากหลายชนิด ซึ่งในแต่ละชนิดมีความเหมาะสมกับพื้นท่ีท่ีมีลักษณะทาง ธรณีวิทยาท่ีแตกต่างกัน เช่น พื้นท่ีท่ีมีกิจกรรมภูเขาไฟ (volcanic activity) จานวนมาก นิยมใช้พลังงานความร้อนใตพ้ ิภพ ในขณะท่ีพื้นทที่ อี่ ยตู่ ิดกบั มหาสมทุ ร ซ่งึ มีกระแสลมแรง นิยมใช้พลังงานลมเปน็ แหลง่ พลงั งานหลักของพน้ื ที่ 27

สันติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 5.1. พลังงานความร้อนใตพ้ ิภพ (Geothermal Energy) คือการดึงพลังงานความร้อนใต้พ้ืนผิวโลกมาใช้ต้มน้าเพ่ือใช้ไอน้าปั่น เครื่องป่ันกระแสไฟฟ้า (รูป 19) โดยนักวิทยาศาสตร์ประเมินว่าพลังงานท่ีได้จาก ความร้อนใต้พิภพนั้นมีมากกว่าทรัพยากรน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติถึง 50 เท่า ซึ่งในปัจจุบันมนุษย์สามารถใช้งานพลังงานความร้อนใต้พิภพลึกลงไปเพียง 10 กิโลเมตร คิดเป็นเพยี ง 1% ของพลงั งานความรอ้ นทัง้ หมดทมี่ ีอยภู่ ายในโลกเท่านนั้ รปู 19. แบบจาลองกระบวนการนาความรอ้ นใต้พภิ พมาผลิตกระแสไฟฟา้ ประเทศท่ีเป็นผู้นาในการใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพน้ีคือ ประเทศ ไอซ์แลนด์ (รูป 20) ซึ่งเป็นเกาะอยู่บนสันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก ทาให้มี กิจกรรมทางภูเขาไฟ และความร้อนใต้พื้นที่นั้นสูงกว่าปกติ โดยกระบวนการผลิต พลังงานความร้อนใต้พิภพนั้นถือว่าเป็นพลังงานสะอาดและไม่ก่อให้เกิดมลพิษกับ สิง่ แวดลอ้ ม แต่ใช้งบประมาณในการผลติ สงู มาก เนอ่ื งจากมีเพียงบางพืน้ ทีเ่ ทา่ นน้ั ท่ี 28

สนั ติ ภยั หลบลี้ ทรพั ยากรธรณี ความร้อนอยู่ใกล้กับพ้ืนผิวโลกโดยธรรมชาติ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับลึกจน กระบวนการนาความร้อนมาใช้น้นั ไมค่ มุ้ ทุน ในขณะท่ีดา้ นภยั พบิ ตั ิ การนาพลังงาน ความร้อนใต้พิภพมีโอกาสทาให้เกิดการทรุดตัวของแผ่นดิน เน่ืองจากการสูบน้า ร้อนขึ้นมา แตห่ ากมีการอดั ฉีดน้าปกตเิ ขา้ ไปแทนท่กี ส็ ามารถลดปญั หาได้ รูป 20. ประเทศไอซ์แลนด์ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณสันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก (Mid-Atlantic Ridge) จึงมีกิจกรรมภูเขาไฟสูงกว่าปกติ (ข) โรงไฟฟ้า พลงั งานความรอ้ นใต้พิภพจานวนมากในประเทศไอซแ์ ลนด์ ในบางพืน้ ท่ีนา้ ใตด้ ินมีอณุ หภูมอิ ุ่นกว่าน้าพนื้ ผิวในฤดูหนาวและเยน็ กว่าใน ฤดูร้อน ดังนั้นบางพื้นท่ีจึงมีการนาความแตกต่างนี้มาใช้ทาเคร่ืองทาความร้อน (heater) หรือแอร์ปรบั อากาศในอาคารได้เชน่ กัน 29

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี 5.2. พลงั งานชวี มวล (Biomass Energy) ชีวมวล (biomass) คือ อินทรียวัตถุที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจาก ธรรมชาติและ สามารถนามาใช้ผลิตพลังงานได้ อินทรียวัตถุเหล่าน้ีได้จากพืชและ สัตว์ต่างๆ เช่น พืชผลทางการเกษตร เศษวัสดุเหลือท้ิงการเกษตร ไม้และเศษไม้ (รูป 21) หรือของเหลือจากจากอุตสาหกรรมและชุมชน เช่น แกลบ ชานอ้อย เศษ ไม้ กากปาล์ม กากมันสาปะหลัง ซังข้าวโพด กาบและกะลามะพร้าว ส่าเหล้า เป็น ตน้ กระบวนการแปรรปู ชวี มวลไปเปน็ พลังงาน สามารถทาไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ รูป 21. (ก) ชีวมวล (ข) โรงงานผลิตกระแสไฟฟา้ จากชวี มวล 1) การเผาไหม้โดยตรง (combustion) เม่ือนาชีวมวลมาเผา ได้ความ รอ้ นตามค่าความร้อนของชีวมวลในแต่ละชนิด ความร้อนท่ีได้จากการเผาสามารถ นาไปใช้ผลิตไอน้าที่มีอุณหภูมิและความดันสูง ไอน้าถูกนาไปปั่นเคร่ืองป่ันไฟฟ้า ตัวอย่างชวี มวลทีน่ ิยมใช้เผาไหม้โดยตรง ไดแ้ ก่ เศษวัสดุทางการเกษตร และเศษไม้ 2) การผลิตก๊าซ (gasification) เป็นกระบวนการเปลี่ยนชีวมวล (biomass) ซึ่งเป็นของแข็งให้เปน็ ก๊าซเชื้อเพลงิ เรยี กวา่ กา๊ ซชีวภาพ (biogas) ซง่ึ 30

สันติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี มีองค์ประกอบเป็นก๊าซมีเทน ไฮโดรเจน และ คาร์บอนมอนอกไซด์ สามารถ นาไปใชผ้ ลิตไอนา้ เพื่อปนั่ เครื่องปัน่ ไฟฟา้ ได้ 3) การหมัก (fermentation) เป็นการนาชีวมวลมาหมักด้วยแบคทีเรีย ในสภาวะไร้อากาศ ชีวมวลจะถูกย่อยสลายและแตกตัวเกิด ก๊าซชีวภาพ (biogas) ที่มีองค์ประกอบของก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนใช้เป็นเช้ือเพลิง ในเคร่ืองยนต์สาหรบั ผลติ กระแสไฟฟา้ ได้ 5.3. พลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Energy) พลังงานนิวเคลียร์ (nuclear energy) คือ การผลิตพลังงานความร้อน ที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ของธาตุกัมมันตรังสี (รูป 22ก) ซึ่งพลังงานความร้อน จากปฏิกิริยานิวเคลยี ร์เกิดจากปฏิกิริยาหรอื การเปลี่ยนแปลงนิวเคลียสของอะตอม ของธาตุกมั มนั ตรงั สี 2 รูปแบบ คือ (รปู 22ข) 1) พลังงานนิวเคลียร์แบบฟิซชัน (fission) ซ่ึงเกิดจากการแตกตัวของ นวิ เคลียสธาตหุ นัก เชน่ ยูเรเนยี ม พลูโทเนียม เมื่อถูกชนด้วยนวิ ตรอนหรอื โฟตอน 2) พลังงานนิวเคลียร์แบบฟิวชัน (fusion) เกิดจากการรวมตัวของ นิวเคลียสธาตเุ บา เช่น ไฮโดรเจน ปัจจุบัน ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) ที่ใช้ผลิตพลังงาน นิวเคลยี ร์ คือ ธาตยุ ูเรเนียม ซ่งึ ในธรรมชาติมีอยู่ 2 ไอโซโทปหลัก คอื 1) ยเู รเรยี ม- 238 ประเมินว่ามี 99.3% ของปริมาณาธาตุยูเรเนียมโดยรวม แต่ ธาตุยูเรเรียม- 238 ไม่สามารถเกดิ ปฏิกิริยาฟสิ ชนั ซง่ึ เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าทใ่ี หค้ วามรอ้ นสงู ในขณะท่ีธาตุ ยเู รเนยี ม-235 ซง่ึ มีเพยี ง 0.7% แตส่ ามารถเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าฟิสชนั ได้ และผลติ พลงั งาน ได้ถึง 3.7 ลา้ นเท่า เมื่อเปรยี บเทียบกับถ่านหินในจานวนเทา่ กัน 31

สันติ ภัยหลบลี้ ทรัพยากรธรณี รูป 22. (ก) โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ข) รูปแบบของการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ [www.libretexts.org] 32

สันติ ภยั หลบล้ี ทรัพยากรธรณี พลังงานนิวเคลียร์ถือเป็นพลังงานสะอาด เม่ือเปรียบเทียบกับแหล่ง พลังงานอ่ืนๆ แต่มีข้อเสีย คอื ธาตุยเู รเนียมมี ค่าครึง่ ชีวติ (half-life) ท่นี านมาก ดังนั้นหากเกิดการรั่วไหลของธาตุยูเรเนียมหรือ กากนิวเคลียร์ชนิดอ่ืนๆ กัมมันตภาพรังสีจะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตเป็นเวลานาน เช่น เหตุการณ์ กมั มนั ตภาพรังสรี ่ัวไหลจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอรโ์ นบลิ ประเทศรสั เซยี ในปี พ.ศ. 2529 และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ ประเทศญ่ีปุ่น ในปี พ.ศ. 2554 ส่งผล ให้พ้ืนที่โดยรอบปนเปื้อนด้วยกัมมันตภาพรังสีในระดับที่เป็นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิต และไม่สามารถอาศยั อยูไ่ ด้ (รูป 23) รูป 23. (ก) นิคมเชอร์โนบิล [www.miamiherald.com] และ (ข) เมืองฟุกุชิมะ [www.time.com] ทงิ้ รา้ งหลงั จากเหตกุ ารณร์ ่ัวไหลของกัมมนั ตภาพรงั สี 5.4. พลงั งานแสงอาทติ ย์ (Solar Energy) พลังงานแสงอาทิตย์ (solar energy) หมายถึง การเปลี่ยนแสงอาทิตย์ ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานความร้อน ซึ่งมีหลักการในการเปลี่ยนแปลง พลังงานแสดงอาทติ ย์ 2 รูปแบบ คอื (รปู 24) 33

สนั ติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี รูป 24. (ก) เซลล์แสงอาทติ ย์ (ข) กระจกรวมแสงอาทิตย์ 1) เซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) (รูป 24ก) คือ สารก่ึงตัวนา (ธาตุ ซิลิกอน) ท่ีสามารถปล่อยประจุไฟฟ้าได้ โดยเซลล์แสงอาทิตย์มีสารก่ึงตัวนา 2 ช้ัน ชั้นท่ีหนึ่งถูกชาร์จที่ขั้วบวก และอีกช้ันหนึ่งถูกชาร์จที่ข้ัวลบ เม่ือแสงส่องมายังสาร กง่ึ ตัวนา สนามไฟฟ้าแล่นผา่ นทงั้ 2 ชั้น ทาให้ไฟฟ้าลนื่ ไหล เกดิ กระแสไฟฟ้าสลับ 2) พลังความร้อนจากแสงอาทิตย์ (solar heater) (รูป 24ข) คือ การ ใช้กระจกขนาดใหญ่รวมแสงอาทิตยใ์ หอ้ ยู่จดุ เดยี ว ความร้อนที่จดุ รวมแสงใช้ผลิตไอ น้าแรงดันสงู เพื่อใช้ปั่นเคร่อื งปนั่ กระแสไฟฟ้า 5.5. พลงั น้าข้ึน-นา้ ลง (Oceanic Tidal Energy) พลังน้าขึ้น-น้าลง (oceanic tidal energy) เป็นการผลิตพลังงานโดย อาศัยหลักของพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ เช่นเดียวกันกับเขื่อนพลังน้า แต่ อาศัยการต่างระดับของน้าข้ึน-น้าลง ที่เกิดข้ึนในแต่ละวัน โดยสร้างเขื่อนที่ปาก แม่น้าที่มีพื้นท่ีเก็บน้าได้มาก โดยเม่ือน้าข้ึนน้าจะไหลล้นเข้าสู่อ่างเก็บน้า และเม่ือ 34

สันติ ภยั หลบลี้ ทรพั ยากรธรณี น้าลง ประตูเขื่อนจะเปิดและน้าจะไหลออกจากอ่างเก็บน้าเพ่ือใช้ปั่นเครื่องปั่น กระแสไฟฟา้ เช่นเดียวกันกับการผลิตกาลงั ไฟฟ้าพลังน้าจากเข่ือนโดยทั่วไป ปี พ.ศ. 2513 ประเทศฝร่ังเศสประสบความสาเร็จในการสร้างเคร่ืองผลิต กระแสไฟฟ้าจากน้าข้นึ -น้าลง นยิ มทากับพื้นท่ีซ่ึงมีความต่างของน้าข้ึน-น้าลงไม่ต่า กว่า 5 เมตร แตป่ ระเทศไทยมคี วามตา่ งเพยี ง 2.5 เมตร จงึ ไมค่ มุ้ คา่ กบั การลงทุน รปู 25. หลกั การผลิตกระแสไฟฟ้าจากนา้ ข้ึน-นา้ ลง 35

สนั ติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี 5.6. พลังงานความรอ้ นของมหาสมทุ ร (Ocean Thermal Conversion) พลังงานความร้อนของมหาสมุทร (ocean thermal conversion, OTEC) เป็นพลังงานสะอาดที่อยู่ในระหวา่ งกาลงั พัฒนา โดยใช้ความแตกต่างของ อณุ หภมู ิอนุ่ ของนา้ พ้ืนผวิ ละความเย็นของมวลนา้ ท่ีอยู่ในระดับลึก (รูป 26) เป็นต้น กาเนิดในการป่ันเครือ่ งป่ันกระแสไฟฟ้า โดยอาจจะใชน้ ้าอุ่นโดยตรงหรือนา้ อนุ่ เป็น ตวั ทาให้แอมโมเนียระเหยเป็นไอและปนั่ เครื่องป่ันไฟฟ้า ส่วนน้าเยน็ ใช้ลดอณุ ฆภูมิ ไอน้า ซงึ่ ไอนา้ ที่ได้จะเป็นนา้ กล่นั บริสุทธิ์ จงึ ถือเปน็ พลงั งานสะอาด รูป 26. แผนท่โี ลกแสดงความแตกตา่ งของอุณหภมู ิของน้าที่พ้ืนผิวมหาสมทุ รและที่ ระดบั ความลึก 1,000 เมตร [StefKa81] นอกจากนี้คลนื่ ในทะเลยังสามารถนามาผลติ พลงั งานไดเ้ ชน่ กนั โดยการใช้ กังหันติดไว้อยู่ใต้น้า เม่ือกระแสคลื่นน้าพัดเข้ามา ทาให้กังหันหมุนและผลิต กระแสไฟฟา้ (รูป 27ก) เชน่ เดียวกับหลกั การของพลงั งานลม (รปู 27ข) 36

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี รูป 27. หลักการผลิตกระแสไฟฟ้าจาก (ก) พลังงานคล่ืนในมหาสมุทร และ (ข) พลังงานลม 37

สันติ ภยั หลบลี้ ทรัพยากรธรณี แบบฝกึ หัด วตั ถปุ ระสงคข์ องแบบฝกึ หัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเน้ือหา และ 2) คน้ คว้าความรูเ้ พิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสอ่ื สารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน- ผู้อ่าน เทา่ น้นั โดยไม่มเี จตนาวเิ คราะห์ขอ้ สอบเก่าหรือแนวขอ้ สอบแต่อย่างใด 1) แบบฝกึ หดั จบั คู่ คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคาบรรยายด้านขวา และเติมในช่องวา่ งด้านซ้าย ของแต่ละข้อทม่ี คี วามสัมพันธก์ นั 1. ____ อะลูมเิ นยี ม (aluminum) ก. bauxite 2. ____ โครเมยี ม (chromium) ข. native silver 3. ____ ทองแดง (copper) ค. galena 4. ____ ทองคา (gold) ง. pitchblende 5. ____ เหลก็ (iron) จ. hematite 6. ____ ตะกั่ว (lead) ฉ. chromite 7. ____ แมงกานีส (manganese) ช. chalcopyrite 8. ____ (mercury) ซ. pyrolusite 9. ____ นกิ เกิล (nickel) ฌ. cinnabar 10. ____ เงนิ (silver) ญ. sphalerite 38

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 11. ____ ดีบุก (tin) ฎ. native gold 12. ____ ยเู รเนียม (uranium) ฏ. pentlandite 13. ____ สงั กะสี (zinc) ฐ. cassiterite 2) แบบฝึกหัดถกู -ผดิ คาอธิบาย : เติมเคร่ืองหมาย T หน้าข้อความท่ีกล่าวถูก หรือเติมเครื่องหมาย F หน้าขอ้ ความท่ีกล่าวผดิ 1. ____ เชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ มี ปรมิ าณสารอง (reserve) ที่จากดั 2. ____ กากของเสียจากการทาเหมืองโดยส่วนใหญ่ถูกปลดปล่อยหรือ รัว่ ไหลไปเปน็ กรดความเข้มข้นสูงสู่น้าในสิง่ แวดล้อม 3. ____ โดยปกติก๊าซธรรมชาติจะสะสมตัวอยู่ใต้ฐานน้ามันดิบ เน่ืองจาก กา๊ ซธรรมชาตมิ ีความหนาแน่นมากกว่าน้ามนั ดิบ 4. ____ กระบวนการกลั่นน้ามันดิบก่อให้เกิดผลกระทบด้นส่ิงแวดล้อม เพยี งเลก็ นอ้ ย 5. ____ การทาเหมอื งแบบเปิดเป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ มในบริเวณข้างเคียง มากกวา่ กนั ทาเหมืองใต้ดนิ 6. ____ ด้วยอัตราการใช้ในปัจจุบัน ประเมินว่าปริมาณน้ามันสารอง สามารถใช้ต่อไปไดอ้ กี ประมาณ 40-50 ปี 7. ____ ก๊าซธรรมชาติ (natural gas) คอื ชนดิ หน่งึ ของเช้อื เพลงิ ฟอสซิล 8. ____ การทาเหมืองโลหะสามารถส่งผลต่อทรัพยากรน้าใน พ้ืนท่ี ขา้ งเคยี ง 39

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 9. ____ หินประดับ (dimension stone) คืออีกหน่ึงทรัพยากรธรณีที่ สาคญั และมมี ลู ค่าทางเศรษฐกิจ 10. ____ หนิ ตน้ กาเนดิ (source rock) โดยส่วนใหญ่จะเปน็ หนิ ทราย 11. ____ ช้ันหินกักเก็บปิโตรเลียมชั้นหินคดโค้งปะทุนหงาย (syncline trap) เปน็ รูปแบบหนงึ่ ของ ชัน้ หนิ กักเกบ็ ปิโตรเลียม (trap) 12. ____ เพ ช ร ใน หิ น คิ ม เบ อ ร์ ไล ต์ ( kimberlite) คื อ ตั ว อ ย่ า ง ก ระ บ วน ก ารเกิ ด แ ห ล่ งแ ร่แ บ บ แ ย ก ชั้ น (magmatic segregation deposit) 13. ____ แหล่งแรแ่ บบเพกมาไทต์ (pegmatite deposit) คือ แหล่งแร่ ที่เกิดจากแมกมาตกผลึกลาดับส่วน และส่วนท่ีเหลือมีปริมาณ ของสารทม่ี ีสภาพเป็นไอสงู เชน่ น้า โบรอนและฟลอู อรนี 14. ____ ทองคา เงิน ทองแดง ตะก่ัว ดีบุก สังกะสี สามารถเกิดข้ึนได้ใน ก ร ะ บ ว น ก า ร เกิ ด แ ห ล่ ง แ ร่ แ บ บ น้ า ย า ค ว า ม ร้ อ น (hydrothermal deposit) 15. ____ แหล่งแร่แบบน้ายาความร้อน (hydrothermal deposit) โดยส่วนใหญพ่ บในบริเวณแผน่ เปลือกโลกเคล่ือนท่ีเข้าหากัน 16. ____ แร่ซัลไฟด์ โดยส่วนใหญ่สะสมตัวบริเวณ ปล่องควันดาใต้ มหาสมทุ ร (black smoker) ตามแนวสันเขากลางมหาสมทุ ร 17. ____ ทองคาและทับทิมสามารถเกิดได้ใน แหล่งแร่แบบลานแร่ (placer deposit) 18. ____ หนิ สการ์น (skarn) หมายถงึ หินแปรสภาพโดยการแทนท่ี ทาให้ เกิดแหลง่ แรท่ ส่ี าคญั ได้แก่ ดบี กุ ตะกวั่ สงั กะสแี ละทองแดง 40

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 19. ____ ก้อนกลมแมงกานีส (manganese nodule) เกิดจาก แหล่ง แร่จากการระเหย (evaporate deposit) 20. ____ ทาร์ (tar) คอื หินทรายทีม่ ีไฮโดรคาร์บอนความหนดื สูงปะปนอยู่ ดว้ ย 3) แบบฝึกหดั ปรนัย คาอธิบาย : ทาเครื่องหมาย X หน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว จาก ตวั เลอื กทีก่ าหนดให้ 1. ข้อใดคือทรพั ยากรทสี่ ามารถฟ้นื ฟูกลับมาใหม่ได้ ก. เหลก็ (iron) ข. ปโิ ตรเลียม (petroleum) ค. ถา่ นหิน (coal) ง. นา้ ใตด้ ิน (groundwater) 2. ขอ้ ใดคือปรมิ าณโดยรวมของทรัพยากรทง้ั ที่คน้ พบและยงั ไมพ่ บ ก. stuff ข. reservoir ค. resource ง. reserve 3. ขอ้ ใดคือปริมาณของทรัพยากรทคี่ น้ พบและสามารถนามาผลิตไดค้ มุ้ ทนุ ในทาง เศรษฐศาสตร์ ก. stuff ข. reservoir ค. resource ง. reserve 4. ข้อใด ไมใ่ ช่ ชนิดของถา่ นหิน (coal) ก. แอนทราไซต์ (anthracite) ข. บิทมู นิ สั (bituminous) ค. ลกิ ไนต์ (lignite) ง. พีท (peat) 41

สันติ ภยั หลบล้ี ทรัพยากรธรณี 5. สินแร่โลหะชนิดใดทเ่ี กดิ จากกระบวนการตกผลกึ ของแร่ในกระเปาะแมกมา ก. โครเมยี ม (chromium) ข. ทองคา (gold) ค. เงิน (silver) ง. ทองแดง (copper) 6. กระบวนการธรณีแปรสณั ฐานแบบใด ไมใ่ ช่ แหลง่ สนิ แร่โลหะ ก. เขตมุดตวั ของแผน่ เปลือกโลก ข. จุดรอ้ น (hot spot) (subduction zone) . ค. หม่เู กาะภูเขาไฟรปู โค้ง ง. สนั เขากลางมหาสมุท (volcanic island arc) (mid-oceanic ridge) 7. ข้อใดใช้ ตะกวั่ (Pb) เปน็ วัสดหุ ลกั ในการผลิต ก. แบตเตอร่ี ข. นา้ มันเบนซนิ ค. ดนิ สอ ง. เหรยี ญกษาปณ์ 8. ถา่ นหิน (coal) ชนิดใดทมี่ ีคณุ ภาพต่าทสี่ ดุ ก. บทิ มู ินสั (bituminous) ข. แอนทราไซต์ (anthracite) ค. ลกิ ไนต์ (lignite) ง. ไม่มขี อ้ ใดถกู 9. ข้อใดคือแหล่งพลงั งานในการผลิตกระแสไฟฟา้ จากพลงั งานนวิ เคลียร์ ก. ถ่านหิน (coal) ข. แร่บอกไซต์ (bauxite) ค. แรย่ เู รเนยี ม (uranium) ง. แรท่ องแดง (copper) 10. ข้อใดคือปัจจัยสาคญั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความไมแ่ นน่ อนของพลังงานทดแทนในอนาคต ก. ราคานา้ มันและก๊าซธรรมชาตทิ ่ี ข. ความขาดแคลนทรพั ยากรนา้ สงู ข้ึน ค. การใช้เช้ือเพลิงฟอสซลิ อยา่ ง ง. มกี ารใช้พลังงานทฟ่ี ืน้ ฟกู ลบั มา จากดั ใหม่ได้เพ่ิมขึ้น 42

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 11. ทรัพยากรชนดิ ใดผลติ ไดจ้ ากน้าในมหาสมทุ ร ก. หินปูน (limestone) ข. หินทราย (sandstone) ค. แรโ่ คบอลต์ (cobalt) ง. แร่โบรมีน (bromine) 12. ขอ้ ใดคือทรัพยากรที่ไมส่ ามารถฟืน้ ฟูกลบั มาใช้ใหม่ได้ ก. ลม ข. นา้ ค. พชื ผกั ง. ถ่านหินและแร่ 13. แหลง่ แร่แบบนา้ ยาความร้อน (hydrothermal deposit) โดยปกติ ประกอบด้วยกลุม่ แรช่ นิดใด ก. ออกไซด์ (oxide) ข. ซลั ไฟด์ (sulfide) ค. ฟอสเฟต (phosphate) ง. ซัลเฟต (sulfate) 14. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ เชือ้ เพลิงฟอสซลิ ก. ก๊าซธรรมชาติ (natural gas) ข. ปิโตรเลยี ม (petroleum) ค. ถา่ นหิน (coal) ง. แร่ยเู รเนียม (uranium) 15. กา๊ ซชวี ภาพ (biogas) เกดิ จากกระบวนการใด ก. fermentation ข. degradation ค. putrification ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก 16. ข้อใด ไม่ใช่ ทรัพยากรแร่อโลหะ (non-metallic mineral) ก. แกรไ์ ฟต์ (graphite) ข. ตะกว่ั (lead) ค. ยิปซั่ม (gypsum) ง. คาโอลไี นต์ (kaolinite) 17. สนิ แร่ (ore) ใช้ในการกล่าวถงึ ทรพั ยากรชนดิ ใด ก. เกลอื ข. อโลหะ ค. โลหะ ง. ปิโตรเลียม 43

สันติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี 18. ทรัพยากรแร่ และ ปริมาณสารองแร่ แตกต่างกันอยา่ งไร ก. ประสิทธภิ าพของเทคโนโลยี ข. ความเปน็ ไปได้ในทาง ผลติ ในปจั จบุ นั เศรษฐศาสตร์ ค. ตาแหน่งของแร่ ง. กฏหมายควบคุม 19. หนิ คิมเบอรไ์ ลต์ (kimberlite) สมั พันธ์กบั ทรัพยากรแร่ชนดิ ใด ก. เพชร ข. ทองคา ค. เงนิ ง. ปโิ ตรเลียม 20. ทรัพยากรแรช่ นดิ ใดท่ีสัมพนั ธก์ บั กระบวนการเกดิ แบบ การแทรกดันเปน็ ชนั้ (layered intrusion) ก. เพชร ข. ปโิ ตรเลยี ม ค. แร่โลหะ ง. แรอ่ โลหะ 21. ขอ้ ใดคอื แหลง่ กาเนดิ โดยทวั่ ไปของผลกึ แร่ขนาดใหญ่ของแร่ควอตซ์และแร่ เฟลด์สปาร์ ก. เพกมาไทต์ (pegmatite) ข. หินคมิ เบอรไ์ ลต์ (kimberlite) ค. การแทรกดนั เปน็ ชน้ั ง. แหล่งแร่แบบนา้ ยาความร้อน (layered intrusion) (hydrothermal deposit) 22. ขอ้ ใดคอื ทรพั ยากรท่สี ามารถฟ้ืนฟูกลบั มาใช้ใหมไ่ ด้ ก. ดิน ข. น้า ค. พชื และสตั ว์ ง. ถูกทุกขอ้ 23. ข้อใดสะสมตัวในบรเิ วณ แหล่งแรแ่ บบลานแร่ (placer deposit) ก. หินปูน (limestone) ข. หินเกลือ (หิน salt) ค. ทองคา (gold) ง. แรค่ วอตซ์ (quartz) 44

สันติ ภยั หลบล้ี ทรัพยากรธรณี 24. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ทรัพยากรทเี่ กิดจาก การแปรสภาพบริเวณไพศาล (regional metamorphism) ก. หินดินดาน ข. หินอ่อน ค. แร่ใยหนิ ง. หินชนวน 25. ขอ้ ใดคือกระบวนการทที่ าให้กรวด ทรายและดนิ แยกออกจากนั อยา่ งบรสิ ุทธ์ิ ก. กจิ กรรมของน้ายาความรอ้ น ข. การคดั ขนาดโดยแรงนา้ (hydrothermal activity) (hydraulic sorting) ค. การตกผลึกของแร่ ง. การแปรสภาพบริเวณไพศาล (crystal settling) (regional metamorphism) 26. ทองแดง (copper) โดยสว่ นใหญ่เกดิ ในสภาพแวดลอ้ มการสะสมตัวของแร่ แบบใด ก. เพกมาไทต์ (pegmatite) ข. หนิ คมิ เบอร์ไลต์ (kimberlite) ค. การแทรกดนั เป็นชน้ั ง. แหลง่ แร่ซัลไฟด์ชน้ั หนา (layered intrusion) (massive sulphide deposits) 27. แรใ่ ยหนิ (asbestos) โกเมน (garnet) และแรแ่ กร์ไฟต์ (graphite) มีการ สะสมตัวแบบใด ก. ผลึกแรแ่ ยกตัวออกจากแมกมา ข. สะสมตวั ตามธารนา้ ค. เกดิ จากการไหลเวยี นของนา้ ยา ง. มคี วามรอ้ นและความดนั เขา้ ความร้อน (hydrothermal) มาเกีย่ วขอ้ ง 28. วัสดุที่ใช้สร้าปราสาทขอมโบราณเกิดจากการสะสมตัวของแหล่งแรแ่ บบใด ก. หนิ คิมเบอร์ไลต์ (kimberlite) ข. ลานแร่ (placer) ค. ศิลาแลง (laterite) ง. เพกมาไทต์ (pegmatite) 45

สันติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี 29. หมวกเหลก็ (iron hat) เปน็ ตวั บง่ ชส้ี าคญั ของการเกดิ แหลง่ แรช่ นิดใด ก. ทองแดงออกไซด์ ข. ทองแดงซัลไฟด์ (copper oxide) (copper sulfide) ค. ทองแดงคาร์บอเนต ง. ทองแดงซัลเฟต (copper carbonate) (copper sulfate) 30. ข้อใด ไมใ่ ช่ แร่มีคา่ ทางเศรษฐกิจทส่ี ะสมตัวในสภาพแวดลอ้ มแบบมหาสมุทร ก. ยปิ ซ่มั (gypsum) ข. เฮไลด์ (halite) ค. โปแตสเซยี มครอไรด์ ง. ทองแดงซลั ไฟด์ (potassium chloride) (copper sulfide) 31. แร่ชนดิ ใดท่ีไดจ้ าก สายแร่ (vein) และ ทางแร่ (lode) ก. สังกะสี (zinc) ข. หนิ ปนู (limestone) ค. แรร่ ูไทต์ (rutile) ง. แรไ่ มกา (mica) 32. โดยสว่ นใหญ่แหล่งแร่จะมีการสะสมตวั ของแบบเปน็ ชน้ั ในหนิ ชนดิ ใด ก. หนิ อัคนี ข. หินแปร ค. หนิ ตะกอน ง. ไมม่ ีข้อใดถกู 33. แรช่ นดิ ใดท่ีได้ การระเหย (evaporation) ในพน้ื ท่ีแหง้ แลง้ ก. ยิปซั่ม (gypsum) ข. สังกะสี (zinc) ค. ถ่านหิน (coal) ง. ทองแดง (copper) 34. แรช่ นิดใดทเี่ กิดจากการย่อยสลายของพน้ื ผิวหิน และหลงเหลอื วสั ดทุ ผ่ี ุพงั ไว้ ก. ทองคา (gold) ข. แรบ่ อกไซต์ (bauxite) ค. สงั กะสี (zinc) ง. ถา่ นหิน (coal) 46

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรัพยากรธรณี 35. แรช่ นิดใดมโี อกาสพบในชั้นทรายทส่ี ะสมตวั อยู่ตามพน้ื ของรอ่ งเขาหรือร่องนา้ ก. ทองคา (gold) ข. ทองแดง (copper) ค. ซลั เฟอร์ (sulfer) ง. หินออ่ น (marble) 36. ขอ้ ใดคือทรัพยากรทีฟ่ ้ืนฟกู ลบั มาใช้ใหม่ได้ ก. ผลผลติ ทางการเกษตร ข. ทรพั ยากรนา้ ค. พลังงานแสงอาทติ ย์ ง. ถกู ทุกขอ้ 37. ข้อใดคอื แหล่งพลังงานทางเลอื กในปัจจุบนั ก. พลงั งานแสงอาทติ ย์ ข. พลังงานนา้ ค. พลงั งานลม ง. ถกู ทกุ ขอ้ 38. ข้อใดใช้ทรพั ยากร ทราย (sand) และกรวด (gravel) มากท่สี ุด ก. การปรับปรุงพน้ื ทช่ี ายหาด ข. อุตสาหกรรมเซรามิค ค. อุตสาหกรรมกอ่ สรา้ ง ง. อุตสาหกรรมแก้ว 39. ฟอสเฟต (phosphate) เปน็ วสั ดุทีส่ าคญั สาหรบั อุตสาหกรรมชนดิ ใด ก. ผลิตยทุ ธภัณฑ์ ข. ผลติ ป๋ยุ ค. ผลติ สสี กรีนเสอ้ื ง. ไมม่ ีข้อใดถูก 40. ปรมิ าณสารองของวสั ดุทางธรณีวทิ ยาจะใช้ไดย้ นื ยาวไดอ้ ยา่ งไร ก. ใช้ให้มีประโยชน์สูงท่ีสดุ ข. น้ากลบั มาใชใ้ หม่ ค. ใชว้ ัสดุทดแทนเท่าท่ีเปน็ ไปได้ ง. ถกู ทุกขอ้ 41. การสะสมตัวของ แรฟ่ อสฟอไรท์ (phosphorite) ประกอบดว้ ยแร่ดัชนีอะไร ก. ยปิ ซ่ัม (gypsum) ข. แคลไซต์ (calcite) ค. อพาไทต์ (apatite) ง. ครอไรท์ (chlorite) 47

สนั ติ ภัยหลบล้ี ทรพั ยากรธรณี 42. ผลกระทบท่เี ป็นอนั ตรายจากการทาเหมืองมีหลากหลายรปู แบบยกเวน้ ข้อใด ก. การปนเปอ้ื นจากสารละลายกรด ข. การรกุ ล้าของนา้ เคม็ จากทะเล ค. มลสภาวะจากโลหะหนกั ง. การทรุดตัวและถล่มของพืน้ ดนิ 43. ข้อใดคือปจั จยั ที่สามารถทาให้วัสดทุ างธรณวี ิทยานนั้ มีค่าเพม่ิ ขนึ้ ก. การคน้ พบแหล่งแรใ่ หม่ ข. เทคโนโลยีการแยกแร่ดีขึ้น ค. มีการใหค้ วามสนใจแร่ใหมม่ ากขนึ้ ง. ถูกทุกข้อ 44. ขอ้ ใดคือแหลง่ แรซ่ ่งึ กอ่ ตัวข้ึนสัมพนั ธก์ ับนา้ พรุ อ้ นใกล้สนั เขากลางมหาสมุทร ก. การระเหย (evaporate) ข. กระบวนการแมกมาตกิ (magmatic) ค. เพกมาไทต์ (pegmatite) ง. น้ายาความร้อน (hydrothermal) 45. โรงงานผลิตแบบใดสามารถผลิตท้ังพลังงานและปยุ๋ ธรรมชาติ ก. thermal plant ข. nuclear plant ค. biogas plant ง. hydroelectric plant 46. หากนา้ ทะเลถูกทาใหน้ ้าระเหยออกไปจะเหลือแรช่ นดิ ใด ก. แรก่ ลบี หินดา (biotite) และ ข. แร่ยปิ ซั่ม (gypsum) และเฮไลด์ ควอตซ์ (quartz) (halite) ค. แรฟ่ ลูออไรท์ (fluorite) และ ง. แคลไซต์ (calcite) และชาลโคไพ ซัลไฟด์ของตะก่ัว (galena) ไรต์ (chalcopyrite) 47. บริษัททาเหมืองวางแผนการทาเหมอื งโดยไมเ่ อาแร่ทองแดงมาใช้ ขอ้ ใดคือ เหตุผลท่ดี ีทสี่ ดุ ทไี่ มค่ วรนาทองแดงมาผลิตในการทาเหมอื ง ก. มลู คา่ ของทองแดงนนั้ ต่าเกนิ ไป ข. ทองแดงเข้มขน้ มากเกนิ ไป ค. ทองแดงมโี อกาสปนเปอื้ นกบั แร่ ง. ตลาดทองแดงอยูใ่ กลเ้ หมือง ที่เหมืองต้องการผลติ มากเกินไป 48

สนั ติ ภัยหลบลี้ ทรพั ยากรธรณี 48. เมื่อพบแร่ทองแดงความเข้มข้นสงู อยู่ตามสายแร่โดยรอบหนิ แกรนติ กระบวนการเกดิ แรแ่ บบใดท่เี ปน็ สาเหตุการเกิดแรท่ องแดง ก. การระเหย ข. การย่อยและดูดซมึ ของแมกมา (evaporation) (magma assimilation) ค. การสะสมตัวแบบลานแร่ ง. แหลง่ แร่แบบนา้ ยาความร้อน (placer deposition) (hydrothermal deposition) 49. แรบ่ อกไซต์ (bauxite) คอื แหลง่ กาเนิดของแร่โลหะชนิดใด ก. อะลมู ิน่มั (aluminum) ข. สงั กะสี (zinc) ค. เหล็ก (iron) ง. นกิ เกลิ (nickel) 50. พลงั งานนิวเคลยี ร์ ผลิตมาจาก สินแร่ (ore) ชนดิ ใด ก. ทองแดง (copper) ข. ยูเรเนียม (uranium) ค. ทอเรียม (thorium) ง. โปแตสเซยี ม (potassium) 51. ขอ้ ใดท่ีคือตัวอย่างแหลง่ แรเ่ นื่องจากกระบวน การพพุ ัง (weathering) และ การกดั กร่อน (erosion) ก. ลานแร่ของทองคา ข. ทงั สเตนจากกระบวนการแมกมาติก (gold placer) (magmatic tungsten) ค. ทองแดงเน้อื ดอก ง. หินปนู ทมี่ ฟี อสซลิ เปน็ องคป์ ระกอบ (porphyry copper) (fossiliferous limestone) 52. ข้อใดคอื แหล่งแร่ทโี่ ดยส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการระเหย ก. ทองคาและเงิน ข. แคลไซตแ์ ละยปิ ซมั่ ค. ซัลไฟดข์ องตะกวั่ และสปาเลอไรท์ ง. ชาลโคไพไรต์และบอรน์ ไนท์ 49