สรุปเน้อื หา . แบบฝึกหดั วิทยาศาสตรโ์ ลก 11 ฝ่ งั และหาด COAST AND SHORE สันติ ภัยหลบลี้
สนั ติ ภัยหลบล้ี ฝ่ังและหาด วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพอ่ื จาแนกลกั ษณะของชายฝั่งและชายหาด 2. เพอ่ื ทาความเขา้ ใจกระบวนการผุพังโดยคลื่นน้า 3. เพือ่ ทาความเข้าใจกระบวนการการสะสมตวั ของตะกอนโดยคลืน่ นา้ 4. เพอ่ื ทราบแนวทางและวิธีปอ้ งกนั การกดั เซาะชายฝง่ั สารบญั หนา้ สารบัญ 2 1. คลื่นนา้ (Water Wave) 7 2. กระแสน้าขนึ้ -น้าลง (Tidal Current) 13 3. ฝง่ั (Coast) 17 4. หาด (Shore) 20 5. การกัดกรอ่ นและสะสมตวั โดยคลน่ื 25 (Wave Erosion and Deposition) 30 6. การป้องกันชายฝงั่ (Coastal Stabilization) 44 แบบฝึกหัด เฉลยแบบฝึกหัด 1
สนั ติ ภัยหลบล้ี ฝัง่ และหาด 1 คลื่นน้ำ Water Wave คล่ืนน้า (water wave) ในมหาสมทุ รการกระเพือ่ มขน้ึ -ลงของผิวนา้ เกดิ จากการถ่ายทอดพลงั งานจากลมเป็นหลกั โดยเรม่ิ ต้นจากลมพดั อ่อนทาให้พื้นน้าที่ ราบเรียบกลายเป็น ระลอกคลืน่ (ripple) ตอ่ มาผิวน้าท่ีขรขุ ระจากระรอกคลื่นทา ให้ลมปะทะกับน้าได้ง่ายขึ้นทาให้คลื่นใหญ่ขึ้นตามลาดับ ขึ้นอยู่กับความเร็วและ ความยาวนานของลมที่เข้าปะทะ (รูป 1ก) โดยเมื่อคลื่นเดินทางผ่านน้า มวลน้าจะ เคลือ่ นทีแ่ บบหมุนวนแต่จะไม่มกี ารเดนิ ทางของมวลน้า สังเกตไดจ้ ากวัตถใุ ดๆ หรือ เรือเมื่อลอยอยู่ในมหาสมุทรจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมตามจังหวะการกระเพื่อมของ คล่นื โดยที่ไม่มีการเปลยี่ นแปลงตาแหน่ง (รปู 1ข) 2
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝั่งและหาด รูป 1. (ก) คลน่ื นา้ ในมหาสมทุ รเปิด (ข) กลไกการเคลือ่ นทข่ี องคล่ืนน้า (ค) คล่ืนน้า บรเิ วณชายฝั่ง องค์ประกอบของคลื่นน้านั้นประกอบด้วย 1) ยอดคลื่น (crest) และ 2) ท้องคลื่น (trough) ซึ่งระยะห่างระหว่างยอดคลื่นถึงยอดคลื่นข้างเคียงหรือท้อง คลื่นถึงท้องคลื่นข้างเคียงคือความยาวคลื่น (wavelength) (รูป 2) ซึ่งการย้าย มวลน้าในมหาสมุทรเปิดนั้นจะมีลึกลงไปประมาณ ½ เท่าของความยาวคลื่น เรียกว่า ฐานคลื่น (wave base) ซึ่งจะลึกลงไปมากกว่าท้องคลื่นที่เห็นบนผิวน้า (รูป 2) เมือ่ คล่นื เดินทางเข้าใกล้ชายฝ่งั และฐานคลน่ื เร่ิมสมั ผัสกบั พน้ื หาด (ความ ลึก ½ เท่าของความยาวคลื่น) คลื่นจะเดินทางช้าลง ความยาวคลื่นโดยรวมสั้นลง 3
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝั่งและหาด ยอดคลื่นชันขึ้น การย้ายมวลนา้ ที่เคยเป็นแบบวงกลมจะแหลมขึน้ และเอียงเท (รูป 2) จากนั้นจะเกิดการแตกของคลื่นในบริเวณ โซนกระดานโต้คลื่น (surf zone) (รปู 2 และ 11.1ค) ซ่งึ ผลจากการทีค่ ลนื่ เดนิ ทางกระทบแผน่ ดนิ อยา่ งตอ่ เน่ืองทาให้ พื้นท่ีบรเิ วณรอยต่อระหว่างน้าทะเลและฝั่ง มีพื้นทีซ่ ่ึงแตกต่างกันแคบๆ และมีการ กาหนดชอ่ื เรียก สว่ นต่างๆ ดังนี้ (รูป 2) 1) หนา้ หาด (beach) หรือ หนา้ หาด (beach face) คือ แนวหรอื โซน แคบๆ ที่มีการกระเพื่อมของคลื่นน้าในช่วงเวลาใดๆ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลาตามกระแสน้าขึ้น-น้าลง โดยระดับต่าที่สุดเรียกว่า ชายหาดต่าที่สุด (low-tide shoreline) และระดับน้าสูงที่สุดที่คลื่นเคลื่อนที่ขึ้นไปถึง เรียกว่า ชายหาดสูงทสี่ ดุ (high-tide shoreline) 2) ชายฝั่ง (coastline) คือ พื้นที่สูงที่สุดที่เคยได้รับผลกระทบจาก กจิ กรรมของคลน่ื น้า 3) ฝัง่ (coast) เปน็ ส่วนของพื้นดนิ ทตี่ ิดกบั ทะเล แต่ไม่มกี ารเปล่ียนแปลง เนอ่ื งจากการกระทาของทะเล โดยมขี อบเขตตง้ั แต่ ชายฝัง่ (coastline) เข้าไปทาง แผ่นดิน โดยปกตบิ รเิ วณชายฝง่ั โดยส่วนใหญพ่ บเปน็ เนนิ ทราย (sand dune) ทีเ่ กิด จากกระบวนการพัดพาตะกอนทรายบริเวณหาดขึน้ มาตกทับถมกันโดยลม (รูป 2) 4) หาด (shore) คือ บริเวณพื้นที่ปกคลุมระหว่างชายหาดที่ระดับนา้ ลง ต่าที่สุด (low-tide shoreline) ถึงบริเวณท่ีคลื่นสามารถเคลื่อนที่ไปถึงหรือชายฝัง่ (coastline) ซึ่งบริเวณหาดจะไดร้ ับผลกระทบจากคลื่นจากน้าทะเลที่พัดเข้ามาใน รูปแบบแตกต่างกัน นักวิทยาศาสตร์จาแนกลักษณะคลื่นที่เข้ากระทา 2 ลักษณะ คือ 4
สนั ติ ภยั หลบลี้ ฝงั่ และหาด รปู 2. การแบง่ เขตชายฝ่งั 1) กระแสคลืน่ ขนานฝ่งั (longshore current) คือ คลนื่ ทเ่ี คล่อื นทเี่ ปน็ มุมกับชายฝั่ง ทาให้คลื่นซัดหาด (swash) ซึ่งหมายถึง คลื่นที่ม้วนตัวขึ้นฝั่ง และ คลื่นกลับหาด (backwash) คือ คลื่นที่ม้วนตัวกลับลงทะเล เกิดการเคลื่อนที่ใน แนวเฉียงไปด้านข้างเป็นระรอก (รูป 3ก) ซึ่งการกลับไป-มาของคลื่นซัดหาดและ คลื่นออกหาดทาให้เกิดการหอบเม็ดทรายเลื่อนออกไปด้านข้างขนานกับไปกับ ชายฝ่งั เป็นระยะ (longshore drift หรือ littoral drift) (รปู 3ก) บางพ้นื ทีก่ ระแสคล่ืนขนานฝั่งสามารถเคล่อื นทรายไปได้ ไกลเปน็ กิโลเมตร/วัน 2) กระแสคลื่นกว้าน (rip current) หมายถึง คลื่นหัวแตกที่พาน้าซัด เข้าฝั่ง (รูป 3ข) บางครั้งพื้นไม่เรียบน้าไหลหลงไม่ได้ตลอดแนว เนื่องจากบางแนว เป็นเหมือนกับสันทรายตื้นใต้น้า ทาให้น้าไหลตามช่องอย่างรวดเร็ว ซึ่งบางพื้นท่ี 5
สันติ ภัยหลบล้ี ฝงั่ และหาด อาจมีความเร็ว โดยปกติจุดที่เกิดกระแสน้าแบบนี้เป็นอันตรายต่อคนที่ว่ายน้าเล่น โดยส่วนใหญ่เกิดอยู่ระดับขา บางครั้งจึงเรียกว่า คลื่นปลายเท้า (underthrow, rip tide, sea pause) หากพบกระแสคลืน่ กวา้ นให้ว่ายขนานฝง่ั รูป 3. (ก) แบบจาลองและลักษณะจริงของกระแสคลื่นขนานฝั่งในรัฐควีนสแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย [jabiru] (ข) แบบจาลองและลักษณะจริงของกระแส คลื่นกวา้ น 6
สันติ ภยั หลบล้ี ฝง่ั และหาด 2 กระแสน้ำข้ึน-นำ้ ลง Tidal Current ปรากฏการณ์ ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar’s Phase หรือ Moon’s Phase) เกิดจากดวงจันทร์ ซึ่งไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ด้านสว่างได้รับแสงจากดวง อาทิตย์ แต่ด้านตรงกันขา้ มกับดวงอาทิตย์ถูกบงั ด้วยเงาของตวั เอง ดวงจันทร์โคจร รอบโลก ทาให้มุมระหว่างดวงอาทิตย์-ดวงจันทร์-โลก เปลี่ยน เปลี่ยนแปลงไปวัน ละ 12 องศา เมื่อมองดูดวงจันทร์จากโลก เราจึงมองเห็นเสี้ยวของดวงจันทร์มี ขนาดเปลี่ยนไปเป็นวงรอบ ใช้เวลาประมาณ 29.5 วันต่อรอบ (รูป 3) โดย นักวิทยาศาสตร์แบ่งย่อยปรากฏการข้างขึ้น-ข้างแรม ของดวงจันทร์ออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ 7
สันติ ภยั หลบลี้ ฝ่ังและหาด รปู 3. ปรากฏการณข์ า้ งขน้ึ -ขา้ งแรมของดวงจันทร์ [BlueRingMedia] 1) ข้างขึ้น (waxing) เป็นช่วงทีเ่ กิดขึ้นระหว่าง คืนเดือนมืดจนถึงคืนวัน เพ็ญ โดยใช้ด้านสว่างของดวงจันทร์เป็นตัวกาหนด แบ่งย่อยเป็น 15 ส่วน เริ่มจาก ข้นึ 1 คา่ จนถงึ ขึน้ 15 ค่า 2) ข้างแรม (waning) เป็นช่วงที่เกิดขึ้นระหว่างคืนวันเพ็ญจนถึงคืน 8
สันติ ภัยหลบล้ี ฝงั่ และหาด เดือนมืดอีกครั้ง โดยใช้ด้านมืดของดวงจนั ทร์เป็นตัวกาหนด แล้วแบ่งย่อยเป็น 15 ส่วนโดยเรม่ิ จากแรม 1 คา่ จนถงึ แรม 14-15 ค่า 3) คืนเดือนมืด (new moon) เป็นตาแหน่งที่ดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลก กับดวงอาทิตย์ หรือ ดวงจันทร์ อยู่หน้าดวงอาทิตย์ ในวันน้ีผู้สังเกตที่ด้านกลางคนื และด้านกลางวันบนโลก จะมองไม่เห็นดวงจันทร์ เราจึงเรียกคืนเดือนมืด หรือ จนั ทรด์ ับ 4) วันเพญ็ (full moon) ตรงกบั วันข้นึ 15 คา่ เป็นตาแหน่งท่ีดวงจันทร์ อย่ตู รงกันขา้ มกบั ดวงอาทิตย์ ซ่งึ แสงจากดวงอาทติ ย์จะต้ังฉากกับดวงจันทรพ์ อดี ผู้ สังเกตทีอ่ ยู่ด้านกลางวันจะไมเ่ ห็นดวงจันทร์บนทอ้ งฟา้ เลย ในขณะที่ผู้ทีอ่ ยูด่ า้ นมดื จะเห็นดวงจันทรน์ านทีส่ ดุ คอื ต้งั แต่เวลาประมาณ 6 โมงเย็นถงึ 6 โมงช้าของอีกวัน หน่ึง โดยผลจากปรากฏการขา้ งขน้ึ -ข้างแรม ของดวงจนั ทร์ทาให้มหาสมุทรนั้น เกิด กระแสน้าขึ้น-น้าลง (tidal current) ซึ่งหมายถึง การเคลื่อนที่ขึ้น-ลงของ ระดับน้าทะเลบริเวณชายฝั่ง จากอิทธิพลดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์และดวง อาทิตย์ (รูป 4) ซึ่งอิทธิพลของดวงอาทิตย์มีน้อยกว่าดวงจันทร์ประมาณ 1/2 เท่า โดยแรงโนม้ ถว่ งจากดวงอาทติ ย์ ทาให้เกิดน้าขนึ้ -น้าลง (รายวัน) สว่ นดวงจนั ทร์ ทา ให้เกิดน้าขึ้น-น้าลง (รายเดือน) ซึ่งผลจากทั้งดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ทาให้เกิด กระแสน้าขึ้น-น้าลง (tidal current) ซึ่งอาจมีความเร็ว 7-8 กิโลเมตร/ชั่วโมง น้า ข้ึนเกดิ ใน 2 สว่ นของโลกคอื สว่ นท่หี ันเข้าหาดวงอาทติ ยห์ รือดวงจนั ทร์ และส่วนที่ อยู่ห่างจากซกี โลกด้านตรงกันขา้ ม (รูป 5) 9
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝ่งั และหาด 1) น้าใหญ่หรือน้าเกิด (spring tide) คือ แรงจะมีมากที่สุดเมื่อดวง อาทิตย์ ดวงจันทร์ เมื่อโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ อยู่ในแนวเดียวกันหรือ ทุกๆ 2 อาทิตย์ คอื ขึ้น 15 ค่า และ แรม15 ค่า เช่นในช่วงดวงจนั ทรเ์ ต็มดวงและมืดสนทิ 2) น้าน้อยหรือน้าตาย (neap tide) คือ แรงที่ทาให้เกิดน้าขึ้นน้าลงจะ น้อยที่สุด เกิดในช่วง 15 วัน เมื่อดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ อยู่ในแนวตั้งฉากคอื วันแรขึ้น 7 ค่า และ แรม 7 ค่า แรงนี้ทีเ่ กิดจากดวงจันทร์แรงเป็น 2 เท่าของที่เกิด จากดวงอาทติ ย์ เนื่องจากระยะห่างของดวงอาทติ ย์จากโลกมาก รูป 4. อ่าวมง-แซ็ง-มีแชล (Mont Saint Michel) ฝรั่งเศสในช่วงน้าขึ้นและน้าลง (ก) [WolfBlur] (ข) [werner22brigitte] น้าขึ้นน้าลงจึงมีลักษณะแตกต่างกัน โดยหลักกว้างๆ พอจะแบ่งรูปแบบ ของนา้ ข้ึน-นา้ ลง (Tidal Pattern) ออกไดเ้ ปน็ 3 แบบ คอื (รูป 6) 10
สันติ ภัยหลบลี้ ฝั่งและหาด รูป 5. แบบจาลองการเกดิ (ก) นา้ เกดิ และ (ข) นา้ น้อย [www.wikimedia.org] 2. น้าเดี่ยว (semidiurnal tide) ขึ้นหนึ่งลงหนึ่งครั้งต่อวัน น้าขึ้น 2 ครั้ง และน้าลง 2 ครั้งใน 1 วัน น้าขึ้นหรือนา้ ลงครั้งแรกโดยส่วนใหญ่เทา่ กับน้าขึ้น หรือน้าลงครั้งที่ 2 น้าขึ้นน้าลงแบบนี้ใกล้เคียงกับทฤษฎีมาก เปลี่ยนแปลงตาม ตาแหน่งของดวงจันทร์ที่สัมพันธ์กับตาแหน่งของดวงอาทิตย์ พบโดยทั่วไปใน มหาสมุทรแอตแลนติก ฝงั่ ทวีปอเมรกิ าเหนือและทวีปยุโรป 3. น้าผสม (mixed tide) เป็นแบบผสมระหว่างแบบที่ 1 กับแบบที่ 2 เวลาที่ทั้งดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ เข้าใกล้แนวเส้นศูนย์สูตรโลก น้าขึ้นน้าลงจะ คล้ายกับแบบที่ 2 มาก แต่เวลาที่ดวงจันทร์ทามุมกับเส้นศูนย์สูตรโลกมาก น้าข้ึน น้าลงจะปรากฏเปน็ แบบที่ 1 มากกวา่ พบโดยท่ัวไปบรเิ วณฝั่งเม็กซิโกของอเมรกิ า 11
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝ่งั และหาด รปู 6. รปู แบบน้าขึน้ -น้าลง 12
สันติ ภัยหลบลี้ ฝง่ั และหาด 3 ฝ่งั Coast ชายฝั่ง (coast) คือ แนวชายทะเลขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณที่มีลักษณะ ภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน โดยส่วนใหญ่มีลักษณะโค้งและเว้าแตกต่าง กันออกไป บ้างก็เป็นหน้าผาหินสูงชัน และบางพื้นที่เป็นชายหาดระดับต่าที่แผ่ ขยายออกไปมากแทรกสลบั อยู่ระหว่างภูเขาและโขดหนิ แรงท่ที าให้เกิดรูปร่างของ ชายฝัง่ แบบตา่ งๆ เกดิ จากแรงจากกระแสคลื่นและลมในทะเลท่กี อ่ ให้เกดิ ขบวนการ กัดกร่อน พัดพาและสะสมตัวของตะกอน เศษหินและแร่ที่เกิดจากขบวนการ ภายในโลกทีท่ าให้แผ่นเปลือกโลกเกิดการยกตัวหรอื จมตวั นักวิทยาศาสตร์จาแนก ชายฝง่ั ตามรูปลักษณไ์ ด้ 4 ชนดิ คอื (รปู 7) 1) ฝั่งยกตัว (uplift coast) ฝั่งที่เกิดจากการยกตัวของแผ่นเปลือกโลก หรือทะเลลดระดับลง ทาให้บริเวณที่เคยจมอยู่ใต้น้าโผล่ผิวน้าขึ้นมา รูปร่างของ 13
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝัง่ และหาด แนวชายฝั่งโดยส่วนใหญ่เรียบตรง ไม่ค่อยเว้าแหว่งมาก (รูป 7ก) ภูมิลักษณ์ที่พบ ได้แก่ หน้าผาที่เกิดจากการกัดกร่อนของคลื่น (wave-cut cliff) และตะพักทะเล (marine terrace) 2) ฝั่งยุบตัว (submerged coast) ฝั่งที่เกิดจากการยบุ ระดับต่าลงของ แผ่นเปลือกโลก ทาให้น้าทะเลไหลเข้ามาท่วมบริเวณชายฝั่ง เกิดเป็นแนวฝั่งใหม่ท่ี ถอยร่นจากแนวฝั่งเดิมเข้ามาในแผ่นดิน (รูป 7ข) ฝั่งประเภทนี้โดยส่วนใหญ่เป็น ชายหาดขรุขระมาก และชวากทะเล (estuary) ทลี่ กึ ลงไปท่ปี ากแม่น้า 3) ฝั่งคงตัว (neutral coast) เป็นลักษณะฝั่งท่ีแผ่นเปลือกโลกไม่มีการ เคลื่อนไหวมาเป็นเวลานาน ทาให้แนวฝั่งคงที่ (รูป 7ค) มีการเปลี่ยนแปลงสภาพ ของแนวฝง่ั ตามปกติ ฝงั่ ยกตวั รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ฝ่ังคงตัว ทีม่ หี าดเปน็ ทรายสว่ นใหญ่ ซากต้นไม้ตาย ซ่งึ ปัจจบุ ันกลายเปน็ ชายฝงั่ เน่อื งจากการทรุดตัวของแผ่น เปลือกโลก รฐั โอเรกอน สหรฐั อเมริกา รปู 7. รูปลักษณ์ของชายฝ่งั 14
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝง่ั และหาด 4) ฝั่งแบบแนวปะการงั (coral reef) หรอื เรียกอกี อย่างว่าเปน็ ฝง่ั แบบ อินทรีย์ (organic coast) เกิดบริเวณชายหาดน้าตื้น 0-100 เมตร เกิดขึ้นได้หลาย แบบ เชน่ ▪ หม่เู กาะรูปโค้งปะการงั (atoll) เป็นแนวปะการงั ทีเ่ กดิ รอบภเู ขาไฟกลาง มหาสมุทร เมื่อเกาะภูเขาไฟหยุดปะทุ เย็นและยุบตัว แต่แนวปะการังก็ ยังคงสร้างเพิ่มขึ้นสุดท้ายกลายเป็นวงแหวน (รูป 8ก) พบมากในบริเวณ มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ และมหาสมุทรอินเดีย เชน่ มลั ดีฟส์, หมู่เกาะสิ มิลนั และเกาะสปี าดนั ของประเทศมาเลเซยี เปน็ ต้น (รูป 8ข-ค) รูป 8. แบบจาลองและกระบวนการเกิดเกาะปะการังรอบภูเขาไฟใต้ทะเล (ก) หลุม น ้ า เง ิ น ( Great Blue Hole) ป ร ะ เท ศ เบล ิซ [Freed T.] (ข ) ม ั ลดีฟ [ArtTomCat] 15
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝง่ั และหาด ▪ แนวปะการังนอกฝั่ง (barrier reef) เป็นแนวปะการังขนาดใหญ่โต มี ความกว้างยาวนับเป็นร้อยกิโลเมตร ถูกแยกจากที่เกิดตามชายฝ่ัง โดยทั่วไปโดยลากูน เช่น เกรตแบร์รเิ ออร์รีฟ ในประเทศออสเตรเลีย เป็น แนวปะการังนอกฝ่ังทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ▪ แนวปะการังชายฝั่ง (fringing reef) เป็นแนวปะการังที่เกิดรอบ แผ่นดินปกตแิ ละโตไปทางทะเล โดยสว่ นใหญ่เกดิ ในเขตน้าค่อนข้างต้นื 16
สนั ติ ภัยหลบล้ี ฝัง่ และหาด 4 หำด Shore หน้าหาด (beach) คือ บริเวณรอยต่อระหว่างพื้นทวีปและทะเล โดย สว่ นใหญ่โดยสว่ นใหญ่มีรูปรา่ งคลา้ ยกบั พระจนั ทร์ครึ่งเสี้ยว ท่ีควบคุมด้วย หัวหาด (headland) ท้ังบนและล่างของหาด (รปู 9) โดยนกั วิทยาศาสตร์แบง่ ชายหาดเปน็ 3 ชนิด คอื 1) หน้าหาดหนิ (rocky beach) หรือ หาดกรวด (shingle beach) เปน็ หาดที่มีหินหรือกรวดเป็นหลัก พบตามชายฝั่งที่เป็นภูเขาสูง ภูมิลักษณ์ท่ีพบร่วม ได้แก่แก่ sea cliff cave wave-cut notch โขดทะเล (sea stack) sea arch wave-cut bench และ tombolo 2) หน้าหาดทราย (sand beach) เกิดจากการสะสมตัวของทรายและ เศษเปลือกหอย แบ่งย่อยเป็น 3 แบบ คือ 1) หาดยาว (long beach) ยาวหลาย 17
สันติ ภัยหลบลี้ ฝง่ั และหาด กิโลเมตรขนานไปกับแผ่นดินใหญ่ 2) หาดก้นอ่าว (pocket beach) เป็นอ่าว ขนาดเล็กพบตามหวั หาดใกล้หลืบหน้าผา 3) หาดสันดอน (barrier beach) เป็น แนวสนั ทรายนอกชายฝัง่ (รูป 9) รปู 9. ภาพถ่ายดาวเทยี มแสดงหาดเสยี้ วพระจนั ทร์ 18
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝง่ั และหาด 3) หาดเลนหรือที่ราบน้าทะเลขึ้นถึง (tidal flat) เป็นหาดที่ได้รับ อิทธิพลจากน้าขึ้น-น้าลง เกิดการสะสมตัวของตะกอนละเอียดที่ถูกพัดพา แขวนลอยมากับนา้ จนเปน็ ลานแบนราบ โดยส่วนใหญ่พบตามปากแม่น้าท่ีต่อเชื่อม กับทะเล ชะวากทะเล (estuary) พบบริเวณหาดเลนสองฝั่งปากแม่น้ามีลักษณะ คล้ายกับอ่าว แต่ตอนบนของปากแมน่ ้าสอบเข้าคลา้ ยกับรูปกรวย เป็นแหล่งสะสม ตัวของตะกอนน้ากร่อยจากแม่น้าลาคลองผสมกับตะกอนน้าเค็มที่ปากแม่น้า บางครง้ั อาจพบ แนวชายฝั่งแบบป่าโกงกาง (mangroves) เกดิ ในโซนนา้ ขึ้น-น้า ลง ในพนื้ ที่เขตร้อน รากชว่ ยลดคลน่ื และสะสมตะกอน ในทางธรรมชาติ หาดหินและหาดกรวดสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างอยู่ เสมอ (รูป 10) เช่น ในฤดูหนาวเกิดพายุบ่อยครั้ง คลื่นน้ามีความยาวคลื่นส้ัน พลังงานสูง ทรายบริเวณชายหาดถูกกัดเซาะและไปสะสมที่นอกหาดเรียก bar ทา ให้ชายหาดสั้นและชันสูง ประกอบกับ berm ที่สูง และจะเปลี่ยนเป็นหาดกรวด (shingle beach) สว่ นฤดรู อ้ น พายุนอ้ ยและคลื่นความยาวคลนื่ สน้ั พลงั งานคลนื่ ตา่ ทรายจาก bar ถูกกัดกร่อน และพัดกลับมาที่ฝั่ง ได้ทรายหน้าหาดมาก ชายหาด กวา้ ง กรณศี กึ ษาเช่น Boomer Beach La Jolla รูป 10. แบบจาลองการเปล่ียนแปลงระหว่างหาดหินและหาดทราย 19
สันติ ภยั หลบลี้ ฝั่งและหาด 5 กำรกร่อนและสะสมตวั โดยคล่ืน Wave Erosion and Deposition การผุพังโดยคลื่น (wave erosion) เกิดจากคลื่นกระทบทาให้หินผุพัง ตะกอนขนาดทรายอยู่ตามชายหาด เล็กกว่านั้นก็จะลงไปที่ทะเลลึก หากใหญ่กว่า นั้นก็ทาให้ถึงขนาดทราย โดยคลื่นจะกระแทกไปเรื่อย ซึ่งผลจากการกัดกรอ่ นของ คลืน่ น้าทะเล ทาให้ชายหาดมลี กั ษณะภมู ลิ กั ษณ์ตา่ งๆ จานวนมาก เชน่ ในกรณีของหาดเป็นหน้าผาเกิดจากฝั่งยกตัวอย่างรวดเร็วจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน กลายเป็น หน้าผาคลื่นตัด (wave-cut cliff) เมื่อ ถูกคลื่นปะทะอยูเ่ ปน็ เวลานานๆ จากรอยแตกกลายเป็น โพรงขนาดเล็ก เรียก เว้า ทะเล (sea notch) และ กลายเป็น ถ้าทะเล (sea cave) ลานคลืน่ เซาะ (wave- cut bench) หรือ ตะพกั ทะเล (marine terrace) เปน็ ตน้ 20
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝั่งและหาด ในกรณีที่หาดเป็นหาดแบบโค้งเว้าและมีหัวหาดควบคุมทั้งบนและล่าง บริเวณหัวหาดจะได้รับผลกระทบจากคลืน่ มากที่สุด โดยคลื่นน้าจะกัดเซาะโดยพงุ่ เข้าทั้งสองข้างของแหลม (รูป 11) ซึ่งแหลมยื่นนั้นจะถูกคลื่นกัดเซาะจนเกิดเป็น โพรงทะลุไปอีกด้านหนึ่งของแหลม เหลือให้เห็นเพียงส่วนบนที่ยังต่ออยู่ระหว่าง แผ่นดินกับแหลม คล้ายกับสะพานโค้ง เรียกว่า ซุ้มหินโค้ง (sea arch) ต่อมา ส่วนบนผุพังลง ส่วนที่ยื่น ถูกตัดขาดจากแผ่นดินเรียกว่า โขดทะเล (sea stack) (รปู 12) รูป 11. การสะท้อนของคลื่นตามแนวชายหาดไม่ราบเรียบ และวิวัฒนาการของ การเกดิ หวั หาด (headland) 21
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝ่งั และหาด รปู 12. การสะท้อนของคล่นื ตามแนวชายหาดไม่ราบเรียบ 22
สันติ ภัยหลบล้ี ฝัง่ และหาด การสะสมตัวตามชายหาด (wave deposition) เช่น (รูป 13) เกาะสันดอน (barrier island) สันดอนทราย (sand spit) เกิดจากกระแสคลืน่ ขนานฝ่ังพดั พา ตะกอนทรายให้เคลื่อนที่เลื่อนไปตามระนาบของชายฝั่ง บางครั้งสันดอนทรายมี การตวดั โค้งเขา้ ไปในชายฝั่งทาให้เกดิ สนั ทรายจงอย (hook) และหากสันดอนทรายหรือสันทรายปิดอ่าวนั้นมีการพัฒนาจนปิดป่าวอ่าวอ ย่าง สมบูรณ์เรียกว่า สันทรายปิดอ่าว (bay mouth bar) นอกจากนี้ในกรรีของสัน ทรายที่มีการพัฒนาและเชื่อมต่อ โขดทะเล (sea stack) กับแผ่นดินใหญ่ เราจะ เรยี กวา่ สนั ดอนเชือ่ มเกาะ (tomboro) รปู 13. แบบจาลองกระบวนการสะสมตวั โดยคลื่น 23
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝ่งั และหาด รปู 14. แบบจาลองกระบวนการสะสมตัวโดยคลืน่ 24
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝ่ังและหาด 6 กำรปอ้ งกนั ชำยฝั่ง Coastal Stabilization ปัจจบุ ันมี 3 วิธี ทค่ี นพยายามตอ่ สกู้ บั การกดั กร่อนของชายฝัง่ (รปู 15) 1) กาแพงกันคลื่น (seawall) (รูป 15ก) กาแพงมีทั้งเป็นหินและเป็น คอนกรตี แต่ปญั หาคอื การทากาแพงจะเรง่ อตั ราการผพุ ังโดยเฉพาะบริเวณใต้ผนัง วิธีการแก้คือ ใช้ หินกองไว้ข้างหน้าคอนกรีตอีกที (rip rap) เพื่อช่วยลดพลังงาน และการสะท้อน เพื่อช่วยลดการกัดกร่อน แต่การทา rip rap ก็เป็นเพียงการทุเลา เทา่ นั้น สุดท้ายคลนื่ ก็จะกดั ลงไปไปใต้ rip rap อีกครง้ั 2) คันดักทราย (groin) (รูป 15ค และ 17ก) คือ โครงสร้างที่วางตัง้ ฉาก กับชายหาดเพื่อดักทรายไม่ให้ไหลไปตามกระแสคลื่น longshore ทรายจะทับถม ด้านที่คลื่น longshore ตกกระทบ มีประสิทธิภาพมากในพื้นที่ซึ่งมี longshore 25
สันติ ภัยหลบล้ี ฝง่ั และหาด รุนแรง และโดดเด่นๆ ในทางเดียว แต่ก็ทาให้รูปร่างชายหาดเปลี่ยนไปจากเดิม เนอ่ื งจากดา้ นหน้าทรายจะพอก แตด่ ้านหลังจะถูกกัด รูป 15. แบบจาลองการปอ้ งกนั ชายฝงั่ 3) เขื่อนกันทรายและคลื่น (jetty) (รูป 15ง และ 17ค) คล้ายกับคันดกั ทรายแต่จะยาวและแข็งแรกกว่า และทาไว้บริเวณทางออกของแม่น้าเพื่อป้องกัน ตะกอนทรายทอ่ี าจมาทบั ถมปากแมน่ า้ ซงึ่ เป็นอุปสรรคตอ่ การคมนาคมทางเรอื โดย ส่วนใหญ่ใช้ในบริเวณที่เป็นลากูน หรือชวากทะเล (รูป 13) ที่มีโอกาสที่ทรายจะ ไหลมาปิดทบั ปากแมน่ า้ 26
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝ่ังและหาด รปู 16. การปอ้ งกนั ชายฝ่งั รูปแบบตา่ งๆ 4) เขอื่ นกันคลน่ื (breakwater) (รปู 15ข และ 17ข) คือ โครงสร้างเพ่ือ ชะลอความเร็วของน้าท่ีเข้ากระทบฝั่ง ซง่ึ จะวางเปน็ ระยะๆ ขนานไปกับชายฝั่ง ทา ให้ตะกอนที่เคยถูกกัดเซาะตลอดทั้งชายฝั่งนั้นมีโอกาสสะสมตัวหลังเขื่อนกันคล่ืน แต่ก็ยังมีคาถามอยู่ในทางปฏิบัติ เนื่องจากหลายพื้นที่ถูกกัดกร่อนมากกว่า ขึ้นอยู่ กับระยะห่างและความยาวของเข่อื นกันคล่นื บางครง้ั ใชส้ าหรบั จอดเรือไว้ด้านหลงั 4. การสรา้ งชายหาดใหม่ (Soft structural Stabilization) การสรา้ ง หาดใหม่ (Beach Renourishment) (รูป 18) โดยการเติมทรายไปให้ชายหาด ซึ่งแหล่งทรายอาจจะมาจากบนฝั่ง เช่นเนินทรายหลังหาดหรืออาจดูดมาจากนอก ชายฝั่ง การสรา้ งหาดใหมแ่ พงมากเชน่ ชายหาดไมอามใี ช้เงิน 17.5 ลา้ นดอลลาห์ต่อ 27
สันติ ภัยหลบล้ี ฝั่งและหาด สร้างหาด 1.6 กิโลเมตร แต่ก็ไม่ค่อยถาวร เนื่องจากสุดท้ายก็จะโดนกัดกร่อน เหมือนกับเดิม เนื่องจากโดยส่วนใหญ่ทรายจากนอกชายหาดที่เอามาเติมจะเป็น ทรายขนาดเลก็ จนอาจถงึ silt หรือ clay ซึ่งโดยธรรมชาติ ก็โดนกัดกรอ่ นไปไดง้ ่าย อยู่แล้ว เนื่องจากชายหาดไม่ใช่พื้นที่ซึ่งทรายดังกล่าวควรจะอยู่ ดังนั้นจึงไปได้เรว็ กว่าทรายปกติ หรอื หากมีพายุอาจจะหมดไปในครั้งเดียว รูป 17. การปอ้ งกันชายฝ่งั รูปแบบตา่ งๆ 28
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝ่งั และหาด 5. การป้องกันโดยไม่ใช้กับโครงสร้าง (Nonstructural strategies) เช่น การบังคับใช้กฏหมายการใช้ที่ดิน เนื่องจากจริงๆ คนไปอยู่ที่มันจะต้องกัด กร่อน อยู่ไปซักพักแล้วมันกลับมาก็มาหาว่าที่นี้เป็นของตัวเอง ต่อให้กันด้วย โครงสร้างใหญ่เท่าใด หรือจะสร้างชายหาดใหม่อีกซักกี่ครั้ง สุดท้ายก็ทนไม่ได้ สู้ ไมไ่ ดก้ ับธรรมชาติ ดังนน้ั วธิ กี ารนี้จงึ ดที ส่ี ุด ใช้ความรูท้ างชายฝัง่ แลว้ กนั พน้ื ที่ รปู 18. การเติมทรายบนชายหาด (ค) หาดไมอามี่กอ่ นเติมทราย (ข) หาดไมอามี่ หลงั จากเติมทราย 29
สันติ ภยั หลบล้ี ฝง่ั และหาด แบบฝกึ หัด วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหดั แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) คน้ ควา้ ความร้เู พม่ิ เติม โดยผา่ นกระบวนการสอื่ สารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผูเ้ ขียน- ผ้อู ่าน เทา่ น้นั โดยไมม่ เี จตนาวเิ คราะห์ข้อสอบเกา่ หรอื แนวขอ้ สอบแต่อยา่ งใด 1) แบบฝกึ หดั จบั คู่ (1) คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคาบรรยายด้านขวา และเติมในช่องวา่ งด้านซ้าย ของแตล่ ะขอ้ ทีม่ ีความสมั พนั ธก์ นั 1. ____ hook ก. หน้าผาที่ย่นื ออกสทู่ ะเล 2. ____ tombolo ข. สันดอนจงอยโคง้ 3. ____ abyssal plain ค. กระแสน้าตนื้ และกวา้ ง 4. ____ gulf stream ง. แหล่งสะสมตะกอนทะเลลกึ 5. ____ jetty จ. สะสมตัวหลงั เกิดโขดทะเล 6. ____ sea notch ฉ. กระแสน้าในทแ่ี คบและลึก 7. ____ headland ช. แนวปะการงั เปน็ วงกลม 8. ____ atoll ซ. แนวสนั ทรายขนานชายฝ่ัง 9. ____ canary current ฌ. หลักฐานระดบั นา้ ทะเลในอดตี 10. ____ barrier island ญ. โครงสรา้ งป้องกนั ทรายบรเิ วณปากอา่ ว 30
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝง่ั และหาด 2) แบบฝกึ หัดจับคู่ (2) คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคาบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้าย ของแต่ละข้อที่มคี วามสมั พันธ์กนั 1. ____ ก. คล่ืนหัวแตก (breaker) 2. ____ ข. หน้าหาด (beach face) 3. ____ ค. ยอดคล่นื (crest) 4. ____ ง. ความสูงคลน่ื (wave high) 5. ____ จ. โซนคลนื่ หัวแตก (surf zone) 6. ____ ฉ. ทอ้ งคล่ืน (trough) 7. ____ ช. ความยาวคลนื่ (wavelength) 8. ____ ซ. คลน่ื นา้ ลึก (deep water wave) 9. ____ ฌ. ฝง่ั (coast) 10. ____ ญ. เนนิ ทราย (dune) 31
สันติ ภยั หลบลี้ ฝัง่ และหาด 3) แบบฝึกหดั จับคู่ (3) คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคาบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้าย ของแต่ละขอ้ ทมี่ คี วามสัมพันธ์กนั 1. ____ ก. สนั ดอนเช่ือมเกาะ (tombolo) 2. ____ ข. ลานคลืน่ เซาะ (wave-cut bench) 3. ____ ค. ลากูน (lagoon) 4. ____ ง. โขดทะเล (sea stack) 5. ____ จ. ถ้าทะเล (sea cave) 6. ____ ฉ. กระแสคล่นื ขนานฝง่ั (longshore current) 7. ____ ช. ซุ้มหินโคง้ (sea arch) 32
สันติ ภัยหลบลี้ ฝง่ั และหาด 8. ____ ซ. สนั ดอนจงอย (spit) 9. ____ ฌ. สนั ทรายปิดอา่ ว (bay mouth bar) 10. ____ ญ. หน้าผาคลน่ื ตดั (wave-cut cliff) 4) แบบฝึกหดั ถูก-ผดิ คาอธิบาย : เติมเครื่องหมาย T หน้าข้อความที่กล่าวถูก หรือเติมเครื่องหมาย F หนา้ ขอ้ ความท่กี ลา่ วผิด 1. ____ สมุทรศาสตร์ (oceanography) คือสาขาย่อยของ ธรณีวิทยา 2. ____ (geology) 3. ____ กระแสคลื่นขนานฝั่ง (longshore current) มีสาเหตุมาจาก 4. ____ ลมท่พี ัดขนานไปกบั ชายฝั่ง 5. ____ ความสูงของคลื่นในทะเลสัมพันธ์กับความแรงของลมที่พัดผ่าน 6. ____ มหาสมุทร 7. ____ คล่ืนในมหาสมทุ รเกดิ จากแรงดงึ ดูดของดวงจันทร์ กระแสน้าใน โซนคลื่นหัวแตก (surf zone) เคลื่อนที่แบบ translatory คลื่นในมหาสมุทรเมื่อซัดเข้าฝั่งจะเริ่มหักเหเปลี่ยนทิศทาง หลังจากท่ีท้องคลืน่ เร่มิ แตะพ้นื ทะเล ดวงจนั ทร์ถงึ แม้วา่ จะมีขนาดเล็กกว่าดวงอาทติ ย์แต่แรงดึงดูดของ ดวงจันทร์ส่งผลต่อ น้าขึ้น-น้าลง (tide) มากกว่า เนื่องจากดวง จนั ทร์อยใู่ กล้โลกมากกวา่ ดวงอาทิตย์ 33
สนั ติ ภัยหลบล้ี ฝงั่ และหาด 8. ____ ปรากฏการณ์กาแพงน้า (tidal bore) สัมพันธ์กับ กระแสน้า ขึ้น-น้าลง (tidal current) และมกั เกิดในบริเวณปากแมน่ ้า 9. ____ ชายหาด (shoreline) ท่ีมหี น้าหาดความชันตา่ มโี อกาสท่ีจะถูก กัดกร่อนได้งา่ ยกว่าแนวชายฝัง่ ทีช่ ันและมีหนา้ ผา 10. ____ ป่าชายเลน (mangrove) ช่วยขยายพื้นที่ชายฝั่งให้เพิ่มมากขึ้น ไปทางทะเล 11. ____ กระแสคลื่นกว้าน (rip current) เกิดขึ้นได้ในกรณีที่คลื่นหัว แตกมีความสงู มาก 12. ____ โซนคลื่นหัวแตก (surf zone) คือโซนหลักที่มีการพัดพาเม็ด ตะกอนตามชายหาด 13. ____ ชายฝั่งท่วั โลกกาลงั ถูกกดั กร่อนในปัจจุบัน 14. ____ ซกี โลกเหนอื ถือเปน็ ซีกโลกแหง่ แผ่นดิน (land hemisphere) 15. ____ ในช่วงยุคน้าแข็งครั้งลา่ สุด ชายหาด (shoreline) ทั่วโลกอยู่ใน ทะเลปัจจบุ ัน เนอ่ื งจากระดบั น้าทะเลท่ลี ดลง 16. ____ การหักเหของคลื่นสัมพันธ์กับกระบวนการเกิด โขดทะเล (sea stack) 17. ____ โขดทะเล (sea stack) ทั้งหมด ในอดีตเคยเชื่อมต่อติดกับ แผน่ ดินใหญ่ 18. ____ ชวากทะเล (estuary) คือลักษณะเฉพาะที่พบได้บริเวณ ฝั่งยก ตัว (uplift coast) 19. ____ โคลน (mud) ไมส่ ามารถสะสมตวั ในพ้นื ท่ชี ายฝั่ง 20. ____ ชว่ งเวลาของวนั ท่ีน้าลงตา่ ทส่ี ดุ สมั พันธ์กับ นา้ ตาย (neap tide) 34
สันติ ภยั หลบล้ี ฝงั่ และหาด 5) แบบฝึกหดั ปรนัย คาอธิบาย : ทาเครื่องหมาย X หน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว จาก ตวั เลือกที่กาหนดให้ 1. ขอ้ ใดคือสาเหตกุ ารเกิดคล่นื น้าในมหาสมุทรโดยส่วนใหญ่ ก. ลม ข. การปะทขุ องภูเขาไฟใตน้ า้ ค. น้าขน้ึ -น้าลง ง. การหมนุ รอบตัวเองของโลก 2. ขอ้ ใดคือระยะทางจากยอดคล่ืนถึงยอดคลื่นขา้ งเคียง ก. ความยาวคลน่ื (wavelength) ข. ความถีค่ ล่นื (wave frequency) ค. คาบคลนื่ (wave period) ง. ความเร็วคลนื่ (wave velocity) 3. ขอ้ ใดคือกระแสนา้ แคบๆ ที่ไหลตรงกลับไปในทะเลในบรเิ วณ โซนคลน่ื หวั แตก (surf zone) ก. body current ข. rip current ค. swash current ง. tidal current 4. เหตใุ ดตะกอนชายหาดโดยสว่ นใหญ่จึงเปน็ แร่ควอตซข์ นาดทราย ก. หาดโดยสว่ นใหญส่ รา้ งมาจาก ข. แรค่ วอตซ์เป็นแรช่ นิดเดยี วทีม่ ี หนิ ท่ีมแี รค่ วอตซ์ ขนาดทราย ค. แร่ควอตซ์เป็นแร่ท่ที นต่อการผุ ง. ถกู ทกุ ขอ้ พงั ทางเคมี 5. ข้อใดคือสาเหตุของการเคลอื่ นที่มวลทรายขนานไปกับชายฝงั่ ก. longshore drift ข. sediment transportation ค. sedimentation ง. longshore current 35
สันติ ภยั หลบล้ี ฝ่ังและหาด 6. ขอ้ ใดคือแหล่งทมี่ าสาคญั ของทรายตามชายหาด ก. ทรายที่อยตู่ ามปากอ่าว ข. ทรายที่พัดพามาตามธารนา้ บนบก ค. ทรายจากนอกชายฝง่ั ง. ทรายจากการกัดกรอ่ นหวั หาด 7. ขอ้ ใดคือแนวปะการังขนานไปกับชายฝงั่ โดยมี ลากูน (lagoon) กนั้ กลางระหว่าง แนวปะการงั และแผน่ ดนิ ก. patch reef ข. barrier reef ค. atoll ง. fringing reef 8. ภมู ลิ ักษณใ์ ดทสี่ ามารถพบไดต้ ามแนวชายฝง่ั ท่ีมีกระบวนการกัดกรอ่ น ก. โขดทะเล (sea stack) ข. หัวหาด (headland) ค. หนา้ ผา (cliff) ง. ถกู ทกุ ข้อ 9. ขอ้ ใดแสดงถงึ กระบวนการสะสมตัวของตะกอนตามแนวชายฝ่ัง ก. ดนิ ดอนสามเหลี่ยมปากแมน่ ้า (delta) ข. สันดอนจงอย (spit) ค. สนั ทรายปิดอ่าว (bay mouth bar) ง. ถูกทกุ ข้อ 10. ขอ้ ใดคอื หบุ เขาลกึ ในบริเวณธารน้าแข็งเน่ืองจากระดับนา้ ทะเลลดลง ก. fjord ข. shoreline ค. tombolo ง. estuary 11. ขนาดของคลื่นในมหาสมุทรสัมพันธก์ บั ปัจจยั ใด ก. ความนานของลมท่ีพัดเหนือ ข. ระยะทางทีล่ มพดั เหนอื นา้ นา้ ค. ความเรว็ ของลมที่พดั เหนอื นา้ ง. ถูกทุกขอ้ 12. ข้อใดคือ นา้ ขนึ้ -น้าลง (tide) ท่ีเกดิ ระดับน้าขึ้นและลงไม่เทา่ กนั ก. mixed ข. semi-diurnal 36
สนั ติ ภยั หลบล้ี ฝั่งและหาด ค. diurnal ง. ไม่มขี อ้ ใดถูก 13. ตะพักทะเล (marine terrace) เปน็ ภมู ิลักษณท์ ีพ่ บไดก้ ับแนวชายฝ่งั ชนิดใด ก. ฝัง่ ยกตัว (uplift coast) ข. ฝงั่ กัดกรอ่ น (erosional coast) ค. ฝั่งทรุดตวั (drowned coast) ง. ฝงั่ สะสมตวั (deposition coast) 14. ข้อใด ไมใ่ ช่ ภูมิลกั ษณ์ทเ่ี กิดขนึ้ ตามแนวชายฝ่ัง ก. tombolo ข. seashore ค. sea stack ง. bay mouth bar 15. คล่ืนพายซุ ดั ฝ่งั (storm surge) เกิดจากสาเหตใุ ด ก. ความดันอากาศตา่ นา้ ทะเลใต้ ข. ลมทร่ี ุนแรงพัดจากทะเลเข้า พายุยกตัวเลก็ น้อยใตพ้ ายุ หาฝัง่ ค. มีพายเุ คลื่อนท่ใี กล้แนวชายฝง่ั ง. ถูกทกุ ข้อ 16. ข้อใดคือผลจากการทคี่ ลื่นในมหาสมุทรพดั เขา้ หาฝงั่ โดยทามมุ กบั ชายฝ่ัง ก. เกดิ ความเสยี หายกับชายฝ่งั ข. เกิดคลนื่ หวั แตก ค. เกิดการหักเห ง. เกิดกระแสคลน่ื กวา้ น 17. ในบริเวณน้าตื้น เกดิ คล่นื หวั แตก (surf) ไดอ้ ยา่ งไร ก. คลน่ื เข้าปะทะกับชายฝ่ัง ข. คลื่นมีความเร็วสูงขนึ้ ค. คล่ืนมคี วามเร็วลดลง ทาให้ ง. นา้ ตนื้ มากเกินไป ยอดคล่นื สูงข้ึน 18. ข้อใดคอื ความลกึ สูงท่ีสุดทส่ี ง่ ผลตอ่ ทอ้ งคลน่ื เม่ือทอ้ งคลื่นเรมิ่ แตะภมู ิประเทศ ใต้ทะเล ก. 1/2 ความยาวคลน่ื (wavelength) ข. 1/2 คาบคลื่น (period) ค. 1/2 ความถ่คี ลื่น (frequency) ง. ไม่มขี อ้ ใดถกู 37
สันติ ภัยหลบลี้ ฝ่งั และหาด 19. ข้อใดคอื น้าขึ้นสงู ท่ีสดุ ของการเกิด น้าขน้ึ -น้าลง (tide) ก. spring ข. neap ค. ebb ง. full moon 20. ขอ้ ใดคอื นา้ ข้ึน-น้าลง (tide) ท่ีเกดิ นา้ ข้นึ และน้าลงวันละ 2 ครง้ั ก. mixed ข. semi-diurnal ค. diurnal ง. ไมม่ ีข้อใดถกู 21. ข้อใดคอื ส่วนทหี่ ลงเหลอื จากกระบวนการกัดกร่อนโดยคลนื่ (wave erosion) ก. สนั ดอนจงอย (spit) ข. สนั ดอนเชอ่ื มเกาะ (tombolo) ค. คนั ดกั ทราย (groin) ง. โขดทะเล (sea stack) 22. พ้นื ทใ่ี ดมี ชายหาด (shoreline) ตน้ื และยาวลงไปในทะเล ก. เขตมุดตวั ของแผ่นเปลือกโลก ข. ขอบทวปี สถติ ค. หม่เู กาะรปู โคง้ ปะการงั ง. ขอบทวีปจลน์ 23. สันทรายทเ่ี ชื่อมระหวา่ งเกาะและแผน่ ดนิ ใหญ่หรือเกาะอื่นๆ เรียกวา่ อะไร ก. jetty ข. sea stack ค. tombolo ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก 24. ข้อใดคอื แนวปะการงั วงกลมท่ีปิดลอ้ ม ลากูน (lagoon) ในบริเวณภเู ขาไฟ ก. coral reef ข. seamount ค. guyot ง. atoll 25. คลน่ื (wave) สร้างข้ึนจากปัจจัยใด ก. แรงดงึ ดูดจากดวงจนั ทร์ ข. การหมนุ รอบตัวเองของโลก ค. แรงดึงดดู จากดวงอาทิตย์ ง. การกระทาของลม 38
สันติ ภยั หลบลี้ ฝ่งั และหาด 26. ภูมิลกั ษณ์แบบใดที่บง่ บอกว่าพื้นทบี่ ริเวณนนั้ ยกตวั สูงขน้ึ จากกระบวนการธรณี แปรสณั ฐานหรือระดับนา้ ทะเลลดต่าลง ก. ชวากทะเล (estuary) ข. ตะพักทะเล (marine terrace) ค. โขดทะเล (sea stack) ง. สันดอนเช่ือมเกาะ (tombolo) 27. โครงสร้างแบบใดสามารถชว่ ยปอ้ งกนั การกัดเซาะยมวลทรายตาม กระแสคลนื่ ขนานฝงั่ (longshore current) ได้ ก. เขอ่ื นกนั ทรายและคลนื่ (jetty) ข. กาแพงกันคล่นื (seawall) ค. เข่อื นกันคล่ืน (breakwater) ง. ถกู ทุกข้อ 28. ข้อใดคือภมู ิลักษณ์ที่เกิดจากการกดั กรอ่ นโดยคล่ืน ก. สันดอนจงอย (spit) ข. ชวากทะเล (estuary) ค. ซุ้มหนิ โคง้ (sea arch) ง. เขอื่ นกันคลื่น (breakwater) 29. เหตใุ ด กาแพงกันคลื่น (seawall) จงึ ตอ้ งมผี วิ หนา้ ทโี่ คง้ มน ก. ปอ้ งกนั ผลกระทบจากแรงโครอิ อริส ข. ประหยัดวัสดุก่อสรา้ ง ค. ลดแรงกระแทกของคลน่ื โดยตรง ง. ไมม่ ขี อ้ ใดถกู 30. ความสงู (amplitude) ความยาว (wavelength) และคาบ (period) ของคลน่ื ขึน้ อยูก่ บั อะไร ก. ความยาวนานของลม ข. ความโปร่งของการพัดของลม ค. ความเรว็ ลม ง. ถกู ทกุ ขอ้ 31. กระแสคลื่นขนานฝัง่ (longshore current) เกิดจากขอ้ ใด ก. การแกว่งของนา้ ขน้ึ -นา้ ลง ข. การสะท้อนของคล่นื ไป-มา ค. การหกั เหของคลน่ื ไป-มา ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู 39
สันติ ภยั หลบลี้ ฝ่งั และหาด 32. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ ปัจจัยการเพิ่มขนึ้ ของการกัดกรอ่ นแนวชายฝง่ั ก. แนวชายฝ่ังมหี ัวหาดทช่ี ัดเจน ข. แนวรอยแตกของชนั้ หนิ บริเวณชายฝัง่ ค. แนวชายฝั่งมีความชนั หน้าหาดต่า ง. แนวชายฝัง่ วางตวั ตงั้ ฉากกบั ทิศทงลมหลกั 33. การเคลื่อนทขี่ องนา้ ขนานไปกับชายฝ่งั ภายใน โซนคลนื่ หัวแตก (surf zone) เรียกว่าอะไร ก. กระแสน้าขึ้น-น้าลง ข. กระแสความเคม็ (tidal current) (salinity current) ค. กระแสคล่นื ขนานฝง่ั ง. กระแสคลืน่ กวา้ น (longshore current) (rip current) 34. ขอ้ ใด ไม่ใช่ สภาวะท่ีจาเปน็ ตอ่ การเจริญเตบิ โตของปะการงั ใน แนวปะการงั (coral reef) ก. นา้ อุน่ ข. มีแสงอาทติ ย์เพียงพอ ค. นา้ ตนื้ ง. มตี ะกอนแขวนลอยจานวนมาก 35. เม่ือคล่นื เข้าใกลช้ ายหาดตน้ื คลน่ื น้าโดยสว่ นใหญม่ แี นวโนม้ ท่ีจะขนานไปกับ ชายฝง่ั เนือ่ งจากสาเหตใุ ด ก. การแกวง่ (oscillation) ข. การหกั เห (refraction) ค. การสะท้อน (reflection) ง. การครดู ถู (abrasion) 36. ขอ้ ใดคอื พื้นท่ีหินราบเรียบคล้ายกบั กระดานเน่อื งจากถูกคลน่ื กัดเซาะ ก. โขดทะเล (sea stack) ข. เขอ่ื นกนั ทราย (jetty) ค. สันดอนจงอย (spit) ง. ไม่มขี ้อใดถกู 40
สันติ ภยั หลบลี้ ฝง่ั และหาด 37. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะเฉพาะของ ขอบทวีปจลน์ (active continental margin) ก. ร่องลกึ กน้ สมทุ ร ข. แผน่ ดนิ ไหว ค. หมเู่ กาะภเู ขาไฟรปู โคง้ ง. ไหล่ทวปี 38. ขอ้ ใดคือน้าลงตา่ ทส่ี ุดของการเกิด น้าขน้ึ -น้าลง (tide) ก. spring ข. neap ค. ebb ง. full moon 39. ข้อใดคือสาเหตทุ ี่ทาให้คล่ืนเปลีย่ นแปลงทิศทางในน้าตน้ื ก. การดดู ซบั ข. การสะท้อน ค. การหักเห ง. การกัดกรอ่ น 40. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ งเกี่ยวกับ แรงโครอิ อรสิ (coriolis force) ก. มผี ลมากทสี่ ดุ แถบเสน้ ศนู ยส์ ตู ร ข. พบเฉพาะในซกี โลกเหนอื ค. เกดิ จากการหมนุ รอบตัวเองของโลก ง. มีผลตอ่ การเกดิ นา้ ขึน้ -น้าลง 41. ข้อใดคอื ภมู ิลักษณท์ เ่ี หมาะสมในการพัฒนา สันดอนเชือ่ มเกาะ (tombolo) ใน อนาคต ก. เว้าทะเล (sea notch) ข. โขดทะเล (sea stack) ค. ซุ้มหินโคง้ (sea arch) ง. ถ้าทะเล (sea cave) 42. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ งเกยี่ วกับ การเคลือ่ นทข่ี องทรายขนานไปกับชายฝง่ั ก. เกดิ จากคล่ืนเข้าปะทะชายฝง่ั ข. ป้องกนั ไดโ้ ดยการสร้างคันดัก แบบเฉยี ง ทราย (groin) ค. อาจจะทาใหเ้ กดิ สนั ดอนจงอย ง. ถกู ทุกขอ้ (spit) 41
สนั ติ ภัยหลบลี้ ฝ่งั และหาด 43. ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ งเกี่ยวกับ หนา้ หาด (beach) ก. มแี นวโนม้ ท่จี ะถูกกัดกร่อน ข. มแี นวโน้มทจี่ ะสะสมตวั ในช่วง ในชว่ งพายแุ ละสะสมตวั ใน พายแุ ละกดั กร่อนในสภาพ สภาพอากาศสงบ อากาศสงบ ค. มแี นวโน้มทีจ่ ะคงทตี่ ลอดทั้งปี ง. ถกู ทกุ ข้อ 44. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องเก่ียวกบั การเคล่อื นทขี่ องตะกอนทรายแบบซกิ แซกไปตาม แนวชายหาด ก. เกดิ คลืน่ หัวแตกหกั เหแนวเฉยี ง ข. ผิดปกตแิ ละไมค่ ่อยเกดิ ข้นึ ค. เรยี กว่า beach drift ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก 45. ขอ้ ใดกล่าวผดิ เกี่ยวกบั การเคลอ่ื นทีข่ องคลนื่ นา้ ก. น้ากลางมหาสมทุ รเคล่ือนที่ ข. น้าในโซนคลน่ื หัวแตก แบบ oscillatory เคล่ือนทีแ่ บบ translatory ค. นา้ กลางมหาสมทุ รเคลอื่ นที่ ง. นา้ ในโซนคลนื่ หวั แตก แบบ translatory เคล่อื นที่ ไปทางชายหาด 46. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องเกีย่ วกับ กาแพงกนั คลน่ื (seawall) ก. ป้องกันโครงสรา้ งหลังกาแพง ข. เร่งกระบวนการกดั กร่อนตาม กนั คล่นื แนวชายฝ่ัง ค. ใช้งบประมาณสงู ในการ ง. ถกู ทกุ ข้อ บารุงรกั ษา 47. ขอ้ ใดคอื น้าขนึ้ -น้าลง (tide) ท่เี กดิ น้าขึน้ และน้าลงวนั ละ 1 ครง้ั ก. mixed ข. semi-diurnal ค. diurnal ง. ไม่มีขอ้ ใดถกู 42
สนั ติ ภยั หลบลี้ ฝง่ั และหาด 48. ขอ้ ใดคือกลไกในเบอ้ื งต้นของการกัดกรอ่ นหินทอ่ี ยตู่ ามแนวชายฝ่งั ของคล่นื จากมหาสมุทร ก. การครูดถจู ากตะกอนท่ีมากับนา้ ข. การละลายจากนา้ เค็ม ค. นา้ แรงดนั สงู กระแทกตามรอยแตก ง. ถกู ทกุ ข้อ 49. ขอ้ ใดคือผลจาก การหักเหของคลื่น (wave refraction) ก. พลังงานคลนื่ จะรุนแรงบรเิ วณ ข. พลงั งานคลนื่ ลดทอนอย่าง หวั หาด (headland) รวดเร็วมอื่ เข้าใกลช้ ายฝง่ั ค. พลงั งานคลน่ื จะรุนแรงในพื้นท่ี ง. หวั หาดจะถกู ทาให้ใหญ่ขน้ึ อ่าวระหวา่ งหวั หาด เนอ่ื งจากตะกอนสะสมตวั 50. ข้อใดคือภูมิลักษณ์ทเ่ี ปน็ หลกั ฐานบง่ บอกถงึ ระดบั น้าทะเลในอดตี ก. เว้าทะเล (sea notch) ข. โขดทะเล (sea stack) ค. ซุ้มหนิ โคง้ (sea arch) ง. ถ้าทะเล (sea cave) 43
สันติ ภยั หลบล้ี ฝ่ังและหาด เฉลยแบบฝกึ หดั 1) แบบฝกึ หดั จบั คู่ (1) 3. ง 4. ฉ 5. ญ 1. ข 2. จ 8. ช 9. ค 10. ซ 6. ฌ 7. ก 3. ก 4. ค 5. ช 2) แบบฝกึ หดั จบั คู่ (2) 8. ง 9. ญ 10. ฌ 1. ข 2. จ 6. ซ 7. ฉ 3. ญ 4. ช 5. จ 8. ซ 9. ฉ 10. ก 3) แบบฝกึ หัดจับคู่ (3) 1. ง 2. ข 3. T 4. F 5. T 6. ฌ 7. ค 8. T 9. F 10. T 13. T 14. T 15. T 4) แบบฝึกหดั ถูก-ผดิ 18. F 19. F 20. T 1. F 2. F 6. T 7. T 11. F 12. T 16. T 17. T 44
สันติ ภัยหลบลี้ ฝั่งและหาด 5) แบบฝึกหดั ปรนัย 1. ก 2. ก 3. ข 4. ค 5. ก 8. ง 9. ง 10. ก 6. ข 7. ข 13. ก 14. ข 15. ง 18. ข 19. ก 20. ข 11. ง 12. ก 23. ค 24. ง 25. ง 28. ค 29. ค 30. ง 16. ค 17. ค 33. ค 34. ง 35. ข 38. ก 39. ค 40. ค 21. ง 22. ข 43. ก 44. ง 45. ค 48. ค 49. ก 50. ก 26. ข 27. ง 31. ค 32. ข 36. ง 37. ง 41. ข 42. ง 46. ง 47. ค 45
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: