Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Bookคู่มือนักเรียนนักศึกษา2564-วอศ.นว

E-Bookคู่มือนักเรียนนักศึกษา2564-วอศ.นว

Published by Aj.pan Rattanaumporn, 2021-08-10 00:18:54

Description: E-Bookคู่มือนักเรียนนักศึกษาประจำปีการศึกษา2564-วอศ.นครสวรรค์

Search

Read the Text Version

1OO

ระเบียบกรมอาชีวศกึ ษา ว่าดว้ ยการตดั คะแนนความประพฤตเิ พ่อื พจิ ารณาลงโทษนักเรยี นหรือนกั ศึกษา พ.ศ. 2534 อาศัยอำ�นาจตามข้อ 13 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. 2515 แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2522 กรมอาชีวศึกษาจึงวางระบบเกี่ยวกับการตัดคะแนนความประพฤติเพ่ือพิจารณาลงโทษนักเรียนหรือ นักศึกษาไว้ดงั ต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกรมอาชีวศึกษา ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติเพื่อพิจารณา ลงโทษนกั เรยี นหรือนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2534” ขอ้ 2 ระเบยี บน้ีใชบ้ ังคับตั้งแต่ปีการศึกษา 2534 เป็นต้นไป ขอ้ 3 ให้ยกเลิก ระเบียบกรมอาชีวศึกษา ว่าด้วยการพัฒนาความประพฤตินักเรียนหรือนักศึกษาใน สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2522 บรรดาระเบียบ คำ�สั่ง หรือข้อบังคับอื่นใดท่ีระเบียบกำ�หนดไว้แล้ว หรือที่ขัดหรือยั้งกับระเบียบน้ี ใหใ้ ช้ระเบยี บนแ้ี ทน ขอ้ 4 ในระเบยี บนี้ “สถานศึกษา” หมายความว่า โรงเรียน วิทยาลัย ศูนย์ฝึกวิชาชีพหรือสถานศึกษาท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืน ในสงั กดั กรมอาชวี ศกึ ษา “หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่า อาจารย์ใหญ่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน ผู้อำ�นวยการวิทยาลัย ผูอ้ ำ�นวยการศนู ย์ หรอื ตำ�แหน่งซึ่งท�ำ หน้าทีห่ ัวหน้าสถานศึกษาทเี่ รยี กช่ืออยา่ งอน่ื “นักเรียนหรือนักศึกษา” หมายความว่า ผู้ที่กำ�ลังศึกษาในสถานศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชพี (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.) ประกาศนยี บตั รวิชาชพี เทคนคิ (ปวท.) และประกาศนยี บัตร ชา่ งฝีมอื (ปชม.) “ผปู้ กครอง” หมายความวา่ บดิ า มารดา หรอบุคคลซง่ึ รบั นักเรยี นนกั ศึกษาไว้ในความปกครอง “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการพจิ ารณาตดั คะแนนความประพฤตนิ กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา ขอ้ 5 คณะครู - อาจารย์ในสถานศึกษา มีอำ�นาจสั่งตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนหรือนักศึกษา แต่ละคนทีก่ ระทำ�ความผดิ ไดไ้ ม่เกนิ ครั้งละ 5 คะแนน หัวหน้างานปกครอง ผู้ช่วยหัวหน้าสถานศึกษา หรือหัวหน้าสถานศึกษา มีอำ�นาจสั่งตัดคะแนนความ ประพฤตนิ ักเรยี นนักศึกษาแต่ละคนท่กี ระท�ำ ความผิดไดไ้ มเ่ กนิ ครัง้ ละ 10 คะแนน การตัดคะแนนความประพฤติต้องรายงานเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร ใหห้ ัวหน้าสถานศึกษาทราบทกุ คร้ัง ขอ้ 6 การตดั คะแนนความประพฤติใหเ้ รม่ิ ต้นนับใหม่เม่อื เร่ิมภาคเรียนใหม่ ขอ้ 7 ผลของการตัดคะแนนความประพฤติจากการกระทำ�ความผิดครั้งเดียวหรือหลายคร้ังรวมกัน มโี ทษดังต่อไปน้ี 1O1

(1) ถูกตัดคะแนนความประพฤตริ วม 10 คะแนน ใหว้ ่ากล่าวตกั เตือนเป็นลายลักษณ์อกั ษร (2) ถูกตัดคะแนนความประพฤติรวม 20 คะแนน ใหท้ ำ�ทณั ฑบ์ น (3) ถูกตดั คะแนนความประพฤติรวม 30 คะแนน ใหส้ ั่งพกั การเรียน ข้อ 8 นักเรียนหรือนักศกึ ษาทก่ี ระทำ�ความผดิ ซง่ึ ควรได้รีบโทษสถานหนักกวา่ โทษตามข้อ 7 ไม่วา่ จะเคย ถูกตัดคะแนนความประพฤตมิ าก่อนหรือไม่ สถานศึกษาอาจลงโทษใหอ้ อกหรือคดั ช่อื ออกได้ ขอ้ 9 การลงโทษตามข้อ 7 หรือ 8 ให้สถานศึกษาดำ�เนินการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการท่ีกำ�หนดไว้ ในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา และจะต้องผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการตามข้อ 11(2) ด้วย เว้นแต่เป็นการลงโทษตามข้อ 7(1) หรือ (2) จะไม่ผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการกไ็ ด้ ขอ้ 10 ให้หัวหน้าสถานศึกษา แต่งต้งั คณะกรรมการพิจารณาตัดความประพฤตินักเรียนหรือนักศึกษาข้นึ ประกอบด้วยรองผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการนักเรียนหรือนักศึกษา หรือผู้ที่หัวหน้าสถานศึกษาเห็นสมควรเป็น ประธานกรรมการครู - อาจารยใ์ นสถานศกึ ษามจี �ำ นวนตามความเหมาะสมเปน็ กรรมการ และหวั หนา้ งานปกครอง เปน็ กรรมการ และเลขานกุ ารโดยใหม้ ีวาระการทำ�งานตามทีห่ ัวหน้าสถานศกึ ษาเห็นสมควร ขอ้ 11 คณะกรรมการมอี ำ�นาจหน้าที่ดงั น้ี (1) พจิ ารณาเสนอตดั คะแนนความประพฤตคิ ร้ังละเกนิ กว่า 10 คะแนนขึ้นไป (2) พิจารณาเสนอระดับโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศึกษาท่ีกระท�ำ ความผดิ ขอ้ 12 การประชุมต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าสองในสามของคณะกรรมการท้ังหมด จึงจะถือว่าครบองค์ประชุม และต้องมีการจดบันทึกรายงานการประชุมไว้ทุกครั้ง โดยให้ผู้เข้าร่วมประชุม ลงลายมือช่ือไว้เป็นหลักฐาน มติของคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก ในกรณีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน กรรมการออกช้ีขาดให้สถานศึกษาสั่งตัดคะแนนความประพฤติ หรือลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาตามปกติ ของคณะกรรมการในการประชุมพิจารณาให้อาจารย์ท่ีปรึกษาของนักเรียนหรือนักศึกษาท่ีกระทำ�ความผิดเข้าร่วม พจิ ารณาและใหค้ วามเหน็ ตอ่ คณะกรรมการด้วย แต่ไม่มสี ทิ ธ์อิ อกเสยี งลงมติในทีป่ ระชุม ขอ้ 13 เมื่อได้ตัดคะแนนความประพฤติ หรือลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาแล้วให้สถานศึกษาดำ�เนินการ ดงั นี้ (1) แจ้งใหน้ ักเรยี นหรอื นักศึกษาผนู้ ้นั ทราบ (2) แจ้งการถูกตัดคะแนนความประพฤติหรือการลงโทษให้ผู้ปกครองของนักเรียนหรือนักศึกษา ผู้น้ันทราบ (3) เก็บหลกั ฐานการรับทราบของผู้ปกครองไว้ (4) บันทึกการตัดคะแนนความประพฤติ และหรือการลงโทษไว้เป็นหลักฐานโดยไม่ต้องบันทึกไว้ ในระเบียบ ขอ้ 14 ให้หัวหน้าสถานศึกษาวางหลักเกณฑ์และวิธีการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนหรือนักศึกษา เพื่อถือปฏิบัติโดยไม่ขดั หรอื แยง้ กบั ระเบียบนี้ ข้อ 15 ให้รองอธบิ ดีกรมอาชีวศกึ ษาที่ได้รบั มอบหมายรักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2534 (นายบุญเทียม เจรญิ ย่ิง) อธบิ ดีกรมอาชีวศึกษา 1O2

ระเบียบวิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ ว่าด้วยการใชห้ ้องสมดุ พ.ศ. 2543 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564) ห้องสมุดวิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ เปิดข้ึนเพ่ือให้บริการด้านการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางวิชาการ และข่าวสารต่าง ๆ เพ่ือให้การดำ�เนินงานของห้องสมุดเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงเห็นสมควรกำ�หนดระเบียบ ในการใชห้ ้องสมุดดงั ต่อไปนี้ 1. ผมู้ ีสทิ ธิใชบ้ รกิ ารห้องสมุด 1.1 นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา วิทยาลยั อาชีวศึกษานครสวรรค์ 1.2 ครู และเจ้าหน้าทขี่ องวิทยาลัยอาชวี ศึกษานครสวรรค์ 1.3 บคุ คลภายนอกที่ไดร้ ับอนญุ าตจากวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษานครสวรรค์ 2. เวลาให้บริการ วันจันทร์ - วนั ศุกรต์ ง้ั แต่ 08.00 - 18.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วนั หยุดราชการ และวนั ทีม่ กี จิ กรรมของวิทยาลยั ฯ ปิดบริการ 3. สิง่ ตพี มิ พ์ 3.1 หนงั สือ 3.1.1 หนงั สือทวั่ ไป 3.1.2 นวนยิ าย, เรอ่ื งส้นั , วรรณกรรม 3.2 ส่ิงพมิ พท์ ี่ไม่อนุญาตให้ยมื ออกนอกห้องสมดุ 3.2.1 วารสาร 3.2.2 จุลสาร, กฤตภาค, หนงั สือพิมพ์ 3.2.3 หนังสืออ้างองิ 4. การใชบ้ ัตรสมาชกิ ห้องสมุด ผมู้ สี ทิ ธใิ ชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ใชบ้ ตั รนกั เรยี น นกั ศกึ ษา หรอื บตั รสมาชกิ ทห่ี อ้ งสมดุ จดั ท�ำ ขน้ึ การใชบ้ รกิ าร อนุญาตใหใ้ ชไ้ ดเ้ ฉพาะเจา้ ของบตั รเท่านนั้ หา้ มนำ�บัตรผูอ้ ่ืนมาใช้ 5. การยมื หนังสอื 5.1 การยืมหนังสือ ให้มาติดต่อยืมหนังสือด้วยตนเองโดยต้องแสดงบัตรประจำ�ตัวทุกครั้งย่ืนบัตรให้ เจา้ หนา้ ทด่ี �ำ เนนิ การ หอ้ งสมุดจะใหบ้ รกิ ารยืม - คนื โดยระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ยมื จะไดร้ ับ Slip กำ�หนดส่ง และ ต้องสง่ ตามเวลาที่ก�ำ หนด 5.2 ฝากส่งคนื ได้ ฝากยืมไม่ได้ 1O3

6. ระยะเวลา และจ�ำ นวนหนงั สอื ในการยืม 6.1 ครู และเจา้ หน้าที่ 6.1.1 หนงั สอื ทั่วไป (ตำ�รา สารคดี นวนิยาย) ยืมไม่เกนิ 15 เล่ม ภายในระยะเวลา 15 วนั 6.1.2 คู่มือการเรียนการสอนใบงานและหนังสือกรมอาชีวศกึ ษายืมไดใ้ นระยะ 1 ภาคเรยี น 6.1.3 แผ่นซีดี และดีวีดี ยมื ได้ 1 ภาคการศึกษา 6.2 นกั เรียน นกั ศกึ ษา ยืมได้ไม่เกิน 2 เลม่ ภายในระยะเวลา 7 วนั 7. การยมื หนังสอื ยืมติดต่อกนั ได้ 2 คร้งั 8. การขอใช้สถานท่ีห้องสมุด ในการให้นักเรียน นักศึกษา ค้นคว้าประกอบการเรียนการสอนหรือเข้าดู วีดิทัศน์ ผู้ขอใช้สถานที่ต้องเป็นครูผู้สอนวิชานั้น โดยการกรอกแบบฟอร์มในการขอใช้สถานท่ีก่อนล่วงหน้า 1 วัน และเป็นผู้ควบคุมดแู ลใหน้ ักเรียน นักศึกษาปฏิบตั ิตามระเบยี บของห้องสมดุ ตลอดเวลาของการขอใช้บริการ 9. การขอใช้บรกิ าร ดูภาพยนตรใ์ หก้ รอกข้อมูลตามทีห่ อ้ งสมดุ จัดให้ และปฏิบัตดิ ังนี้ 9.1 ภาพยนตร์ทหี่ อ้ งสมดุ จดั ให้ 9.2 ถา้ เปน็ ภาพยนตร์ทนี่ �ำ มาเอง ต้องให้เจ้าหนา้ ท่ีตรวจสอบก่อน 10. การส่งหนังสือคนื ห้องสมุด 10.1 ผู้คนต้องนำ�หนังสือที่ยืมจากห้องสมุดส่งคืนตามกำ�หนด หากเกินกำ�หนดจะต้องเสียค่าปรับ ตามระเบียบของหอ้ งสมุด 10.2 ผูย้ มื ตอ้ งรับผดิ ชอบความเสยี หายทเี่ กิดขน้ึ กบั หนงั สือหรอื เอกสารท่ียืมไปทุกประเภท 10.3 นักเรียน นักศึกษาที่จะลาออกหรือขออนุมัติจบหลักสูตร จะต้องให้ห้องสมุดตรวจสอบก่อน หากมหี นงั สือค้างต้องนำ�ส่งคนื หรอื เสยี ค่าปรับตามระเบยี บให้เรยี บร้อย 10.4 การเสยี คา่ ปรับ ปรับวนั ละ 1 บาท ต่อ 1 เลม่ โดยจะนับวันหยดุ ราชการดว้ ย 10.5 ผสู้ ง่ คืนเกินก�ำ หนดเวลาเกนิ 5 คร้ัง จะถกู ตดั สทิ ธิยมื หนงั สือเป็นเวลา 1 เดอื น 11. บทลงโทษสำ�หรับผู้ค้างคา่ ปรับหรอื ไมส่ ่งหนังสือคนื 11.1 นกั เรียน - นักศกึ ษา 11.1.1 ตัดสิทธิ์ในการยืมหนังสือห้องสมุด 11.1.2 กรณอี ื่น ๆ พจิ ารณาตามความเหมาะสม 11.2 ครแู ละเจ้าหนา้ ท่ี 11.2.1 ตัดสทิ ธใ์ิ นการยืมหนังสือห้องสมดุ 11.2.2 เสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณา ท้ังน้ีจนกว่าจะได้รับค่าปรับ หรือได้รับหนังสือคืน เปน็ ที่เรียบร้อยแลว้ 12. บทลงโทษสำ�หรบั ผูท้ ท่ี ำ�หนังสือหาย 12.1 ให้นำ�หนังสือเรื่องเดียวกันมาทดแทน หรือพร้อมจ่ายค่าปรับตามกระบวนการเทคนิคของห้อง สมุดอกี เป็นจำ�นวน 20 บาท 12.2 ในกรณีไม่สามารถหาหนังสือเรื่องเดิมมาทดแทนได้ ให้คิดราคาเป็น 2 เท่าของราคาหนังสือ ทสี่ ญู หาย พรอ้ มจา่ ยค่าปรบั ตามความกระบวนการเทคนคิ ของหอ้ งสมดุ อีกเปน็ จำ�นวน 20 บาท 12.3 กรณีอ่ืน ๆ พจิ ารณาตามความเหมาะสม 1O4

13. บทลงโทษสำ�หรับผขู้ ีดเขยี น ตดั ฉีก ทำ�ลายหรือขโมยหนงั สอื ของหอ้ งสมดุ 13.1 ใหน้ ำ�หนังสอื เรอ่ื งเดียวกนั มาทดแทน 13.2 ตัดคะแนนความประพฤติ 13.3 พกั การเรยี น 13.4 ไลอ่ อก 14. ขอ้ ปฏิบัตใิ นการใชห้ ้องสมุด 14.1 หา้ มนำ� แฟม้ กระเปา๋ ถงุ หนงั สือหรือสมดุ อ่ืนใด เขา้ ห้องสมดุ 14.2 แต่งกายสุภาพ 14.3 หา้ มส่งเสยี งดัง 14.4 ห้ามใช้โทรศัพท์มือถือในหอ้ งสมุด 14.5 ก่อนออกจากหอ้ งสมุดใหเ้ จา้ หนา้ ที่ตรวจหนังสือ หรอื เอกสารกอ่ น 15. ผ้ฝู ่าฝนื การใช้ระเบยี บหอ้ งสมดุ จะไดร้ ับการด�ำ เนินการดังน้ี 15.1 ว่ากลา่ วตักเตือน 15.2 ให้ออกนอกบริเวณหอ้ งสมุด 15.3 ตัดสิทธิ์การใช้ห้องสมดุ 15.4 เสนอคณะกรรมการปกครองเพ่ือพจิ ารณาลงโทษ 16. ให้ครู เจา้ หน้าที่ และนกั เรียน นกั ศกึ ษาถอื เปน็ ระเบียบปฏบิ ัติ ท้ังนี้ ให้ใช้ระเบียบต้งั แต่วนั ที่ 7 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี 7 มิถุนายน พ.ศ. 2564 (นายอาณตั ชิ ัย จนั ทิวาสน์) ผ้อู �ำ นวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ 1O5

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562 โดยทพ่ี ระราชบญั ญตั กิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2551 มาตรา 6 และมาตรา 9 ก�ำ หนดใหก้ ารจดั การอาชวี ศกึ ษา และการฝึกอบรมวิชาชีพต้องจัดตามหลักสูตรท่ีคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำ�หนดโดยให้สอดคล้องกับแผน พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ. 2560 - 2564 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ฉบบั ปรบั ปรงุ มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 กรอบคุณวฒุ อิ าชวี ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 และเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ละระดับ เพ่ือผลิตและพัฒนากำ�ลังคนให้สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ เพื่อให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จึงสมควรออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการจดั การศกึ ษาและการประเมินผลการเรียนตามหลกั สตู ร อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. 2564 รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงวางระเบียบไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผล การเรยี นตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562” ขอ้ 2 ระเบียบนใี้ ห้ใช้บงั คับตั้งแตว่ ันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตาม หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศักราช 2556 ลงวันที่ 20 มถิ ุนายน พ.ศ. 2559 ข้อ 4 ใหใ้ ช้ระเบียบน้บี งั คบั แกส่ ถานศึกษาทจี่ ัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี ขอ้ 5 ในระเบยี บน้ี “หลกั สตู ร” หมายความว่า หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ทค่ี ณะกรรมการการอาชวี ศึกษาก�ำ หนด “ประกาศนียบัตรวิชาชีพ” หมายความว่า การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังจากจบ การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น หรือเทียบเทา่ ใชอ้ กั ษรยอ่ ว่า “ปวช.” “สถานศึกษา” หมายความว่า วิทยาลัยหรือสถานศึกษาท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนของรัฐและเอกชนที่จัดการ ศกึ ษาตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี รวมถึงสถานศึกษาในสถาบนั การอาชีวศึกษา “หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่า ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยหรือหัวหน้าสถานศึกษาท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืน ของรฐั และเอกชนที่จดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ “หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ” หมายความวา่ หนว่ ยงานทม่ี สี ถานศกึ ษาทจ่ี ดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั ร วชิ าชีพอยู่ในสงั กัดหรือความควบคุมดูแล 1O6

“ผู้เข้าเรียน” หมายความว่า ผู้เข้าสมัครเข้าเรียนในสถานศึกษา หรือสมัครฝึกอาชีพกับสถานประกอบ การทย่ี งั ไม่ได้ขน้ึ ทะเบียนเปน็ นักเรยี น “นักเรยี น” หมายความวา่ ผูท้ ่ไี ดข้ น้ึ ทะเบยี นเป็นนกั เรียนตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ “ภาคเรยี น” หมายความวา่ ชว่ งเวลาทส่ี ถานศกึ ษาเปดิ ท�ำ การสอน โดยก�ำ หนดให้ 1 ปี การศกึ ษาแบง่ ออก เป็น 2 ภาคเรียน และใน 1 ภาคเรยี น มีระยะเวลาจัดการศึกษารวมการวดั ผล 18 สัปดาห์ “ภาคเรียนฤดูร้อน” หมายความว่า ช่วงเวลาท่ีสถานศึกษาเปิดทำ�การสอนในช่วงปิดภาคเรียนตาม ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร ว่าด้วยการเปิดภาคเรียนฤดูรอ้ นในสถานศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร “การเรียนแบบเต็มเวลา (full-time)” หมายความว่า การจัดการเรียนการสอนในภาคเรียนปกติหรือ ภาคฤดูร้อนที่ใช้เวลาในช่วงของวันทำ�การ โดยนักเรียนจะต้องลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียนตามเกณฑ์ จ�ำ นวนหน่วยกิตมาตรฐานของการลงทะเบียนทก่ี ำ�หนดสำ�หรับการเรยี นแบบเต็มเวลา “การเรียนแบบไม่เต็มเวลา (part-time)” หมายความว่า การจัดการเรียนการสอนเหนือจากการเรียน การสอนภาคเรียนปกติท่ีใช้เวลานอกเวลาของวันทำ�การ โดยนักเรียนจะต้องลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน ตามเกณฑ์จ�ำ นวนหน่วยกติ มาตรฐานของการลงทะเบยี นที่ก�ำ หนดส�ำ หรับการเรยี นแบบไม่เต็มเวลา “สถานประกอบการ” หมายความว่า บรษิ ทั หางหุ้นสว่ น รา้ น รฐั วสิ าหกิจ หนว่ ยงานของรัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศทรี่ ว่ มมอื กับสถานศึกษาเพือ่ จดั การอาชีวศึกษา “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดามารดา และบุคคลอ่ืนท่ีทำ�หน้าที่ปกครองดูแลและให้ความอุปการะ แก่นักเรียน และให้คำ�รับรองแก่สถานศึกษาหรือสถานประกอบการว่าจะปกครองดูแลความประพฤติของนักเรียน ในระหว่างที่เรียนอยู่ในสถานศึกษา และฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ หรือฝึกอาชีพ ในการศึกษาระบบทวภิ าคี “การศึกษาในระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เน้นการศึกษาในสถานศึกษาเป็นหลัก โดยมกี ารก�ำ หนดจดุ มงุ่ หมาย วธิ ีการศกึ ษา หลกั สตู ร ระยะเวลา การวดั และการประเมินผลทเ่ี ปน็ เงื่อนไขของการ ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาที่แนน่ อน “การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีมีความยืดหยุ่นในการกำ�หนดจุด มุ่งหมายรูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลท่ีเป็นเงื่อนไขของการสำ�เร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล แต่ละกลมุ่ “การศกึ ษาระบบทวภิ าค”ี หมายความวา่ การจดั การศกึ ษาวชิ าชพี ทเ่ี กดิ จากขอ้ ตกลงระหวา่ งสถานศกึ ษา กับสถานประกอบการ ในเรื่องการจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลโดยนักเรียนใช้เวลา สว่ นหนงึ่ ในสถานศึกษา และเรยี นภาคปฏิบตั ใิ นสถานประกอบการ “ผู้ควบคุมการฝึก” หมายความว่า ผู้ท่ีสถานประกอบการมอบหมายให้ทำ�หน้าที่ประสานงานกับสถาน ศกึ ษาในการจัดการศกึ ษาระบบทวภิ าคี และรับผิดชอบดูแลการฝึกอาชีพของนักเรียนในสถานประกอบการ “ครูฝึก” หมายความว่า ผู้ทำ�หน้าที่สอน ฝึก อบรมนักเรียนในสถานประกอบการตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำ�หนด 1O7

“ครูนิเทศก์” หมายความว่า ครูท่ีสถานศึกษามอบหมายให้ทำ�หน้าที่นิเทศ ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�แก่ นกั เรียนทฝ่ี กึ อาชีพและฝึกประสบการณส์ มรรถนะวิชาชพี “ครทู ี่ปรึกษา” หมายความว่า ครสู ถานศกึ ษามอบหมายใหท้ ำ�หนา้ ทใี่ หค้ �ำ แนะน�ำ ให้คำ�ปรกึ ษา ติดตาม ผลการเรียน และตกั เตอื นดูแลความประพฤติของนกั เรยี น “มาตรฐานวิชาชีพ” หมายความวา่ ข้อก�ำ หนดดา้ นสมรรถนะวชิ าชีพ เพื่อใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการกำ�กับดแู ล ตรวจสอบและประกนั คณุ ภาพผสู้ ำ�เร็จการศกึ ษา “การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า การทดสอบความรู้ ความสามารถ ตลอดจนลักษณะ นิสัยในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยใช้เคร่ืองมือท่ีเหมาะสมซึ่งกำ�หนดเกณฑ์การตัดสินใจไว้ชัดเจน พร้อมท้งั จดั ดำ�เนินการประเมินภายใตเ้ งอ่ื นไขท่เี ป็นมาตรฐาน “คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า คณะกรรมการผู้ทำ�หน้าท่ีรับผิดชอบในการ อ�ำ นวยการ ตดิ ตามและกำ�กบั ดูแลการประเมินมาตรฐานวิชาชพี ของนกั เรยี นในสถานศกึ ษา ขอ้ ๖ ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษารักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอำ�นาจ ตคี วามและวนิ จิ ฉัยปัญหาเกีย่ วกบั การปฏบิ ตั ิตามระเบยี บน้ี หมวด 1 ผเู้ ขา้ เรียนและสภาพนกั เรยี น ส่วนที่ 1 พ้นื ความรแู้ ละคุณสมบตั ขิ องผ้เู ข้าเรียน ข้อ 7 ผูเ้ ข้าเรียน ต้องมพี น้ื ความรู้ ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาไมต่ าํ่ กว่าระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทียบเทา่ ความในข้อน้ี ไม่ใช้บังคับสำ�หรับผู้ที่เรียนเป็นบางเวลา บางรายวิชา หรือบางส่วนของรายวิชาโดยไม่นับ จ�ำ นวนหน่วยกิตมารวมเพ่ือตดั สนิ การส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู รและรบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ข้อ 8 ผเู้ ข้าเรยี น ตอ้ งมคี ุณสมบตั ิ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) มคี วามประพฤตเิ รียบรอ้ ย (2) มีสุขภาพร่างกายแขง็ แรงไมเ่ ป็นอุปสรรคตอ่ การเรยี น (3) มีภูมิลำ�เนาเป็นหลักแหล่ง โดยมีบัตรประจำ�ตัวประชาชน หรือมีหลักฐานของทางราชการ ในลักษณะเดยี วกันมาแสดง (4) มีความเคารพ เล่ือมใส ศรัทธาสถาบนั ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั รยิ ์ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ (5) มเี จตคตทิ ่ีดตี อ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ (6) สำ�หรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี ในวันทำ�สัญญาการฝึกอาชีพต้องมีอายุไม่ตํ่ากว่า 15 ปี บริบูรณ์ และมคี วามตั้งใจท่จี ะรบั การฝึกอาชีพในสาขาวชิ าทส่ี มัคร ผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษา ให้สถานศึกษากำ�หนดคุณสมบัติเพ่ิมเติมได้ตามความ เหมาะสมของโครงการนัน้ 1O8

สว่ นท่ี 2 การเข้าเรียน ขอ้ 9 การรับผู้เข้าเรียน ใหท้ ำ�การสอบคัดเลือกหรอื คัดเลือกตามท่สี ถานศึกษาก�ำ หนดในกรณที ่ีมกี ารสอบ คัดเลือก ใหป้ ฏิบตั ิดงั น้ี (1) ท�ำ การสอบขอ้ เขยี นในหมวดวชิ าใด ๆ ตามความตอ้ งการของสถานศกึ ษาหรอื สถานประกอบการ หากสถานศึกษาหรือสถานประกอบการจะทำ�การสอบความถนัดทางการเรียนวิชาชีพและสอบสัมภาษณ์ด้วยก็ได้ (2) สถานศึกษาประกาศรับสมัคร ดำ�เนินการสอบและประกาศผลสอบ ตามวันและเวลาท่ีหน่วย งานต้นสังกดั ก�ำ หนด (3) ถ้าเหตุการณ์เก่ียวกับการสอบเป็นไปโดยปกติ ให้สถานศึกษาเก็บรักษาเอกสารเกี่ยวกับการ สอบคดั เลือกไวเ้ ป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี นับแต่วนั ประกาศผลการสอบ การรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี สถานประกอบการจะเป็นผู้สอบคัดเลือกหรือคัดเลือกผู้เข้า เรียนเองตามคุณสมบัติท่ีกำ�หนดและตามจำ�นวนที่ได้ตกลงร่วมกับสถานศึกษา หรือมอบให้สถานศึกษาเป็น ผูด้ ำ�เนนิ การ หรือด�ำ เนินการร่วมกนั ก็ได้ การรับผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษา ให้สถานศึกษาคัดเลือกผู้เข้าเรียนตามคุณสมบัติ ทีก่ ำ�หนดตามความเหมาะสมของโครงการนัน้ ขอ้ 10 ให้มีการตรวจร่างกายโดยแพทย์ปริญญา เฉพาะผู้ท่ีผ่านการสอบคัดเลือก หรือได้รับการคัดเลือก ส่วนที่ 3 การเปน็ นกั เรียน ขอ้ 11 ผู้เขา้ เรียนจะมสี ภาพเป็นนักเรียน เม่อื ไดข้ ้นึ ทะเบียนเปน็ นกั เรยี นของสถานศึกษา สำ�หรบั การศึกษาระบบทวิภาคี ผเู้ ขา้ เรียนต้องทำ�สญั ญาการฝึกอาชพี กับสถานประกอบการ การข้ึนทะเบียนเป็นนักเรียนและการทำ�สัญญาการฝึกอาชีพต้องกระทำ�ด้วยตนเอง พร้อมท้ังแสดง หลกั ฐานการส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามวนั เวลา ทส่ี ถานศกึ ษาและสถานประกอบการก�ำ หนดโดยช�ำ ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี ม ต่าง ๆ ตามท่ีสถานศึกษากำ�หนด ท้ังน้ี ให้เสร็จส้ินก่อนวันเปิดภาคเรียน โดยมีผู้ปกครองซ่ึงสถานศึกษาเช่ือถือ มาใหค้ �ำ รบั รองและท�ำ หนงั สือมอบตัว ในกรณีผู้เข้าเรียนท่ีบรรลุนิติภาวะ สถานศึกษาอาจให้ผู้ปกครองมาทำ�หนังสือมอบตัวหรือดำ�เนินการ ใส่ส่วนทเ่ี กี่ยวข้องกับระเบยี บนี้หรอื ไมก่ ็ได้ ให้สถานศึกษาจัดการประชุมช้ีแจงผู้ปกครอง และปฐมนิเทศนักเรียน เพื่อให้ทราบแนวทางการเรียน และกฎระเบียบ ขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง ขอ้ 12 ให้สถานศึกษาออกบัตรประจำ�ตัวให้แก่นักเรียน โดยให้เป็นไปตามระเบียกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยบัตรประจำ�ตวั นักเรียนและนกั ศกึ ษา บัตรประจำ�ตัวนี้ให้มีอายุเท่ากับระยะเวลาท่ีมีสภาพนักเรียนในสถานศึกษาแห่งน้ัน แต่ต้องไม่เกิน 3 ปี นับแต่วันออกบัตร ถ้าบัตรประจำ�ตัวหมดอายุในระหว่างท่ียังท่ียังมีสภาพเป็นนักเรียนก็ให้สถานศึกษาต่ออายุบัตร เปน็ ปี ๆ ไป และใหส้ ่งคนื บัตรประจ�ำ ตวั ต่อสถานศึกษาเม่ือพ้นสภาพการเป็นนกั เรียน 1O9

สถานประกอบการจะใช้บัตรประจำ�ตัวท่ีสถานศึกษาออกให้ หรือจะออกให้ใหม่ตามความต้องการของ สถานประกอบการก็ได้ ข้อ 13 ให้สถานศึกษาแต่งตั้งครูท่ีปรึกษา เพ่ือทำ�หน้าที่ให้คำ�แนะนำ�เก่ียวกับการเรียนให้คำ�ปรึกษา ติดตามผลการเรียน และตักเตือนดูแลความประพฤติของนักเรียน และให้สถานประกอบการจัดให้มีผู้ควบคุม การฝึกของนกั เรียนในสถานประกอบการ สว่ นที่ 4 การพ้นสภาพและคืนสภาพนักเรียน ขอ้ 14 การพ้นสภาพนกั เรียน เป็นไปตามกรณใี ดกรณีหนึ่งตอ่ ไปนี้ (1) สำ�เร็จการศกึ ษาตามหลักสูตร (2) ลาออก (3) ถึงแก่กรรม (4) สถานศกึ ษาสง่ั ใหพ้ น้ สภาพนักเรยี นในกรณีใดกรณีหนึ่ง ตอ่ ไปน้ี ก. ขาดเรียน ขาดการฝกึ อาชีพ ขาดการฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชพี หรอื ขาดการติดตอ่ กับสถานศึกษาหรือสถานประกอบการเกินกว่า 15 วันติดต่อกัน ซึ่งสถานศึกษาหรือสถานประกอบการพิจารณา แล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันควร หรือมีพฤติกรรมอย่างอ่ืนท่ีแสดงว่าไม่มีความตั้งใจท่ีจะศึกษาเล่าเรียนหรือรับการ ฝกึ อาชีพ หรอื รับการฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวิชาชีพ ข. ไม่ยื่นคำ�ร้องขอกลับเข้าเรียนภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันครบกำ�หนดลาพักการเรียน หรอื การฝึกอาชพี ตามขอ้ 20 ค. ไม่มาติดตอ่ เพ่อื รกั ษาสภาพนกั เรียน ตามข้อ 27 ง. ได้รับโทษจำ�คุก โดยคำ�พิพากษาถึงที่สุดให้จำ�คุก เว้นแต่เป็นโทษสำ�หรับความผิดท่ีได้กระทำ� โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ จ. ขาดพืน้ ความรู้ ตามขอ้ 7 ฉ. ขาดคณุ สมบตั ิของผู้เขา้ เรยี น ตามขอ้ 8 ช. พ้นสภาพนกั เรียนตามขอ้ 57 ขอ้ 15 ผทู้ พ่ี น้ สภาพนกั เรยี น ตามขอ้ 14 (2) (4) ก. ข. และ ค. ถา้ ประสงคจ์ ะขอคนื สภาพการเปน็ นกั เรยี น จะต้องยื่นคำ�ร้องขอต่อสถานศึกษาภายใน 1 ปี นับแต่วันถัดจากวันพ้นสภาพนักเรียน เม่ือสถานศึกษาพิจารณา เห็นสมควรก็ใหร้ ับเขา้ เรยี นได้ ข้อ 16 การขอคนื สภาพการเป็นนักเรียนตามข้อ 15 ใหป้ ฏิบัติ ดังน้ี (1) ต้องเขา้ เรยี นภายในสปั ดาห์แรกของภาคเรยี น เวน้ แต่กลบั เข้าเรยี นในภาคเรียนเดยี วกัน (2) ให้นำ�รายวิชาและจำ�นวนหน่วยกิตท่ีได้ลงทะเบียนรายวิชาไว้ มานับรวมเพื่อพิจารณาตัดสิน การสำ�เรจ็ การศึกษาด้วย 11O

ส่วนที่ 5 การพกั การเรยี น ข้อ 17 สถานศึกษาและสถานประกอบการอาจพิจารณาอนุญาตให้นักเรียนลาพักการเรียนหรือการฝึก อาชีพได้ตามทีเ่ ห็นสมควร เมอื่ มเี หตจุ �ำ เปน็ กรณหี นง่ึ ต่อไปนี้ (1) ได้รับทุนการศึกษาให้ไปศึกษา หรือดูงาน หรือเป็นตัวแทนของสถานศึกษาหรือสถานประกอบ การในการเข้ารว่ มประชมุ หรอื กรณีอน่ื ๆ อนั ควรแก่การสง่ เสรมิ (2) เจบ็ ปว่ ยตอ้ งพักรักษาตวั เปน็ เวลานาน โดยมคี �ำ รบั รองของแพทย์ปรญิ ญา (3) กรณลี าพกั เพอ่ื รบั ราชการทหารกองประจำ�การให้ลาพกั ได้จนกว่าจะไดร้ บั การน�ำ ปลด (4) เหตุจำ�เป็นอยา่ งอืน่ ตามท่ีสถานศึกษาและสถานประกอบการพิจารณาเห็นสมควร ในกรณที ม่ี นี กั เรยี นลาพกั การเรยี นหรอื การฝกึ อาชพี ตง้ั แตต่ น้ ปเี ปน็ ระยะเวลานานเกนิ กวา่ 1 ปี สถานศกึ ษา และสถานประกอบการอาจพจิ ารณารบั นกั เรยี นอน่ื เขา้ เรยี นหรือฝกึ อาชีพแทนที่ได้ตามที่เหน็ สมควร นักเรียนท่ีลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพต้องชำ�ระเงินค่ารักษาสภาพนักเรียนและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่สถานศึกษาก�ำ หนด แต่ถา้ นกั เรียนไดช้ ำ�ระเงินคา่ ธรรมเนยี มตา่ ง ๆ ครบถ้วนส�ำ หรบั ภาคเรียนนัน้ แลว้ ไมต่ อ้ ง ช�ำ ระเงินคา่ รกั ษาสภาพนกั เรยี นส�ำ หรับภาคเรยี นนั้นอีก ขอ้ 18 นักเรียนท่ีขออนุญาตลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพ ต้องย่ืนคำ�ร้องเป็นลายลักษณ์อักษร ต่อสถานศึกษา โดยมีผู้ปกครองเป็นผู้รับรอง สำ�หรับผู้ท่ีบรรลุนิติภาวะจะมีผู้รับรองหรือไม่ก็ได้ เมื่อได้รับอนุญาต แล้วจึงพักการเรียนหรอื การฝกึ อาชีพได้ มิฉะนนั้ จะถอื ว่าขาดเรียนเวน้ แตม่ เี หตุผลสมควร ขอ้ 19 การอนญุ าตใหน้ กั เรยี นลาพกั การเรยี นหรอื การฝกึ อาชพี ใหส้ ถานศกึ ษาท�ำ หลกั ฐานเปน็ ลายลกั ษณ์ อกั ษรแจง้ ใหผ้ ูป้ กครองทราบ เว้นแตผ่ ้ทู ี่บรรลุนติ ภิ าวะที่ไม่มีผ้ปู กครองมอบตัว ให้แจ้งนักเรียนโดยตรง ขอ้ 20 นักเรียนท่ีลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพ เมื่อครบกำ�หนดเวลาท่ีลาพักการเรียนหรือการฝึก อาชีพแล้ว ให้ย่ืนคำ�ร้องขอกลับเข้าเรียนพร้อมด้วยหลักฐานการอนุญาตให้ลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพต่อ สถานศกึ ษาภายใน 15 วัน นับแตว่ นั ถัดจากวนั ครบก�ำ หนด หากพน้ ก�ำ หนดนใ้ี หถ้ อื วา่ พน้ สภาพนกั เรยี น เว้นแต่มี เหตผุ ลสมควร สว่ นที่ 6 การลาออก ขอ้ 21 นักเรียนที่ประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักเรียน ต้องให้ผู้ปกครองเป็นผู้รับรองการลาออก เว้นแตผ่ ทู้ ีบ่ รรลนุ ติ ิภาวะ ข้อ 22 นักเรียนท่ีลาออกแล้วได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกัน ให้ถือว่านักเรียนผู้น้ัน มสี ภาพนักเรยี นมาต้งั แต่ตน้ ภาคเรียนน้นั ทกุ ประการ 111

หมวด 2 การจดั การเรยี น สว่ นที่ 1 การเปิดเรียน ขอ้ 23 ให้สถานศกึ ษากำ�หนดวันเปดิ และปิดภาคเรียนตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยปีการศึกษา การเปิดและปิดสถานศึกษา หากสถานศึกษา หากสถานศึกษาใดจะกำ�หนดวันเปิดและปิดภาคเรียนแตกต่างไป จากระเบยี บดงั กลา่ ว ให้ขออนญุ าตตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กดั ข้อ 24 สถานศึกษาท่ีเปิดภาคเรียนฤดูร้อน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการเปิด ภาคเรยี นฤดูรอ้ นในสถานศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษา ส่วนที่ 2 การลงทะเบียนรายวิชา ข้อ 25 สถานศึกษาต้องกำ�หนดวันและเวลาให้นักเรียนลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ ให้เสร็จก่อนวันเปิด ภาคเรยี น ขอ้ 26 สถานศึกษาอาจใหน้ กั เรยี นลงทะเบียนรายวิชาภายหลงั ก�ำ หนดตามขอ้ 25 ก็ไดโ้ ดยให้สถานศกึ ษา ก�ำ หนดวนั ส้นิ สดุ การลงทะเบยี นตามท่เี หน็ สมควร แตต่ ้องไมเ่ กิน 15 วัน นบั แตว่ นั เปิดภาคเรียน หรอื ไมเ่ กนิ 5 วนั นับแต่วันเปิดภาคเรียนฤดรู อ้ น การลงทะเบยี นรายวิชาตามวรรคหนง่ึ นักเรยี นตอ้ งชำ�ระคา่ ปรับตามที่สถานศกึ ษาก�ำ หนด ขอ้ 27 นักเรียนที่มิได้ลงทะเบียนรายวิชาภายในวันและเวลาท่ีสถานศึกษากำ�หนดข้อ 26 ถ้าประสงค์ จะรักษาสภาพนักเรียน ต้องติดต่อรักษาสภาพนักเรียนภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันส้ินสุดการลงทะเบียน หากพน้ ก�ำ หนดนีใ้ ห้ถอื วา่ พน้ สภาพนักเรียน เวน้ แตม่ เี หตุผลสมควร ข้อ 28 การลงทะเบยี นรายวชิ าตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากครทู ี่ปรึกษา ขอ้ 29 นักเรียนต้องลงทะเบยี นรายวชิ าดว้ ยตนเอง ตามวนั และเวลาทีส่ ถานศึกษากำ�หนด ในกรณีท่ีนักเรียนไม่สามารถลงทะเบียนรายวิชาด้วยตนเองได้ จะมอบหมายให้ผู้อื่นมาลงทะเบียนแทน ใหห้ ัวหน้าสถานศึกษาพจิ ารณาเปน็ ราย ๆ ไป ข้อ 30 นักเรียนลงทะเบียนรายวิชาได้ไม่เกินภาคเรียนละ 22 หน่วยกิต สำ�หรับการเรียนแบบเต็มเวลา และได้ไม่เกนิ ภาคเรยี นละ 12 หน่วยกิต สำ�หรบั การเรียนแบบไม่เตม็ เวลา สว่ นการลงทะเบียนรายวิชาในภาคเรียน ฤดูร้อน ใหล้ งทะเบยี นไดไ้ ม่เกิน 12 หน่วยกติ เว้นแต่ไดร้ ับอนญุ าตจากหัวหนา้ สถานศกึ ษา หากสถานศึกษามีเหตุผลและความจำ�เป็นในการให้นักเรียนลงทะเบียนรายวิชาที่แตกต่างไปจากเกณฑ์ ข้างต้น อาจท�ำ ได้แตต่ อ้ งไมก่ ระทบตอ่ มาตรฐานและคุณภาพการศึกษา ข้อ 21 นักเรียนท่ีขอโอนผลการเรียนรายวิชาตามข้อ 59 และข้อ 60 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในสถานศึกษา ไมน่ ้อยกว่า 1 ภาคเรียน นักเรียนที่ขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ตามข้อ 66 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาในสถานศึกษา ทข่ี อส�ำ เรจ็ การศึกษาไมน่ ้อยกวา่ 1 ใน 3 ของจ�ำ นวนหน่วยกิตทรี่ ะบไุ ว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวชิ า และตามแผนการเรียนทส่ี ถานศึกษาก�ำ หนด 112

สว่ นที่ 3 การเปล่ยี น การเพมิ่ และการถอนรายวชิ า ขอ้ 32 นกั เรยี นจะขอเปลย่ี นรายวชิ าทไ่ี ดล้ งทะเบยี นไวแ้ ลว้ หรอื ขอเพม่ิ รายวชิ าตอ้ งกระท�ำ ภายใน 15 วนั นับแต่วันเปิดภาคเรียน หรือภายใน 5 วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียนฤดูร้อนส่วนการขอถอนรายวิชาต้องกระทำ� ภายใน 30 วัน นบั แต่วนั เปดิ ภาคเรียน หรอื ภายใน 10 วัน นบั แตว่ ันเปิดภาคเรยี นฤดรู ้อน การถอนรายวิชาภายหลังกำ�หนดตามวรรคหนึ่งอาจกระทำ�ได้ ถ้าหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่ามี เหตุผลสมควร การขอเปลี่ยน ขอเพิ่ม หรือขอถอนรายวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากครูท่ีปรึกษาและครูผู้สอน ประจำ�รายวชิ า ข้อ 33 การถอนรายวิชาภายในกำ�หนด ตามข้อ 32 ให้ลงอักษร “ถ.น.” ในระเบียนแสดงผลการเรียน ชอ่ ง “ผลการเรียน” การถอนรายวิชาภายหลังกำ�หนดตามข้อ 32 และหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่ามีเหตุผลสมควร ให้ลงอักษร “ถ.น.” ในระเบียนแสดงผลการเรียนช่อง “ผลการเรียน” แต่ถ้าหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า ไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควร ให้ลงอักษร “ถ.ล.” ลงในระเบยี นแสดงผลการเรยี นช่อง “ผลการเรียน” สว่ นที่ 4 การเรยี นโดยไมน่ บั จ�ำ นวนหนว่ ยกติ มารวมเพ่อื การสำ�เรจ็ การศึกษาตามหลักสูตร ขอ้ 34 สถานศึกษาอาจอนุญาตให้นักเรียนลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดวิชาหน่ึงเพื่อเป็นการเสริมความรู้ โดยไมน่ ับจ�ำ นวนหนว่ ยกิตของรายวชิ านั้นมารวมเพอ่ การสำ�เร็จการศึกษาตามหลกั สูตรได้ ขอ้ 35 เม่ือได้ทำ�การวัดและประเมินผลการเรียนแล้วผ่าน ให้บันทึก “ม.ก.” ลงในระเบียนแสดงผล การเรยี นชอ่ ง “ผลการเรยี น” ถา้ ผลการประเมินไม่ผ่านไมต่ ้องบันทึกรายวชิ านั้น และใหถ้ อื เปน็ การสนิ้ สุดสำ�หรับ การเรยี นรายวชิ านั้นโดยไม่นบั จำ�นวนหน่วยกิตมารวมเพอื่ การสำ�เรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตร สว่ นท่ี 5 การนับเวลาเรียนเพ่อื สิทธิในการเขา้ รับการวดั ผลปลายภาคเรยี น ข้อ 36 นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ต่ํากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนสำ�หรับรายวิชานั้น จึงจะมสี ิทธิเ์ ข้ารบั การวดั ผลปลายภาคเรียน ในกรณีทมี่ ีความจ�ำ เปน็ อย่างแท้จรงิ หวั หน้าสถานศกึ ษาอาจพจิ ารณาผอ่ นผนั ให้เปน็ ราย ๆ ไป นักเรียนที่ไม่มีสิทธ์ิเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนตามวรรคหนึ่ง จะขอประเมินเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ตามขอ้ 66 มิได้ ขอ้ 37 การนับเวลาเรยี นใหป้ ฏิบตั ิ ดังน้ี (1) เวลาเปดิ เรยี นเต็มภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ (2) นกั เรยี นทย่ี า้ ยสถานศกึ ษาระหวา่ งภาคเรยี น ใหน้ �ำ เวลาเรยี นจากสถานศกึ ษาทง้ั สองแหง่ มารวมกนั (3) นักเรียนท่ีลาออกแล้ว ได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกันให้นับเวลาเรียนท่ีเรียน แลว้ มารวมกนั 113

(4) นักเรียนท่ีลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพในภาคเรียนใด ได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนหรือ ฝึกอาชีพในภาคเรียนเดียวกัน ให้นับเวลาเรียนหรือฝึกอาชีพก่อนและหลังการลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพ ในภาคเรียนนนั้ มารวมกนั (5) รายวิชาท่ีมีครูผู้สอน หรือครูฝึกตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป และแยกกันสอน ให้นำ�เวลาเรียนที่เรียนกับ ครผู ้สู อนหรือครฝู ึกทุกคนมารวมกนั (6) ถ้ามีการเปล่ยี นรายวิชา หรอื เพ่มิ รายวิชา ใหน้ บั เวลาเรียนตัง้ แต่เรม่ิ เรยี นรายวชิ าใหม่ สว่ นที่ 6 การขออนญุ าตเลอื่ นการเข้ารับการวดั ผลปลายภาคเรียน ขอ้ 38 นักเรียนท่ีไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนตามวันและเวลาท่ีสถานศึกษากำ�หนด หวั หนา้ สถานศกึ ษาอาจอนุญาตให้เลื่อนการเข้ารบั การวัดผลปลายภาคเรียนได้ในกรณตี อ่ ไปนี้ (1) ประสบอุบัติเหตุ หรอื เจบ็ ป่วยกอ่ นหรือระหวา่ งการเข้ารบั การวัดผลปลายภาคเรียน (2) ถูกควบคุมตวั โดยพนักงานเจ้าหนา้ ทตี่ ามกฎหมาย (3) เป็นตัวแทนของสถานศกึ ษา หรือสถานประกอบการ ในการเข้ารว่ มประชุม หรือกิจกรรมพเิ ศษ อยา่ งอ่นื โดยได้รับความยนิ ยอมจากสถานศึกษา (4) มีความจำ�เป็นอย่างอ่ืน โดยสถานศึกษา หรือสถานศึกษาและสถานประกอบการพิจารณาแล้ว เห็นวา่ เปน็ ความจำ�เปน็ อยา่ งแทจ้ ริง ขอ้ 39 นักเรียนท่ีขออนุญาตเล่ือนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ต้องยื่นคำ�ร้องพร้อมทั้งหลักฐาน ประกอบต่อสถานศึกษาก่อนการวัดผลปลายภาคเรียนไม่น้อยกว่า 3 วัน หากไม่สามารถกระทำ�ได้ให้หัวหน้า สถานศกึ ษาพจิ ารณาเปน็ ราย ๆ ไป กรณีที่หัวหน้าสถานศึกษาอนุญาตให้เล่ือนได้ ให้บันทึก “ม.ส.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียนในช่อง “ผลการเรียน” และให้นักเรียนเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทนภายใน 10 วัน นับแต่วันประกาศผล การเรยี นหากไมส่ ามารถดำ�เนนิ การได้ ใหห้ วั หน้าสถานศกึ ษาพิจารณาจัดการวัดผลปลายภาคเรยี นทดแทนภายใน กำ�หนดการวัดผลปลายภาคเรยี นของภาคเรยี นถัดไป การอนุญาตให้เล่ือนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ให้สถานศึกษาทำ�เป็นลายลักษณ์อักษรมอบให้ นักเรยี น หมวด 3 การประเมินผลการเรยี น สว่ นที่ 1 หลกั การในการประเมนิ ผลการเรยี น ขอ้ 40 ให้สถานศึกษามีหน้าท่ีและรับผิดชอบในการประเมินผลการเรียนรายวิชาที่เรียนและฝึกปฏิบัติ ในสถานศึกษา และให้สถานศึกษาและสถานประกอบการมีหน้าที่และรับผิดชอบร่วมกันในการประเมินผล การเรียนรายวิชาท่เี รียนและฝึกปฏิบัตใิ นสถานประกอบการ 114

ข้อ 41 ให้ประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชาตามระบบหน่วยกิต ตามสภาพจริงต่อเนื่องตลอดภาคเรียน ทั้งด้านความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์จากกิจกรรมการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติและงาน ท่มี อบหมาย รวมทัง้ การวัดผลปลายภาคเรียน ซึ่งครอบคลุมจุดประสงค์รายวิชาสมรรถนะรายวชิ าและเนือ้ หาวิชา โดยใช้เครื่องมือและวิธีการหลากหลายตามความเหมาะสม ท้ังนี้ จำ�นวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชา ให้ถือตาม ท่ีก�ำ หนดไวใ้ นหลักสูตร สว่ นท่ี 2 วธิ ีการประเมนิ ผลการเรยี น ข้อ 42 ให้สถานศึกษา พิจารณาทำ�การประเมินผลการเรียนรายวิชาเม่ือส้ินภาคเรียนหรือเมื่อส้ินสุด การเรียน หรอื การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านในทกุ รายวิชา ส�ำ หรบั รายวิชาที่เรยี นและฝึกปฏบิ ัติในสถานประกอบการ ให้สถานศกึ ษาและสถานประกอบการ โดยครู นิเทศและครูฝึกร่วมกันประเมินผลการเรยี น เม่ือส้นิ สุดการเรียนและฝึกปฏบิ ัตใิ นแตล่ ะรายวชิ า ขอ้ 43 ให้หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกับสถานศึกษา ดำ�เนินการส่งเสริมคุณภาพและควบคุมมาตรฐาน การจดั การเรียนการสอน การวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรยี น ข้อ 44 ให้ใชต้ ัวเลขแสดงระดบั ผลการเรยี นในแต่ละรายวิชา คิดเป็นร้อยละตามเกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป ระดับผลการเรียน 4.0 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเย่ียม ร้อยละ 75-79 ระดบั ผลการเรยี น 3.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ มี าก รอ้ ยละ 70-74 ระดบั ผลการเรยี น 3.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดี รอ้ ยละ 65-69 ระดับผลการเรียน 2.5 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑค์ อ่ นข้างดี ร้อยละ 60-64 ระดับผลการเรยี น 2.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยูใ่ นเกณฑพ์ อใช้ ร้อยละ 55-59 ระดับผลการเรียน 1.5 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อน ร้อยละ 50-54 ระดับผลการเรยี น 1.0 หมายถึง ผลการเรียนอย่ใู นเกณฑ์ออ่ นมาก ต่าํ กวา่ รอ้ ยละ 50 ระดับผลการเรยี น 0 หมายถึง ผลการเรียนต่าํ เกณฑ์ (ตก) ข้อ 45 รายวิชาใดทแี่ สดงระดบั ผลการเรยี นตามข้อ 44 ไม่ได้ ให้ใชต้ วั อกั ษรต่อไปนี้ ข.ร. หมายถึง ขาดเรียน ไม่มีสิทธ์ิเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากมีเวลาเรียนตํ่ากว่า รอ้ ยละ 80 โดยสถานศึกษาพจิ ารณาแลว้ เหน็ ว่าไม่มีเหตุสมควร ข.ป. หมายถึง ขาดการปฏิบัติงาน หรือปฏิบัติงานไม่ครบ โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่า ไมม่ เี หตุผลสมควร ส�ำ หรบั รายวชิ าท่ีเรียนหรือฝึกปฏิบตั ใิ นสถานประกอบการ ข.ส. หมายถงึ ขาดการวดั ผลปลายภาคเรยี น โดยสถานศกึ ษาพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ ไมม่ เี หตผุ ลสมควร ถ.ล. หมายถงึ ถอนรายวชิ าภายหลงั ก�ำ หนด โดยสถานศกึ ษาพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ ไมม่ เี หตผุ ลสมควร ถ.น. หมายถงึ ถอนรายวิชาภายในก�ำ หนด ท. หมายถงึ ทุจริตในการสอบ หรอื งานทม่ี อบหมายให้ท�ำ ม.ส. หมายถงึ ไมส่ มบรณู ์ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถเขา้ รบั การวดั ผลปลายภาคเรยี น โดยไดร้ บั อนญุ าต จากหัวหนา้ สถานศึกษา หรือไมส่ ง่ งานอนั เป็นสว่ นประกอบของการเรยี นรายวชิ าตามก�ำ หนด ม.ท. หมายถงึ ไมส่ ามารถเขา้ รบั การวดั ผลปลายภาคเรยี นทดแทนภายในเวลาทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนด ผ. หมายถึง ไดเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมตามก�ำ หนด หรอื ผลการประเมนิ ผ่าน 115

ม.ผ. หมายถึง ไม่เข้ารว่ มกจิ กรรม หรอื ผลการประเมินไม่ผา่ น ม.ก. หมายถึง การเรียนโดยไม่นับจำ�นวนหน่วยกิตมารวมเพ่ือการสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตร และผลการประเมินผา่ น ขอ้ 46 ในกรณตี ่อไปนี้ให้ระดบั ผลการเรยี นเปน็ 0 (ศูนย)์ เฉพาะรายวิชา (1) ได้ ข.ร. (2) ได้ ข.ป. (3) ได้ ข.ส. (4) ได้ ถ.ล. (5) ได้ ท. (6) ได้ ม.ท. ขอ้ 47 นักเรยี นท่ีทำ�การทจุ ริต หรือสอ่ เจตนาทจุ ริตในการสอบ หรอื งานทีม่ อบหมายให้ท�ำ ในรายวชิ าใด ใหส้ ถานศกึ ษาพิจารณาดำ�เนินการ ดงั นี้ (1) ให้ได้คะแนน 0 (ศนู ย)์ เฉพาะครงั้ นน้ั หรอื (2) ให้ระดับผลการเรยี นเปน็ ๐ (ศนู ย)์ โดยบันทกึ “ท.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรยี นช่อง “ผลการเรยี น” ในรายวชิ านน้ั หรอื (3) ดำ�เนินการตาม (2) และตัดคะแนนความประพฤติตามระเบียบว่าด้วยการตัดคะแนนความ ประพฤติท่สี ถานศกึ ษากำ�หนดตามความร้ายแรงแล้วแต่กรณี ขอ้ 48 การคำ�นวณค่าระดบั คะแนนเฉล่ีย ให้ปฏิบตั ิ ดังน้ี (1) ให้นำ�ผลบวกของผลคูณระหว่างจำ�นวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชากับระดับผลการเรียนหาร ด้วยผลบวกของจำ�นวนหนว่ ยกิตของแตล่ ะรายวชิ า คิดทศนยิ มสองต�ำ แหน่งไม่ปดั เศษ (2) ให้คำ�นวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ย จากรายวิชาท่ีได้ระดับผลการเรียนตามข้อ 44 และ ข้อ 46 ส�ำ หรบั รายวชิ าทีน่ กั เรยี นซ้าํ เรียกแทน ใหใ้ ช้ระดับผลการเรียนและนับจ�ำ นวนหนว่ ยกิต ตามข้อ 49 (3) ใหค้ ำ�นวณคา่ ระดบั คะแนนเฉลี่ย ดงั น้ี ก. ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยประจำ�ภาคเรียน คำ�นวณจากรายวิชาท่ีได้ระดับผลการเรียนเฉพาะ ในภาคเรยี นหนึ่ง ๆ ข. ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม คำ�นวณจากรายวิชาท่ีเรียนมาทั้งหมดและได้ระดับผลการเรียน ตัง้ แตส่ องภาคเรยี นขึน้ ไป ขอ้ 49 นักเรียนผู้ใดประสงค์จะเรียนซํ้ารายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนตํ่ากว่า 2.0 หรือ เลือกเรียน รายวิชาอื่นแทนถ้าเป็นรายวิชาเลือก เพ่ือประเมินปรับค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมให้สูงข้ึน ให้สถานศึกษาหรือ สถานประกอบการด�ำ เนนิ การให้เรยี นซา้ํ หรือเรียนแทน ภายในเวลาก่อนสำ�เร็จการศกึ ษา การเรยี นซํา้ รายวชิ า ใหน้ ับจ�ำ นวนหนว่ ยกิตสะสมเพยี งครง้ั เดยี ว สว่ นการเรียนแทนใหน้ ับเฉพาะจำ�นวน หน่วยกติ ของรายวชิ าทเ่ี รียนแทนเป็นจ�ำ นวนหนว่ ยกิตสะสม การนบั จำ�นวนหนว่ ยกติ สะสมในกรณนี ้ี จะกระทำ�เม่อื นักเรียนได้ระดบั ผลการเรยี น ตัง้ แต่ 2.0 ขน้ึ ไป รายวิชาทเ่ี รยี นซํา้ หรือเรยี นแทนแล้วได้ระดับผลการเรียน 0 (ศนู ย)์ ให้ถอื ระดบั ผลการเรียนต่าํ กวา่ 2.0 ตามเดมิ ยกเวน้ การได้ระดับผลการเรยี น 0 (ศูนย์) ตามข้อ 47 (2) หรือ (3) 116

ขอ้ 50 กรณีตามข้อ 49 การคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม ถ้าเป็นรายวิชาที่เรียนซ้ําให้นับจำ�นวน หน่วยกิตเป็นตัวหารเพียงคร้ังเดียว ส่วนการเรียนรายวิชาอื่นแทนให้นับเฉพาะจำ�นวนหน่วยกิตของรายวิชาท่ีเรียน แทนมาเป็นตัวหาร ข้อ 51 ผู้ที่ได้ ม.ส. ตามข้อ 39 และไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทนภายในเวลา ทสี่ ถานศึกษาก�ำ หนด ใหส้ ถานศกึ ษาบนั ทกึ “ม.ท.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรยี นช่อง “ผลการเรียน” เวน้ แตไ่ ด้ ม.ส. ตามข้อ 38 (3) ให้หวั หน้าสถานศกึ ษาพิจารณาเปน็ ราย ๆ ไป กรณีผู้ที่ได้ ม.ส. เนื่องจากไม่สามารถส่งงานอันเป็นส่วนประกอบของการเรียนรายวิชาได้ตามกำ�หนด ให้นักเรียนส่งงานนั้นภายใน 10 วัน นับแต่วันประกาศผลการเรียนรายวิชา หากไม่สามารถดำ�เนินการให้ สถานศึกษาประเมินผลการเรียนจากคะแนนท่ีมีอยู่ เว้นแต่มีเหตุจำ�เป็นท่ีหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นสมควร ทัง้ นี้ ให้ด�ำ เนนิ การใหเ้ สร็จส้ินภายในกำ�หนดการวัดผลปลายภาคเรียนของภาคเรยี นถดั ไป ขอ้ 52 นักเรียนต้องเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เมื่อนักเรียนได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ ทุกรายวิชาตามหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา หรือตามระยะเวลาท่ีคณะกรรมการประเมินมาตรฐาน วิชาชพี ก�ำ หนดท้ังนี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารท่ีส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษาก�ำ หนด นักเรียนจะสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตรได้ จะต้องเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพและผล การประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ทีก่ �ำ หนด ข้อ 53 นักเรียนต้องเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีสถานศึกษาจัดไม่น้อยกว่า 2 ช่ัวโมง ตอ่ สปั ดาห์ ครบทกุ ภาคเรยี นตามแผนการเรยี นทสี่ ถานศึกษากำ�หนด โดยมีเวลาเขา้ ร่วมปฏิบัตกิ ิจกรรมไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 60 ของเวลาที่จดั กจิ กรรมในแตล่ ะภาคเรียน เมอ่ื นกั เรยี นไดเ้ ขา้ รว่ มปฏบิ ตั กิ จิ กรรมครบถว้ นตามเกณฑใ์ นภาคเรยี นใด ถอื วา่ ประเมนิ ผา่ นในภาคเรยี นนน้ั ใหบ้ ันทึกชื่อกจิ กรรมและตดั อกั ษร “ผ” ในระเบยี นแสดงผลการเรียน ชอ่ ง “ผลการเรยี น” หากนักเรียนเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ในภาคเรียนใด ให้สถานศึกษาพิจารณามอบงาน หรอื กจิ กรรมในสว่ นทน่ี กั เรยี นผนู้ น้ั ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิ ใหป้ ฏบิ ตั ใิ หค้ รบถว้ นภายในเวลาทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนด เมอ่ื นกั เรยี น ดำ�เนินการครบถ้วนแล้วถือว่าประเมินผ่าน แล้วจึงบันทึกชื่อกิจกรรมและตัวอักษร “ผ.” ในระเบียนแสดงผลการ เรยี นของภาคเรยี นนั้น ถา้ นักเรียนด�ำ เนนิ การไมค่ รบถ้วน ถือวา่ ประเมินไมผ่ ่าน ให้บนั ทกึ ชอ่ื กจิ กรรมและตวั อักษร “ม.ผ.” ให้นักเรียนที่เข้าฝึกอาชีพ หรือฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการเข้าร่วมปฏิบัติ กจิ กรรมทส่ี ถานประกอบการจดั ตามเกณฑ์และขอ้ ตกลงรว่ มกันระหวา่ งสถานศึกษากับสถานประกอบการ สว่ นที่ 3 การตัดสินผลการเรียน ข้อ 54 การตดั สนิ ผลการเรยี นให้ดำ�เนนิ การ ดงั น้ี (1) ตดั สินผลการเรียนเปน็ รายวิชา (2) รายวิชาท่ีมีระดับผลการเรียนตั้งแต่ 1.0 ขึ้นไป ถือว่าประเมินผ่านและให้นับจำ�นวนหน่วยกิต ของรายวิชาน้นั เป็นจ�ำ นวนหนว่ ยกติ สะสม 117

(3) เมอ่ื ไดป้ ระเมนิ ผลการเรยี นแลว้ นกั เรยี นทม่ี รี ะดบั ผลการเรยี น 0 (ศนู ย)์ ตามขอ้ 44 ใหน้ กั เรยี น รบั การประเมินใหม่ได้อีก 1 ครงั้ ภายในเวลาท่ีสถานศึกษาหรือสถานประกอบการกำ�หนดไมเ่ กิน 10 วัน นบั แต่วัน ประกาศผลการเรยี นรายวชิ า เวน้ แตม่ เี หตจุ �ำ เปน็ ทห่ี วั หนา้ สถานศกึ ษาพจิ ารณาเหน็ สมควร หากผลการประเมนิ ใหม่ ไม่ผ่าน ถ้าเป็นรายวิชาบังคับให้เรียนซ้ํารายวิชาน้ันถ้าเป็นรายวิชาเลือกจะเรียนซ้ํา หรือเรียนรายวิชาอ่ืนแทนก็ได้ โดยจำ�นวนหน่วยกิตต้องไม่น้อยกว่ารายวิชาที่เรียนแทน และให้ลงหมายเหตุในระเบียนแสดงการเรียนว่าให้เรียน แทนรายวชิ าใด (4) การประเมนิ ใหมต่ าม (3) ให้ระดับผลการเรยี นได้ไมเ่ กนิ 1.0 ขอ้ 55 การตัดสนิ ผลการเรยี นเพือ่ ส�ำ เรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู ร ใหถ้ อื ตามเกณฑต์ อ่ ไปนี้ (1) ได้รายวิชาและจำ�นวนหน่วยกิตสะสมในทุกหมวดวิชา ครบถ้วนตามท่ีกำ�หนดไว้ในหลักสูตร แตล่ ะประเภทวชิ าและสาขาวิชา และตามแผนการเรยี นที่สถานศึกษากำ�หนด (2) ไดค้ ่าระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสมไมต่ า่ํ กวา่ 2.00 (3) ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ (4) ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากำ�หนด และ “ผ่าน” ทกุ ภาคเรยี น ข้อ 56 ใหห้ วั หน้าสถานศกึ ษา เป็นผอู้ นุมตั ผิ ลการเรียนและการสำ�เรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู ร ข้อ 57 เมื่อนักเรียนได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ 2 ภาคเรียน และได้รับการประเมินใหม่แล้วหากได้ค่า ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมตํ่ากวา่ 1.50 ให้สถานศึกษาพจิ ารณาวา่ ควรให้เรียนตอ่ ไปหรือให้พ้นสภาพนักเรียน เม่ือไดล้ งทะเบยี นรายวิชาครบ 4 ภาคเรียน และไดร้ บั การประเมินใหม่แล้ว หากไดค้ า่ ระดบั คะแนนเฉล่ีย สะสมตํ่ากวา่ 1.75 ใหส้ ถานศึกษาพจิ ารณาว่าควรใหเ้ รยี นตอ่ ไป หรอื ให้พ้นสภาพนักเรยี น เม่อื ไดล้ งทะเบยี นรายวิชาครบ 6 ภาคเรยี น และไดร้ ับการประเมนิ ใหม่แล้ว หากได้ค่าระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมตา่ํ กว่า 1.90 ใหส้ ถานศกึ ษาพิจารณาวา่ ควรให้เรยี นตอ่ ไป หรอื ใหพ้ น้ สภาพนักเรยี น ขอ้ 58 นักเรียนท่ีเรียนแบบเต็มเวลาและได้ลงทะเบียนรายวิชารวม 6 ภาคเรียนแล้วแต่ยังไม่เข้าเกณฑ์ การสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตร ตามข้อ 55 ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียนต่อไปหรือพ้นสภาพนักเรียน ท้งั น้ี ให้นกั เรยี นได้ไม่เกิน 12 ภาคเรยี น นับตั้งแตว่ นั ขนึ้ ทะเบียนเป็นนักเรียนโดยไมน่ ับภาคเรยี นทล่ี าพักการเรียน นกั เรยี นทเ่ี รยี นแบบไมเ่ ตม็ เวลาและไดล้ งทะเบยี นรายวชิ าครบทกุ ภาคเรยี นตามแผนการเรยี นทส่ี ถานศกึ ษา ก�ำ หนดแลว้ แต่ยังเข้าเกณฑ์การส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตร ตามขอ้ 55 ให้สถานศกึ ษาพจิ ารณาวา่ ควรใหเ้ รยี น ต่อไป หรือให้พ้นสภาพนักเรียน ท้ังนี้ ให้เรียนได้ไม่เกิน 16 ภาคเรียน นับต้ังแต่วันขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียน โดยไมน่ บั ภาคเรยี นทล่ี าพกั การเรียน สว่ นท่ี 4 การเทียบโอนผลการเรยี นรู้ ขอ้ 59 การโอนผลการเรียนสำ�หรับนักเรียนจากสถานศึกษาซึ่งใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราชเดยี วกนั ใหส้ ถานศกึ ษาทร่ี บั นกั เรยี นเขา้ เรยี นรบั โอนผลการเรยี นทกุ รายวชิ านอกจากรายวชิ าทไ่ี ดร้ ะดบั ผลการเรียนต่ํากว่า 2.0 สถานศึกษาจะรับโอนหรือจะทำ�การประเมินใหม่ จนเห็นว่าได้ผลการเรียนถึงเกณฑ์ มาตรฐานของสถานศึกษาแล้วจึงรบั โอนผลการเรยี นรายวิชานั้นกไ็ ด้ 118

ขอ้ 60 สถานศึกษาจะรับโอนผลการเรียนรายวิชาจากหลักสูตรอ่ืนซึ่งไม่ตํ่ากว่าระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ได้ตามเงอ่ื นไขต่อไปนี้ (1) เป็นรายวิชาหรือกลมุ่ วิชาที่มจี ุดประสงค์และเนื้อหาใกลเ้ คียงกนั ไมต่ า่ํ กว่าร้อยละ 60 และมี จำ�นวนหนว่ ยกิตไม่น้อยกวา่ หนว่ ยกติ ของรายวิชาทร่ี ะบุไว้ในหลกั สตู ร (2) รายวิชาท่ีได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป โดยสถานศึกษาจะรับโอนผลการเรียนหรือ จะทำ�การประเมนิ ใหม่แลว้ จงึ รับโอนรายวิชานั้นก็ได้ ข้อ 61 เมื่อนักเรียนขอโอนผลการเรียนรายวิชา ให้สถานศึกษาดำ�เนินการให้แล้วเสร็จก่อนการวัดผล ปลายภาคเรยี นภาคเรยี น แรกทนี่ ักเรยี นเขา้ เรยี น ข้อ 62 การบันทึกผลการเรยี นตามข้อ 59 และข้อ 60 ลงในระเบียนแสดงผลการเรียนใหใ้ ชร้ หัสวชิ าและ ช่ือรายวิชาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราชที่ใช้ในปัจจุบัน โดยแสดงหมายเหตุว่าเป็นรายวิชา ท่ีรบั โอนผลการเรียน ข้อ 63 สถานศึกษาจะอนุญาตให้นักเรียนไปเรียนรายวิชาบางรายวิชาจากสถานศึกษาแห่งอ่ืนในกรณี ที่สถานศึกษาไม่สามารถเปิดทำ�การสอนในรายวิชานั้นได้ โดยสถานศึกษาพิจารณารายละเอียดเก่ียวกับเนื้อหา ของหลักสูตรตามท่ีเห็นสมควร และให้สถานศึกษาทั้งสองแห่งทำ�ความตกลงร่วมกันในการจัดสอนและรับโอน ผลการเรียน ขอ้ 64 ในกรณสี ถานศกึ ษาอนญุ าตใหน้ กั เรียนไปเรียนจากสถานศึกษาแห่งอื่นตามข้อ 63 ใหส้ ถานศึกษา พจิ ารณารับโอนผลการเรยี น ดังนี้ (1) รบั โอนรายวิชาทม่ี ผี ลการเรยี นต้งั แต่ 2.0 ขึ้นไป หรอื (2) รายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนต่ํากว่า 2.0 สถานศึกษาอาจรับโอนผลการเรียนหรือไม่ก็ได้ให้อยู่ใน ดลุ พนิ จิ ของสถานศกึ ษา ทง้ั นี้ ใหส้ ถานศึกษาแจ้งให้นกั เรยี นทราบก่อนทีจ่ ะอนญุ าตให้ไปเรยี น การบันทึกผลการเรียนลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ให้ใช้รหัสวิชาและชื่อรายวิชาของหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราชทีใ่ ช้ในปจั จบุ ัน โดยระบุว่ารบั โอนผลการเรยี น ข้อ 65 กรณีท่ีมีการประเมินใหม่ตามข้อ 59 และข้อ 60 ระดับผลการเรียนให้เป็นไปตามท่ีได้จากการ ประเมนิ ใหม่ แต่ต้องไมส่ งู ไปกวา่ เดมิ ข้อ 66 นักเรียนท่ีมีความรู้และประสบการณ์ในงานอาชีพ หรือฝึกงานในสถานประกอบการหรือทำ�งาน ในอาชีพน้ันอยู่แล้ว หรือมีความรู้ในรายวิชาตรงตามหลักสูตรมาก่อนเข้าเรียน หรือเข้าเรียนแล้ว แต่ได้เรียนหรือ ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ จะขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เพ่ือรับจำ�นวนหน่วยกิตสะสม สำ�หรับรายวชิ าน้ันก็ได้ โดยเทยี บโอนได้ไม่เกิน 2 ใน 3 ของจ�ำ นวนหนว่ ยกติ ตามหลักสตู รแตล่ ะประเภทวชิ าและ สาขาวชิ าและตามแผนการเรยี นที่สถานศึกษาก�ำ หนด การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีคณะกรรมการการ อาชวี ศกึ ษากำ�หนด ถ้าผลการประเมินไม่ผ่าน นักเรียนสามารถลงทะเบียนเรียนปกติในภาคเรียนน้ัน หรือขอประเมินเทียบ โอนความรู้และประสบการณ์ในภาคเรยี นต่อไปก็ได้ ขอ้ 67 นักเรียนที่สถานศึกษาให้พ้นสภาพนักเรียนตามข้อ 57 หรือข้อ 58 แล้วสอบเข้าเรียนใหม่ใน สถานศึกษาเดิม หรือสถานศึกษาแห่งใหม่ได้ ให้สถานศึกษารับโอนผลการเรียนเฉพาะรายวิชาท่ียังปรากฏอยู่ ในหลกั สตู รท่ีใชใ้ นปจั จุบนั และได้ระดับผลการเรยี นตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป 119

หมวด 4 เอกสารการศกึ ษา ขอ้ 68 สถานศึกษาต้องจดั ใหม้ เี อกสารการศกึ ษา ดังต่อไปนี้ (1) ระเบยี นแสดงผลการเรียนตามแบบที่กำ�หนดทา้ ยระเบยี บน้ใี ชช้ ื่อยอ่ วา่ “รบ. 1 ปวช.” และต้อง เก็บรกั ษาไว้ตลอดไป การจัดทำ�ระเบียนแสดงผลการเรียน ใหห้ วั หน้างานทะเบยี นเปน็ ผูจ้ ัดทำ� ลงลายมอื ช่ือพรอ้ มท้งั วนั เดอื น ปี และใหห้ วั หนา้ สถานศึกษาเป็นผ้ลู งนามรบั รองผลการเรียนและการสำ�เรจ็ การศึกษาตามหลักสตู ร (2) ระเบียนแสดงผลการเรียนฉบับภาษาอังกฤษ ตามแบบท่ีกำ�หนดท้ายระเบียบน้ีและต้องเก็บ รักษาไว้ตลอดไป การจัดทำ�ระเบียนแสดงผลการเรียนฉบับภาษาอังกฤษ ให้หัวหน้างานทะเบียนเป็นผู้จัดทำ�ลง ลายมือชื่อพร้อมทั้ง วัน เดือน ปี และให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้ลงนามรับรองผลการเรียนและการสำ�เร็จการ ศกึ ษาตามหลักสตู ร (3) แบบรายงานผลการเรียนของผู้ที่สำ�เร็จการศึกษาตามแบบท่ีกำ�หนดท้ายระเบียบน้ีใช้ชื่อย่อว่า “รบ.2 ปวช.” และตอ้ งเกบ็ รกั ษาไว้ตลอดไป (4) ประกาศนียบตั รและวุฒบิ ัตร ตามแบบท่กี �ำ หนดท้ายระเบยี บนี้ (5) สมุดประเมินผลการเรียนรายวิชาและหลักฐานเก่ียวกับการประเมินผลการเรียนในแบบอื่นสมุด บันทกึ การฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวิชาชพี หรือสมุดบันทกึ การปฏิบตั งิ านหรอื สมดุ รายงานของนักเรียน (6) ใบรบั รองสภาพการเปน็ นักเรียนและใบรบั รองผลการเรยี นตามแบบที่กำ�หนดท้ายระเบยี บน้ี ข้อ 69 ให้สถานศึกษาเก็บรักษากระดาษคำ�ตอบ และหลักฐานการประเมินผลการเรียนไว้เป็นเวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปกี ารศกึ ษา ข้อ 70 ให้สถานศกึ ษาแจง้ ผลการเรียนของนักเรยี นให้นกั เรียนและผ้ปู กครองทราบทกุ ภาคเรยี น ข้อ 71 ให้ใช้สำ�เนาคู่ฉบับระเบียนแสดงผลการเรียน และสำ�เนาคู่ฉบับระเบียนแสดงผลการเรียนฉบับ ภาษาอังกฤษ เปน็ เอกสารรบั รองผลการเรียน ขอ้ 72 ให้สถานศึกษาออกสำ�เนาคู่ฉบับระเบียนแสดงผลการเรียน สำ�เนาคู่ฉบับระเบียนแสดงผล การเรียนฉบบั ภาษาอังกฤษ ประกาศนยี บตั รและวฒุ ิบัตร แกผ่ สู้ ำ�เร็จการศึกษา ขอ้ 73 การทำ�สำ�เนาระเบียนแสดงผลการเรียน จะใช้วิธีพิมพ์ใหม่ หรือสำ�เนาเอกสารตามต้นฉบับก็ได้ แล้วให้เขียนหรือประทับตรา “สำ�เนาถูกต้อง” ส่วนการทำ�สำ�เนาระเบียนแสดงผลการเรียนฉบับภาษาอังกฤษ จะใช้วิธีพิมพ์ใหม่หรือสำ�เนาเอกสารตามต้นฉบับก็ได้ แล้วให้เขียนหรือประทับตรา “CERTIFIED TRUE COPY” ให้หัวหน้างานทะเบียน หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ทำ�การแทนลงลายมือช่ือรับรองสำ�เนาพร้อมท้ัง วนั เดอื น ปี ทอ่ี อกสำ�เนา และหวั หน้าสถานศกึ ษาหรอื ผู้ได้รับมอบหมายลงลายมอื ชอ่ื ก�ำ กับท่ีรูปถ่าย ขอ้ 74 นักเรียนท่ีต้องการใบรับรองสภาพการเป็นนักเรียน หรือใบรับรองผลการเรียนจากสถานศึกษา ให้สถานศึกษาออกใบรับรองสภาพการเป็นนักเรียน หรือใบรับรองผลการเรียนแล้วแต่กรณี ใบรับรองน้ีมีอายุ 60 วนั โดยใหส้ ถานศึกษากำ�หนดวนั หมดอายไุ ว้ดว้ ย 12O

หมวด 5 บทเฉพาะกาล ข้อ 75 สถานศึกษาใดท่ีมีนักเรียนอยู่ระหว่างศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2556 ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตาม หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2556 ทใ่ี ช้บงั คับอยเู่ ดิมจนกวา่ นกั เรยี นจะส�ำ เร็จการศกึ ษา ข้อ 76 ในระหว่างท่ียังมิได้กำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวปฏิบัติ หรือข้อบังคับกรณีใดเพื่อปฏิบัติตาม ระเบยี บนี้ ให้น�ำ หลักเกณฑ์ วธิ ีการ แนวปฏิบัติ หรือขอ้ บังคบั ท่กี �ำ หนดไว้แล้วซงึ่ ใช้อยู่เดิมมาใชบ้ งั คับไปพลางก่อน เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบน้ี ท้ังน้ี จนกว่าจะมีการกำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวปฏิบัติหรือข้อบังคับตาม ระเบยี บน้ี ในกรณีที่ไม่อาจนำ�หลักเกณฑ์ วิธีการ หรือแนวปฏิบัติที่กำ�หนดไว้แล้วมาใช้บังคับการจะดำ�เนินการ ประการใดให้เป็นอ�ำ นาจของผู้รกั ษาการตามระเบียบน้ี ประกาศ ณ วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2562 ณฏั ฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 121

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสงู พทุ ธศกั ราช 2557 โดยทมี่ ีประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ลงวนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2557 เร่อื ง ใหใ้ ชห้ ลักสตู รประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 31 มกราคม 2556 เร่อื ง มาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง พ.ศ. 2556 สมควรออก ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชน้ั สงู พุทธศักราช 2557 อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยค�ำ แนะน�ำ ของคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาจงึ วางระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการ เรยี นตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั สงู พทุ ธศักราช 2557” ข้อ 2 ระเบยี บนี้ให้ใช้บังคบั ตั้งแตป่ ีการศึกษา 2557 เป็นต้นไป ขอ้ 3 ให้ใช้ระเบียบนี้บังคับแก่สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พทุ ธศักราช 2557 ขอ้ 4 ในระเบียบนี้ “หลักสตู ร” หมายความว่า หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ สูง พทุ ธศักราช 2557 “ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง” หมายความว่า การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 หลังจากจบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า หรือระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย หรอื เทยี บเท่า ใชอ้ ักษรยอ่ ว่า “ปวส.” “สถานศึกษา” หมายความว่า วิทยาลัยหรือสถานศึกษาที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนของรัฐและเอกชนท่ีจัดการ ศกึ ษาตามหลกั สูตรนี้ “หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่า ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยหรือหัวหน้าสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอ่ืน ของรฐั และเอกชน ทจ่ี ดั การศกึ ษาตามหลักสูตรนี้ “หนว่ ยงานต้นสงั กัด” หมายความวา่ หน่วยงานที่มีสถานศึกษาท่จี ัดการศกึ ษาตามหลกั สูตรน้ีอยใู่ นสงั กัด หรอื ในความควบคมุ ดแู ล “ผ้เู ขา้ เรยี น” หมายความวา่ ผมู้ าสมัครเข้าเรียนในสถานศึกษา หรือสมัครฝึกอาชีพกบั สถานประกอบการ ท่ยี ังไม่ได้ขน้ึ ทะเบียนเป็นนกั ศกึ ษา 122

“นักศกึ ษา” หมายความว่า ผ้ทู ี่ได้ข้นึ ทะเบียนเปน็ นักศกึ ษาตามหลักสตู รน้ี “ภาคเรียน” หมายความว่า ช่วงเวลาท่ีสถานศึกษาเปิดทำ�การสอน โดยกำ�หนดให้ 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเปน็ 2 ภาคเรยี น ภาคเรียนละ 18 สปั ดาห์ “ภาคเรียนฤดูร้อน” หมายความว่า ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดทำ�การสอนในช่วงปิดภาคเรียนตาม ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการเปิดภาคเรียนฤดูร้อนในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการและในช่วง ปดิ ภาคเรียนกลางปีโดยอนโุ ลม “สถานประกอบการ” หมายความวา่ บรษิ ัท หา้ งหนุ้ ส่วน รา้ น รฐั วสิ าหกจิ หน่วยงานของรัฐ และเอกชน ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศทีร่ ่วมมอื กบั สถานศึกษาเพ่อื จัดการอาชีวศึกษา “ผปู้ กครอง” หมายความวา่ บิดา มารดา และบุคคลอืน่ ท่ีท�ำ หนา้ ทป่ี กครองดแู ลและให้ความอุปการะแก่ นักศึกษาและให้คำ�รับรองแก่สถานศึกษาหรือสถานประกอบการว่าจะปกครองดูแลความประพฤติของนักศึกษา ในระหว่างที่เรียนอยู่ในสถานศึกษา และฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการหรือฝึกอาชีพในการ ศึกษาระบบทวิภาคี “การศึกษาในระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เน้นการศึกษาในสถานศึกษาเป็นหลัก โดยมกี ารก�ำ หนดจุดม่งุ หมาย วธิ กี ารศกึ ษา หลกั สูตร ระยะเวลา การวดั และการประเมินผลทีเ่ ป็นเงอื่ นไขของการ ส�ำ เร็จการศกึ ษาท่แี น่นอน “การศกึ ษานอกระบบ” หมายความวา่ การจดั การศกึ ษาวชิ าชพี ทม่ี คี วามยดื หยนุ่ ในการก�ำ หนดจดุ มงุ่ หมาย รูปแบบ วธิ กี ารศึกษา ระยะเวลา การวดั และการประเมนิ ผลที่เป็นเงื่อนไขของการสำ�เร็จการศกึ ษาโดยเนอ้ื หาและ หลกั สตู รจะต้องมคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาและความตอ้ งการของบุคคลแตล่ ะกลุ่ม “การศึกษาระบบทวิภาคี” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเกิดจากข้อตกลงระหว่าง สถานศึกษากับสถานประกอบการ ในเร่ืองการจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลโดย นกั ศกึ ษาใช้เวลาสว่ นหนึ่งในสถานศกึ ษา และเรียนภาคปฏิบตั ิในสถานประกอบการ “ผู้ควบคุมการฝึก” หมายความว่า ผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้ทำ�หน้าที่ประสานงานกับ สถานศึกษาในการจัดการศึกษาระบบทวภิ าคี และรับผดิ ชอบดูแลการฝกึ อาชพี ของนักศกึ ษาในสถานประกอบการ “ครฝู ึก” หมายความว่า ผ้ทู �ำ หน้าทีส่ อน ฝกึ อบรมนักศึกษาในสถานประกอบการ ตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะ กรรมการการอาชวี ศกึ ษากำ�หนด “ครูนิเทศก์” หมายความว่า ครูที่สถานศึกษามอบหมายให้ทำ�หน้าท่ีนิเทศ ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�แก่ นกั ศึกษาทฝ่ี ึกอาชพี และฝึกประสบการณท์ กั ษะวิชาชพี “ครูท่ปี รึกษา” หมายความว่า ครทู ่ีสถานศกึ ษามอบหมายใหท้ �ำ หน้าท่ใี ห้ค�ำ แนะน�ำ ให้ค�ำ ปรกึ ษาตดิ ตาม ผลการเรียน และตกั เตือนดูแลความประพฤติของนกั ศึกษา “มาตรฐานวิชาชีพ” หมายความวา่ ขอ้ ก�ำ หนดด้านสมรรถนะวิชาชพี เพื่อใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการก�ำ กับดูแล ตรวจสอบและประกันคณุ ภาพผูส้ ำ�เร็จการศกึ ษา “การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ” หมายความวา่ การทดสอบความรู้ ความสามารถ ตลอดจนลกั ษณะนสิ ยั ในการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยใชเ้ คร่อื งมอื ท่เี หมาะสมซงึ่ กำ�หนดเกณฑก์ ารตดั สินไวช้ ดั เจน พรอ้ มท้งั จดั ด�ำ เนนิ การประเมินภายใตเ้ งื่อนไขทเ่ี ป็นมาตรฐาน “คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า คณะกรรมการผู้ทำ�หน้าท่ีรับผิดชอบในการ อ�ำ นวยการ ติดตามและก�ำ กบั ดูแลการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ของนกั ศึกษาในสถานศกึ ษา 123

ขอ้ 5 ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้และให้มีอำ�นาจ ตีความและวนิ จิ ฉยั ปญั หาเกี่ยวกับการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บน้ี หมวด 1 สภาพนักศกึ ษา ส่วนท่ี 1 พน้ื ความรแู้ ละคุณสมบตั ิของผู้เขา้ เรียน ข้อ 6 ผู้เข้าเรียนต้องมีพ้ืนความรู้ สำ�เร็จการศึกษาไม่ตํ่ากว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า หรอื ส�ำ เร็จการศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื เทยี บเทา่ ผู้เข้าเรียนที่ไม่ได้สำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในประเภทวิชาและสาขาวิชา ท่ีกำ�หนด หรือสำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ต้องเรียนรายวิชาปรับพ้ืนฐานวิชาชีพ และประเมนิ ผ่านให้ครบตามท่ีก�ำ หนดในหลกั สตู รแต่ละประเภทวชิ าและสาขาวชิ า ความข้อนี้ ไม่ใช้บังคับสำ�หรับผู้ท่ีเรียนเป็นบางเวลา บางรายวิชา หรือบางส่วนของรายวิชาโดยไม่นับ จำ�นวนหน่วยกติ มารวมเพื่อตดั สินการสำ�เร็จการศึกษาตามหลกั สูตรและรับประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู ขอ้ 7 ผ้เู ขา้ เรียนต้องมีคุณสมบัตดิ ังตอ่ ไปนี้ (1) มีความประพฤติเรียบร้อย (2) มสี ุขภาพร่างกายแขง็ แรงไม่เปน็ อปุ สรรคตอ่ การเรียน (3) มีภูมิลำ�เนาเป็นหลักแหล่งโดยมีทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน หรือมีหลักฐานของทางราชการ ในลักษณะเดยี วกันมาแสดง (4) มคี วามเคารพ เลอ่ื มใส ศรทั ธาตอ่ สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ (5) มีเจตคตทิ ีด่ ตี ่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ (6) สำ�หรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี ในวันทำ�สัญญาการฝึกอาชีพต้องมีอายุไม่ต่ํากว่า 17 ปบี รบิ รู ณ์ และมคี วามตง้ั ใจทีจ่ ะรบั การฝกึ อาชพี ในสาขาวชิ าทีส่ มัคร ผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษา ให้สถานศึกษากำ�หนดคุณสมบัติเพ่ิมเติมได้ตามความ เหมาะสมของโครงการน้นั สว่ นท่ี 2 การรบั ผเู้ ขา้ เรียน ข้อ 8 การรับผเู้ ข้าเรียน ใหท้ �ำ การสอบคดั เลือกหรอื คดั เลอื กตามทีส่ ถานศึกษากำ�หนด ในกรณที ่ีมกี ารสอบคัดเลอื ก ให้ปฏิบตั ดิ ังนี้ (1) ทำ�การสอบข้อเขียนในหมวดวิชาใด ๆ ตามความต้องการของสถานศึกษา หรือสถานประกอบ การหากสถานศึกษาหรือสถานประกอบการจะทำ�การสอบความถนัดทางการเรียนวิชาชีพ และสอบสัมภาษณ์ ดว้ ยก็ได้ 124

(2) สถานศกึ ษาประกาศรบั สมคั ร ด�ำ เนนิ การสอบและประกาศผลสอบ ตามวนั และเวลาทห่ี นว่ ยงาน ต้นสงั กดั ก�ำ หนด (3) ถา้ เหตกุ ารณเ์ กย่ี วกบั การสอบเปน็ ไปโดยปกติ ใหส้ ถานศกึ ษาเกบ็ รกั ษาเอกสารเกย่ี วกบั การสอบ คดั เลือกไวเ้ ปน็ เวลาไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี นับแต่วันประกาศผลการสอบ การรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี สถานประกอบการจะเป็นผู้สอบคัดเลือกหรือคัดเลือกผู้เข้า เรียนเองตามคุณสมบัติท่ีกำ�หนดและตามจำ�นวนที่ได้ตกลงร่วมกับสถานศึกษา หรือจะมอบให้สถานศึกษาเป็น ผู้ดำ�เนินการหรือดำ�เนนิ การร่วมกนั กไ็ ด้ การรับผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษา ให้สถานศึกษาคัดเลือกตามคุณสมบัติท่ีกำ�หนด ตามความเหมาะสมของโครงการนนั้ ข้อ 9 ให้มีการตรวจร่างกายโดยแพทย์ปริญญา เฉพาะผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก หรือได้รับการคัดเลือก ส่วนท่ี 3 การเปน็ นกั ศกึ ษา ข้อ 10 ผู้เข้าเรียนจะมีสภาพเป็นนักศึกษา เม่ือได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาของสถานศึกษา สำ�หรับการ ศกึ ษาระบบทวภิ าคี ผเู้ ขา้ เรยี นตอ้ งท�ำ สัญญาการฝึกอาชพี กบั สถานประกอบการ การขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาและการทำ�สัญญาการฝึกอาชีพต้องกระทำ�ด้วยตนเองพร้อมท้ังแสดง หลกั ฐานการส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามวนั เวลา ทส่ี ถานศกึ ษาและสถานประกอบการก�ำ หนด โดยช�ำ ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี ม ต่าง ๆ ตามที่สถานศึกษากำ�หนด ทั้งน้ี ให้เสร็จสิ้นก่อนวันเปิดภาคเรียน โดยมีผู้ปกครองซึ่งสถานศึกษาเช่ือถือมา ให้ค�ำ รบั รองและท�ำ หนังสอื มอบตัว ในกรณีผู้เข้าเรียนที่บรรลุนิติภาวะ สถานศึกษาอาจให้ผู้ปกครองมาทำ�หนังสือมอบตัวหรือดำ�เนินการ ในส่วนทเี่ ก่ียวข้องกบั ระเบียบนี้หรือไมก่ ็ได้ ให้สถานศึกษาจัดการประชุมช้ีแจงผู้ปกครอง และปฐมนิเทศนักศึกษา เพื่อให้ทราบแนวทางการเรียน และกฎ ระเบียบ ข้อบงั คับตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง ขอ้ 11 ใหส้ ถานศกึ ษาออกบตั รประจ�ำ ตวั ให้แก่นักศึกษา บัตรประจำ�ตัว ต้องระบุเลขท่ี ชื่อสถานศึกษา รหัสสถานศึกษา ชื่อ ช่ือสกุลนักศึกษา รหัสประจำ�ตัว นกั ศึกษา เลขประจำ�ตัวประชาชน วันออกบัตร วนั หมดอายุ ลายมือชื่อหวั หนา้ สถานศึกษาหรอื ผู้ไดร้ บั มอบหมาย ให้ทำ�การแทน และให้มีรูปถ่ายคร่ึงตัวของนักศึกษา หน้าตรง ไม่สวมหมวกไม่สวมแว่นตาสีดํา แต่งเครื่องแบบ นกั ศกึ ษา ถา่ ยไว้ไม่เกิน 6 เดอื น ตดิ ลงในบัตร กบั ให้มีลายมือชอื่ ของนักศึกษา ให้มีตราของสถานศกึ ษาทม่ี มุ ใดมมุ หนง่ึ ของรปู ถา่ ยนกั ศกึ ษา โดยให้ตดิ ทรี่ ูปถา่ ยบางส่วน บัตรประจำ�ตัวน้ีให้มีอายุเท่ากับระยะเวลาท่ีมีสภาพนักศึกษาในสถานศึกษาแห่งน้ัน แต่ต้องไม่เกิน 2 ปี นับแต่วันออกบัตร ถ้าบัตรประจำ�ตัวหมดอายุ ในระหว่างท่ียังมีสภาพนักศึกษาก็ให้สถานศึกษาต่ออายุบัตร เปน็ ปี ๆ ไป และให้ส่งคืนบัตรประจ�ำ ตวั ต่อสถานศกึ ษาเมอื่ พ้นสภาพการเป็นนักศกึ ษา สถานประกอบการจะใช้บัตรประจำ�ตัวที่สถานศึกษาออกให้ หรือจะออกให้ใหม่ตามความต้องการของ สถานประกอบการก็ได้ ขอ้ 12 ให้สถานศึกษาแต่งตั้งครูท่ีปรึกษา เพ่ือทำ�หน้าท่ีให้คำ�แนะนำ�เกี่ยวกับการเรียนให้คำ�ปรึกษา ติดตามผลการเรียน และตักเตือนดูแลความประพฤติของนักศึกษา และให้สถานประกอบการจัดให้มีผู้ควบคุม การฝกึ ของนักศึกษาในสถานประกอบการ 125

สว่ นที่ 4 การพน้ สภาพและคนื สภาพนกั ศึกษา ข้อ 13 การพน้ สภาพนกั ศกึ ษา เป็นไปตามกรณใี ดกรณีหนึง่ ต่อไปนี้ (1) สำ�เรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตร (2) ลาออก (3) ถงึ แก่กรรม (4) สถานศึกษาสง่ั ใหพ้ น้ สภาพนักศึกษาในกรณใี ดกรณีหน่งึ ต่อไปนี้ ก. ขาดเรียน ขาดการฝึกอาชีพ ขาดการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ หรือขาดการติดต่อกับ สถานศึกษาหรือสถานประกอบการเกินกว่า 15 วันติดต่อกัน ซึ่งสถานศึกษาหรือสถานประกอบการพิจารณาแล้ว เห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติกรรมอย่างอ่ืนท่ีแสดงว่าไม่มีความตั้งใจท่ีจะศึกษาเล่าเรียนหรือรับการฝึก อาชพี หรอื รบั การฝกึ ประสบการณท์ กั ษะวิชาชีพ ข. ไม่ยื่นคำ�ร้องขอกลับเข้าเรียนภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันครบกำ�หนดลาพักการเรียน หรอื การฝกึ อาชพี ตามขอ้ 19 ค. ไม่มาติดต่อเพื่อรกั ษาสภาพนกั ศกึ ษา ตามข้อ 26 ง. ได้รับโทษจำ�คกุ โดยค�ำ พิพากษาถึงทส่ี ดุ ใหจ้ �ำ คกุ เวน้ แต่เป็นโทษส�ำ หรบั ความผิดท่ีได้กระทำ� โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ จ. ขาดพ้ืนความรู้ ตามขอ้ 6 ฉ. ขาดคุณสมบัตขิ องผู้เข้าเรยี น ตามขอ้ 7 ช. พ้นสภาพนกั ศกึ ษา ตามขอ้ 57 ซ. พน้ สภาพนกั ศกึ ษา ตามขอ้ 58 ข้อ 14 ผู้ที่พ้นสภาพนักศึกษา ตามข้อ 13 (2) (4) ก. ข. และ ค. ถ้าประสงค์จะขอคืนสภาพการเป็น นักศึกษา จะต้องย่ืนคำ�ร้องขอต่อสถานศึกษาภายใน 1 ปี นับแต่วันถัดจากวันพ้นสภาพนักศึกษาเมื่อสถานศึกษา พิจารณาเห็นสมควรก็ใหร้ บั เขา้ เรียนได้ ข้อ 15 การขอคนื สภาพการเปน็ นักศึกษา ตามขอ้ 14 ให้ปฏบิ ตั ดิ งั นี้ (1) ต้องเข้าเรียนภายในสปั ดาหแ์ รกของภาคเรยี น เวน้ แตก่ ลับเข้าเรยี นในภาคเรียนเดียวกนั (2) ให้นำ�รายวิชาและจำ�นวนหน่วยกิตท่ีได้ลงทะเบียนรายวิชาไว้ มานับรวมเพื่อพิจารณาตัดสิน การส�ำ เร็จการศึกษาด้วย ส่วนที่ 5 การพกั การเรียน ข้อ 16 สถานศึกษาและสถานประกอบการอาจพิจารณาอนุญาตให้นักศึกษา ลาพักการเรียนหรือการฝึก อาชพี ได้ตามท่เี หน็ สมควร เม่ือมเี หตจุ ำ�เป็นกรณีใดกรณหี นึ่ง ตอ่ ไปน้ี (1) ได้รับทุนการศึกษาให้ไปศึกษา หรือดูงาน หรือเป็นตัวแทนของสถานศึกษาหรือสถานประกอบ การในการเข้าร่วมประชุม หรือกรณอี น่ื ๆ อันควรแกก่ ารส่งเสรมิ 126

(2) เจ็บปว่ ยต้องพกั รกั ษาตวั เป็นเวลานาน โดยมคี ำ�รับรองของแพทยป์ ริญญา (3) กรณีลาพักเพ่ือรบั ราชการทหารกองประจำ�การใหล้ าพกั ได้จนกวา่ จะได้รับการน�ำ ปลด (4) เหตจุ ำ�เปน็ อย่างอืน่ ตามทีส่ ถานศกึ ษาและสถานประกอบการจะพิจารณาเห็นสมควร ในกรณีที่มีนักศึกษาลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพต้ังแต่ต้นปีเป็นระยะเวลานานเกินกว่า 1 ปี สถานศึกษาและสถานประกอบการอาจพิจารณารับนักศึกษาอ่ืนเข้าเรียนหรือฝึกอาชีพแทนท่ีได้ตามท่ีเห็นสมควร นกั ศกึ ษาทล่ี าพกั การเรยี นหรอื การฝกึ อาชพี ตอ้ งช�ำ ระเงนิ คา่ รกั ษาสภาพนกั ศกึ ษาและคา่ ธรรมเนยี มตา่ ง ๆ ตามที่สถานศึกษากำ�หนด แต่ถ้านักศึกษาได้ชำ�ระเงินค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ครบถ้วนสำ�หรับภาคเรียนน้ันแล้ว ไมต่ ้องชำ�ระเงนิ คา่ รกั ษาสภาพนกั ศึกษาส�ำ หรับภาคเรียนนน้ั อกี ขอ้ 17 นักศึกษาท่ีขออนุญาตลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพ ต้องย่ืนคำ�ร้องเป็นลายลักษณ์อักษรต่อ สถานศึกษา โดยมีผู้ปกครองเป็นผู้รับรอง สำ�หรับผู้ท่ีบรรลุนิติภาวะจะมีผู้รับรองหรือไม่ก็ได้เม่ือได้รับอนุญาตแล้ว จงึ พักการเรียนหรือการฝกึ อาชพี ได้ มิฉะน้นั จะถือวา่ ขาดเรียน เว้นแตม่ เี หตุผลสมควร ข้อ 18 การอนุญาตให้นักศึกษาลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพ ให้สถานศึกษาทำ�หลักฐานเป็นลาย ลกั ษณอ์ กั ษรแจง้ ใหผ้ ู้ปกครองทราบ เว้นแตผ่ ทู้ บ่ี รรลนุ ติ ิภาวะท่ไี ม่มผี ปู้ กครองมอบตัวใหแ้ จง้ นักศกึ ษาโดยตรง ข้อ 19 นักศึกษาที่ลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพ เม่ือครบกำ�หนดเวลาท่ีลาพักการเรียนหรือการฝึก อาชีพแล้ว ให้ย่ืนคำ�ร้องขอกลับเข้าเรียนพร้อมด้วยหลักฐานการอนุญาตให้ลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพต่อ สถานศึกษาภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันครบกำ�หนด หากพ้นกำ�หนดนี้ให้ถือว่าพ้นสภาพนักศึกษาเว้นแต่ มเี หตุผลสมควร ส่วนที่ 6 การลาออก ขอ้ 20 นักศึกษาท่ีประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักศึกษา ต้องให้ผู้ปกครองเป็นผู้รับรองการลาออก เวน้ แต่ผ้ทู ี่บรรลุนติ ภิ าวะ ข้อ 21 นักศึกษาท่ีลาออกแล้วได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกัน ให้ถือว่านักศึกษาผู้นั้น มสี ภาพนกั ศกึ ษามาตั้งแต่ตน้ ภาคเรยี นนนั้ ทุกประการ หมวด 2 การจัดการเรียน ส่วนท่ี 1 การเปิดเรียน ขอ้ 22 ให้สถานศึกษากำ�หนดวันเปิดและปิดภาคเรียนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย ปีการศึกษา การเปิดและปิดสถานศึกษา หากสถานศึกษาใดจะกำ�หนดวันเปิดและปิดภาคเรียนแตกต่างไปจาก ระเบยี บดังกล่าว ให้ขออนญุ าตต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัด ขอ้ 23 สถานศึกษาท่ีเปิดภาคเรียนฤดูร้อน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการเปิด ภาคเรียนฤดรู อ้ นในสถานศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ 127

ส่วนที่ 2 การลงทะเบียนรายวิชา ขอ้ 24 สถานศึกษาต้องกำ�หนดวันและเวลาให้นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ ให้เสร็จก่อนวันเปิด ภาคเรียน ขอ้ 25 สถานศกึ ษาอาจใหน้ กั ศกึ ษาลงทะเบยี นรายวชิ าภายหลงั ก�ำ หนดตามขอ้ 24 กไ็ ดโ้ ดยใหส้ ถานศกึ ษา กำ�หนดวนั สิ้นสุดการลงทะเบยี นตามที่เหน็ สมควร แต่ต้องไมเ่ กนิ 15 วนั นบั แต่วันเปิดภาคเรยี น หรอื ไมเ่ กนิ 5 วนั นับแตว่ ันเปิดภาคเรียนฤดูร้อน การลงทะเบียนรายวชิ าตามวรรคหนงึ่ นักศกึ ษาต้องชำ�ระคา่ ปรับตามท่สี ถานศึกษากำ�หนด ขอ้ 26 นกั ศกึ ษาทม่ี ไิ ดล้ งทะเบยี นรายวชิ าภายในวนั และเวลาทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนด ตามขอ้ 25 ถา้ ประสงค์ จะรกั ษาสภาพนักศกึ ษา ต้องติดตอ่ รักษาสภาพนกั ศึกษาภายใน 15 วัน นับแต่วนั ถดั จากวนั สิ้นสุดการลงทะเบียน ข้อ 27 การลงทะเบียนรายวชิ าตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากครทู ป่ี รกึ ษา ข้อ 28 นกั ศึกษาต้องลงทะเบยี นรายวิชาด้วยตนเอง ตามวันและเวลาทีส่ ถานศึกษาก�ำ หนดพรอ้ มทัง้ ช�ำ ระ เงนิ ค่าลงทะเบยี นรายวชิ าและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามทีส่ ถานศึกษากำ�หนด ในกรณที น่ี กั ศกึ ษาไมส่ ามารถมาลงทะเบยี นรายวชิ าดว้ ยตนเองได้ จะมอบหมายใหผ้ อู้ น่ื มาลงทะเบยี นแทน ใหห้ ัวหน้าสถานศึกษาพจิ ารณาเป็นราย ๆ ไป นักศึกษาท่ีประสงค์ขอผ่อนผันการชำ�ระเงินค่าลงทะเบียนรายวิชา ให้หัวหน้าสถานศึกษาพิจารณา อนุญาตเป็นราย ๆ ไป ทงั้ น้ี ตอ้ งชำ�ระใหเ้ สรจ็ สิ้นก่อนวันเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ขอ้ 29 นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาได้ไม่เกินภาคเรียนละ 22 หน่วยกิต สำ�หรับการเรียนแบบเต็มเวลา และได้ไมเ่ กินภาคเรยี นละ 12 หนว่ ยกิต สำ�หรบั การเรยี นแบบไม่เตม็ เวลา ส่วนการลงทะเบียนรายวชิ าในภาคเรยี น ฤดูร้อน ใหล้ งทะเบียนไดไ้ มเ่ กนิ 12 หน่วยกิต เว้นแต่ได้รบั อนุญาตจากหัวหน้าสถานศึกษา หากสถานศึกษามีเหตุผลและความจำ�เป็นในการให้นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาที่แตกต่างไปจากเกณฑ์ ขา้ งต้น อาจท�ำ ได้แตต่ อ้ งไมก่ ระทบตอ่ มาตรฐานและคณุ ภาพการศกึ ษา ขอ้ 30 นักศึกษาท่ีขอโอนผลการเรียนรายวิชา ตามข้อ 59 และข้อ 60 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในสถานศกึ ษาทข่ี อส�ำ เร็จการศกึ ษา ไมน่ อ้ ยกว่า 1 ภาคเรียน นกั ศึกษาทีข่ อเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ตามขอ้ 66 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวชิ าในสถานศึกษา ท่ขี อส�ำ เร็จการศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ใน 3 ของจำ�นวนหนว่ ยกิตท่ีระบุไวใ้ นหลกั สตู รแตล่ ะประเภทวิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนท่สี ถานศกึ ษากำ�หนด สว่ นท่ี 3 การเปลีย่ น การเพิม่ และการถอนรายวิชา ขอ้ 31 นักศึกษาจะขอเปลี่ยนรายวิชาท่ีได้ลงทะเบียนไว้แล้ว หรือขอเพ่ิมรายวิชาต้องกระทำ�ภายใน 15 วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียน หรือภายใน 5 วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียนฤดูร้อนส่วนการขอถอนรายวิชาต้อง กระทำ�ภายใน 30 วนั นบั แต่วนั เปดิ ภาคเรยี นหรือภายใน 10 วัน นับแต่วนั เปดิ ภาคเรยี นฤดูรอ้ น การถอนรายวิชาภายหลังกำ�หนดตามวรรคหนึ่งอาจกระทำ�ได้ ถ้าหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า มีเหตผุ ลสมควร 128

การขอเปล่ียน ขอเพ่ิม หรือขอถอนรายวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากครูท่ีปรึกษาและครูผู้สอน ประจำ�รายวชิ า ขอ้ 32 การถอนรายวิชาภายในกำ�หนด ตามข้อ 31 ให้ลงอักษร “ถ.น.” ในระเบียนแสดงผลการเรียน ช่อง “ ผลการเรยี น” การถอนรายวิชาภายหลังกำ�หนด ตามข้อ 31 และหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่ามีเหตุผลสมควร ให้ลงอักษร “ถ.น.” ในระเบียนแสดงผลการเรียนช่อง “ผลการเรียน” แต่ถ้าหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า ไมม่ เี หตุผลอนั สมควร ใหล้ งอกั ษร “ถ.ล.” ลงในระเบยี นแสดงผลการเรยี นชอ่ ง “ผลการเรียน” สว่ นท่ี 4 การเรียนโดยไมน่ ับจำ�นวนหน่วยกติ มารวมเพอื่ การส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตร ข้อ 33 สถานศึกษาอาจอนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดวิชาหน่ึงเพ่ือเป็นการเสริมความรู้ โดยไม่นับจ�ำ นวนหนว่ ยกิตของรายวชิ านนั้ มารวมเพือ่ การส�ำ เร็จการศกึ ษาตามหลกั สูตรได้ ข้อ 34 เม่ือได้ทำ�การวัดและประเมินผลการเรียนแล้วได้ระดับผลการเรียนต้ังแต่ 1.0 ข้ึนไป ถือว่า ประเมินผ่านให้บันทึก “ม.ก.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียนช่อง “ผลการเรียน” ถ้าผลการประเมินไม่ผ่าน ไม่ต้องบันทึกรายวิชานั้น และให้ถือเป็นการส้ินสุดสำ�หรับการเรียนรายวิชานั้นโดยไม่นับจำ�นวนหน่วยกิตมารวม เพอ่ื การส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร สว่ นท่ี 5 การนบั เวลาเรยี นเพอื่ สทิ ธิในการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ข้อ 35 นักศึกษาต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเปิดเรียนเต็มสำ�หรับ รายวิชานัน้ จึงจะมสี ทิ ธเิ ขา้ รบั การวัดผลปลายภาคเรยี น ในกรณีท่ีมีความจำ�เป็นอย่างแท้จริงหัวหน้าสถานศึกษาอาจพิจารณาผ่อนผันให้เป็นราย ๆ ไป นักศึกษา ที่ไม่มีสิทธิเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนตามวรรคหน่ึง จะขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามข้อ 66 ในภาคเรียนน้ันมไิ ด้ ขอ้ 36 การนบั เวลาเรยี นใหป้ ฏบิ ตั ิดังนี้ (1) เวลาเปิดเรียนเต็มภาคเรียนละ 18 สปั ดาห์ (2) นกั ศกึ ษาทย่ี า้ ยสถานศกึ ษาระหวา่ งภาคเรยี น ใหน้ �ำ เวลาเรยี นจากสถานศกึ ษาทง้ั สองแหง่ รวมกนั (3) นักศึกษาท่ีลาออกแล้ว ได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกันให้นับเวลาเรียน ท่ีเรยี นแล้วมารวมกนั (4) นักศึกษาท่ีลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพในภาคเรียนใด ได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนหรือ ฝึกอาชีพในภาคเรียนเดียวกัน ให้นับเวลาเรียนหรือฝึกอาชีพก่อนและหลังการลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพ ในภาคเรยี นนน้ั มารวมกนั (5) รายวชิ าที่มคี รูผสู้ อนหรือครูฝกึ ตง้ั แต่ 2 คนข้นึ ไป และแยกกนั สอน ให้น�ำ เวลาเรยี นท่ีเรยี นกบั ครู ผ้สู อนหรอื ครฝู ึกทกุ คนมารวมกัน (6) ถา้ มีการเปลีย่ นรายวชิ าหรือเพิม่ รายวิชา ให้นบั เวลาเรียนต้งั แต่เรม่ิ เรยี นรายวชิ าใหม่ 129

ส่วนที่ 6 การขออนญุ าตเลื่อนการเขา้ รับการวดั ผลปลายภาคเรยี น ขอ้ 37 นักศึกษาที่ไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนตามวันและเวลาที่สถานศึกษากำ�หนด หวั หนา้ สถานศึกษาอาจอนญุ าตให้เล่อื นการเขา้ รับการวัดผลปลายภาคเรยี นไดใ้ นกรณตี อ่ ไปนี้ (1) ประสบอบุ ตั ิเหตุ หรอื เจบ็ ป่วยกอ่ น หรือระหวา่ งการเข้ารบั การวดั ผลปลายภาคเรยี น (2) ถกู ควบคมุ ตวั โดยพนักงานเจา้ หน้าทต่ี ามกฎหมาย (3) เป็นตัวแทนของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการในการเข้าร่วมประชุม หรือกิจกรรมพิเศษ อย่างอื่น โดยได้รบั ความยินยอมจากสถานศกึ ษา (4) มีความจำ�เป็นอย่างอื่น โดยสถานศึกษา หรือสถานศึกษาและสถานประกอบการพิจารณาแล้ว เห็นว่าเปน็ ความจำ�เป็นอยา่ งแทจ้ รงิ ขอ้ 38 นักศึกษาท่ีขออนุญาตเลื่อนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ต้องยื่นคำ�ร้องพร้อมท้ังหลักฐาน ประกอบตอ่ สถานศกึ ษาก่อนการวดั ผลปลายภาคเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ 3 วนั หากไม่สามารถกระทำ�ได้ใหห้ ัวหน้าสถาน ศกึ ษาพิจารณาเปน็ ราย ๆ ไป กรณีที่หัวหน้าสถานศึกษาอนุญาตให้เลื่อนได้ ให้บันทึก “ม.ส.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียนในช่อง “ผลการเรียน” และให้นักศึกษาเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทนภายใน 10 วันนับแต่วันประกาศผล การเรียน หากไมส่ ามารถดำ�เนินการได้ใหห้ ัวหนา้ สถานศึกษาพิจารณาจดั การวดั ผลปลายภาคเรียนทดแทนภายใน กำ�หนดการวดั ผลปลายภาคเรียนของภาคเรียนถดั ไป การอนุญาตให้เล่ือนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ให้สถานศึกษาทำ�เป็นลายลักษณ์อักษรมอบให้ นักศกึ ษา หมวด 3 การประเมินผลการเรยี น ส่วนท่ี 1 หลักการในการประเมินผลการเรียน ข้อ 39 ให้สถานศึกษาและสถานประกอบการ มหี น้าที่และรบั ผดิ ชอบในการประเมนิ ผลการเรียน ข้อ 40 ให้ประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชาตามระบบหน่วยกิต จำ�นวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาให้ถือ ตามทกี่ �ำ หนดไว้ในหลักสูตร ข้อ 41 ให้สถานศึกษาและสถานประกอบการพิจารณาทำ�การประเมินผลการเรียนรายวิชาเมื่อสิ้น ภาคเรยี น หรอื เมื่อส้นิ สดุ การเรียนหรือการปฏบิ ัติงานในทุกรายวชิ า สำ�หรับรายวิชาท่ีเรียนหรือฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการให้ครูฝึกและครูนิเทศก์ร่วมกันประเมินผล การเรยี น ข้อ 42 ให้หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกับสถานศึกษา ดำ�เนินการส่งเสริมคุณภาพและควบคุมมาตรฐานการ จัดการเรียนการสอน การวดั ผลและการประเมินผลการเรยี น 13O

สว่ นที่ 2 วิธกี ารประเมินผลการเรยี น ขอ้ 43 ให้ประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชาตามสภาพจริงต่อเน่ืองตลอดภาคเรียนทั้งด้านความรู้ความ สามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากกิจกรรมการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ และงานที่มอบหมาย รวมท้ังการวัดผลปลายภาคเรียน ซึ่งครอบคลุมจุดประสงค์ สมรรถนะรายวิชาและเน้ือหาวิชาโดยใช้เครื่องมือและ วิธีการหลากหลายตามความเหมาะสม ขอ้ 44 ให้ใชต้ วั เลขแสดงระดบั ผลการเรียนในแตล่ ะรายวชิ า ดังต่อไปนี้ 4.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดเี ย่ยี ม 3.5 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ มี าก 3.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดี 2.5 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดพี อใช้ 2.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ 1.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑอ์ ่อน 1.0 หมายถงึ ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์อ่อนมาก 0 หมายถงึ ผลการเรียนต่าํ กว่าเกณฑ์ (ตก) ขอ้ 45 รายวิชาใดทแ่ี สดงระดับผลการเรยี นตามข้อ 44 ไมไ่ ด้ ใหใ้ ช้ตวั อกั ษรตอ่ ไปนี้ ข.ร. หมายถงึ ขาดเรียน ไม่มีสิทธ์ิเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เน่ืองจากมีเวลาเรียนตํ่ากว่า รอ้ ยละ 80 โดยสถานศึกษาพจิ ารณาแล้วเหน็ ว่าไมม่ ีเหตผุ ลสมควร ข.ป. หมายถงึ ขาดการปฏิบัติงาน หรือปฏิบัติงานไม่ครบ โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่มเี หตุผลสมควร ข.ส. หมายถึง ขาดการวัดผลปลายภาคเรียน โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผล สมควร ถ.ล. หมายถึง ถอนรายวิชาภายหลังกำ�หนด โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผล สมควร ถ.น. หมายถงึ ถอนรายวชิ าภายในกำ�หนด ท. หมายถงึ ทุจรติ ในการสอบหรืองานทมี่ อบหมายใหท้ ำ� ม.ส. หมายถงึ ไมส่ มบรู ณ์ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถเขา้ รบั การวดั ผลปลายภาคเรยี นโดยไดร้ บั อนญุ าต จากหัวหน้าสถานศึกษา หรอื ไม่สง่ งานอันเปน็ สว่ นประกอบของการเรยี นรายวชิ าตามก�ำ หนด ม.ท. หมายถึง ไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทนภายในเวลาท่ีสถานศึกษา ก�ำ หนด ผ. หมายถึง ได้เข้าร่วมกิจกรรมตามกำ�หนดหรือผลการประเมนิ ผา่ น ม.ผ. หมายถึง ไมเ่ ข้าร่วมกิจกรรม หรือผลการประเมินไมผ่ ่าน ม.ก. หมายถึง การเรียนโดยไม่นับจำ�นวนหน่วยกิตมารวมเพ่ือการสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตร และผลการประเมินผา่ น ข้อ 46 ในกรณตี อ่ ไปนใี้ หร้ ะดับผลการเรียนเปน็ 0 (ศูนย)์ เฉพาะรายวชิ า 131

(1) ได้ ข.ร. (2) ได้ ข.ป. (3) ได้ ข.ส. (4) ได้ ถ.ล. (5) ได้ ท. (6) ได้ ม.ท. ข้อ 47 นักศึกษาท่ีทำ�การทุจริต หรือส่อเจตนาทุจริตในการสอบหรืองานท่ีมอบหมายให้ทำ�ในรายวิชาใด ใหส้ ถานศึกษาพจิ ารณาดำ�เนินการ ดังนี้ (1) ใหไ้ ด้คะแนน 0 (ศนู ย)์ เฉพาะคร้ังน้ัน หรือ (2) ให้ระดับผลการเรียนเป็น 0 (ศูนย์) โดยบันทึก “ท.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียนช่อง “ผลการเรียน” ในรายวิชานัน้ หรือ (3) ดำ�เนินการตาม (2) และตัดคะแนนความประพฤติตามระเบียบว่าด้วยการตัดคะแนนความ ประพฤติท่ีสถานศึกษาก�ำ หนดตามความร้ายแรงแล้วแต่กรณี ขอ้ 48 การคำ�นวณคา่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี ใหป้ ฏบิ ัติดังนี้ (1) ให้นำ�ผลบวกของผลคูณระหว่างจำ�นวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชากับระดับผลการเรียนหาร ด้วยผลบวกของจำ�นวนหนว่ ยกิตของแตล่ ะรายวชิ า คดิ ทศนยิ มสองต�ำ แหนง่ ไมป่ ัดเศษ (2) ให้คำ�นวณค่าระดับคะแนนเฉล่ีย จากรายวิชาท่ีได้ระดับผลการเรียน ตามข้อ 44 และข้อ 46 สำ�หรับรายวิชาท่นี กั ศกึ ษาเรียนซา้ํ เรยี นแทน ใหใ้ ชร้ ะดับผลการเรยี นและนับจ�ำ นวนหนว่ ยกติ ตามขอ้ 49 (3) ใหค้ �ำ นวณคา่ ระดับคะแนนเฉลยี่ ดงั น้ี ก. ค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจำ�ภาคเรียน คำ�นวณจากรายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนเฉพาะ ในภาคเรยี นหนึง่ ๆ ข. ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม คำ�นวณจากรายวิชาท่ีเรียนมาทั้งหมดและได้ระดับผลการเรียน ตั้งแต่สองภาคเรยี นขนึ้ ไป ข้อ 49 นักศึกษาผู้ใดประสงค์จะเรียนรายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนตํ่ากว่า 2.0 หรือเลือกเรียนรายวิชา อ่ืนแทนถ้าเป็นรายวิชาเลือก เพ่ือประเมินปรับค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมให้สูงข้ึนให้สถานศึกษาหรือสถาน ประกอบการดำ�เนินการให้เรยี นซ้าํ หรอื เรียนแทนภายในเวลากอ่ นส�ำ เรจ็ การศึกษา การเรียนซ้ํารายวิชา ให้นับจำ�นวนหน่วยกิตสะสมเพียงครั้งเดียว ส่วนการเรียนแทนให้นับเฉพาะจำ�นวน หน่วยกติ ของรายวชิ าทเ่ี รียนแทนเป็นจ�ำ นวนหนว่ ยกิตสะสม การนับจำ�นวนหน่วยกิตสะสมในกรณีน้ี จะกระทำ�เมื่อนักศึกษาได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป เท่าน้นั รายวิชาที่เรียนซํ้าหรือเรียนแทนแล้วได้ระดับผลการเรียน 0 (ศูนย์) ให้ถือระดับผลการเรียนต่ํากว่า 2.0 ตามเดมิ ยกเว้นการไดร้ ะดับผลการเรยี น 0 (ศูนย)์ ตามขอ้ 47 (2) หรือ (3) ขอ้ 50 กรณตี ามขอ้ 49 การคดิ คา่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม ถา้ เปน็ รายวชิ าทเ่ี รยี นซา้ํ ใหน้ บั จ�ำ นวนหนว่ ยกติ เป็นตัวหารเพียงคร้ังเดียว ส่วนการเรียนรายวิชาอื่นแทนให้นับเฉพาะจำ�นวนหน่วยกิตของรายวิชาที่เรียนแทน มาเปน็ ตวั หาร ข้อ 51 ผู้ท่ีได้ ม.ส. ตามข้อ 38 และไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทนภายในเวลาที่ สถานศึกษากำ�หนด ใหส้ ถานศึกษาบันทกึ “ม.ท.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ช่อง“ผลการเรยี น” เว้นแตไ่ ด้ ม.ส. ตามข้อ 37 (3) ให้หัวหนา้ สถานศึกษาพิจารณาเป็นราย ๆ ไป 132

กรณีผู้ท่ีได้ ม.ส. เน่ืองจากไม่สามารถส่งงานอันเป็นส่วนประกอบของการเรียนรายวิชาได้ตามกำ�หนด ให้นักศึกษาส่งงานน้ันภายใน 10 วัน นับแต่วันประกาศผลการเรียนรายวิชา หากไม่สามารถดำ�เนินการได้ ให้สถานศกึ ษาประเมินผลการเรียนจากคะแนนทม่ี ีอยเู่ ว้นแตม่ ีเหตุจำ�เป็นทห่ี วั หนา้ สถานศกึ ษาพิจารณาเห็นสมควร ท้ังนี้ให้ดำ�เนนิ การใหเ้ สรจ็ สน้ิ ภายในกำ�หนดการวดั ผลปลายภาคเรียนของภาคเรยี นถดั ไป ขอ้ 52 นักศึกษาต้องเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เมื่อนักศึกษาได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ ทุกรายวิชาตามหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา หรือตามระยะเวลาที่คณะกรรมการประเมินมาตรฐาน วิชาชีพกำ�หนด ทั้งนใี้ ห้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่ีส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาก�ำ หนด นักศึกษาจะมีสิทธ์ิสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตรได้ จะต้องเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพและ ผลการประเมินผ่านเกณฑ์ท่กี �ำ หนด ขอ้ 53 นกั ศกึ ษาต้องเข้าร่วมปฏิบัตกิ จิ กรรมเสริมหลกั สูตรสถานศึกษาจัดไมน่ ้อยกวา่ 2 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ ครบทุกภาคเรียน ตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากำ�หนดโดยมีเวลาเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาท่จี ัดกิจกรรมในแตล่ ะภาคเรยี น เมอ่ื นกั ศกึ ษาไดเ้ ขา้ รว่ มปฏบิ ตั กิ จิ กรรมครบถว้ นตามเกณฑใ์ นภาคเรยี นใดถอื วา่ ประเมนิ ผา่ นในภาคเรยี นนน้ั ให้บันทึกชื่อกจิ กรรมและตวั อกั ษร “ผ.” ในระเบียนแสดงผลการเรียน ชอ่ ง “ผลการเรยี น” ซง่ึ หมายถงึ “ผา่ น” หากนักศกึ ษาเขา้ ร่วมปฏิบตั ิกิจกรรมไมค่ รบตามเกณฑใ์ นภาคเรียนใด ให้สถานศกึ ษาพจิ ารณามอบงาน หรือกิจกรรมในส่วนที่นักศึกษาผู้นั้นไม่ได้เข้าร่วมปฏิบัติ ให้ปฏิบัติให้ครบถ้วนภายในเวลาที่สถานศึกษากำ�หนด เมอ่ื นกั ศกึ ษาดำ�เนินการครบถ้วนแล้วถือวา่ ประเมินผา่ น แล้วจงึ บนั ทึกชอื่ กจิ กรรมและตวั อกั ษร “ผ.” ในระเบยี น แสดงผลการเรียนของภาคเรยี นน้นั ซง่ึ หมายถงึ “ผา่ น” ถ้านักศึกษาดำ�เนินการไม่ครบถ้วน ถือว่าประเมินไม่ผ่าน ให้บันทึกช่ือกิจกรรมและตัวอักษร “ม.ผ.” ซง่ึ หมายถงึ “ไม่ผา่ น” ให้นักศึกษาที่เข้าฝึกอาชีพ หรือฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรมทีส่ ถานประกอบการจดั ตามเกณฑ์และข้อตกลงรว่ มกนั ระหว่างสถานศึกษากบั สถานประกอบการ ส่วนท่ี 3 การตัดสนิ ผลการเรียน ข้อ 54 การตดั สนิ ผลการเรยี นให้ดำ�เนนิ การ ดังนี้ (1) ตัดสนิ ผลการเรียนเป็นรายวิชา (2) รายวิชาท่ีมีระดับผลการเรียนตั้งแต่ 10 ขึ้นไป ถือว่าประเมินผ่านและให้นับจำ�นวนหน่วยกิต ของรายวชิ านัน้ เป็นจำ�นวนหน่วยกติ สะสม (3) เมือ่ ได้ประเมินผลการเรียนแลว้ นักศึกษาทม่ี รี ะดบั ผลการเรียน 0 (ศูนย์) ให้เรียนซํ้ารายวิชาน้ัน ถ้าเปน็ รายวิชาเลือกจะเรียนซ้ํา หรือเรียนรายวชิ าอนื่ แทนกไ็ ด้ จำ�นวนหนว่ ยกติ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่ารายวชิ าที่เรียนแทน และให้ลงหมายเหตใุ นระเบียนแสดงผลการเรยี น วา่ ใหเ้ รยี นแทนรายวชิ าใด ขอ้ 55 การตัดสนิ ผลการเรยี นเพือ่ ส�ำ เร็จการศกึ ษาตามหลกั สูตร ใหถ้ อื ตามเกณฑ์ต่อไปนี้ (1) ได้รายวิชาและจำ�นวนหน่วยกิตสะสมในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาทักษะวิชาชีพและ หมวดวิชาเลือกเสรี ครบถ้วนตามท่ีกำ�หนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชาและตามแผนการเรียน ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำ หนด 133

(2) ไดค้ า่ ระดับคะแนนเฉลย่ี สะสมไม่ตํ่ากวา่ 2.00 (3) ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี (4) ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรและ “ผ่าน” ทุกภาคเรียน ตามแผนการเรียนท่ีสถาน ศกึ ษาก�ำ หนด ข้อ 56 ให้หวั หนา้ สถานศกึ ษา เป็นผอู้ นุมัติผลการเรียนและการส�ำ เร็จการศึกษาตามหลักสูตร ข้อ 57 เมื่อนักศึกษาได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ 2 ภาคเรียน หากได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากว่า 1.75 ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียนต่อไปหรือให้พ้นสภาพนักศึกษาเม่ือได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ 4 ภาคเรียนหากได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ํากว่า 1.90 ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียนต่อไปหรือ ใหพ้ ้นสภาพนักศกึ ษา ข้อ 58 นักศึกษาที่เรียนแบบเต็มเวลาและได้ลงทะเบียนรายวิชารวม 4 ภาคเรียนแล้วแต่ยังไม่เข้าเกณฑ์ การสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตรข้อ 55 ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียนต่อไปหรือให้พ้นสภาพนักศึกษา ทง้ั น้ใี หเ้ รียนไดไ้ มเ่ กนิ 8 ภาคเรยี นนับต้งั แต่วันขนึ้ ทะเบียนเปน็ นกั ศึกษาโดยไม่นับภาคเรียนทล่ี าพกั การเรยี น นักศึกษาที่เรียนแบบไม่เต็มเวลาและได้ลงทะเบียนรายวิชาครบทุกภาคเรียนตามแผนการเรียนท่ีสถาน ศึกษากำ�หนดแล้ว แต่ยังไม่เข้าเกณฑ์การสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตรข้อ 55 ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้ เรียนต่อไป หรือให้พ้นสภาพนักศึกษา ทั้งนี้ให้เรียนได้ไม่เกิน 12 ภาคเรียนนับต้ังแต่วันขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา โดยไม่นบั ภาคเรยี นทีล่ าพักการเรียน ส่วนที่ 4 การเทียบโอนผลการเรยี นรู้ ขอ้ 59 การโอนผลการเรยี นส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาจากสถานศกึ ษาซง่ึ ใชห้ ลกั สตู รน้ี ใหส้ ถานศกึ ษาทร่ี บั นกั ศกึ ษา เขา้ เรียนรับโอนผลการเรียนทกุ รายวิชา นอกจากรายวิชาท่ไี ดร้ ะดับผลการเรียนตํา่ กวา่ 2.0 สถานศกึ ษาจะรบั โอน หรือจะทำ�การประเมินใหม่จนเห็นว่าได้ผลการเรียนถึงเกณฑ์มาตรฐานของสถานศึกษาแล้วจึงรับโอนผลการเรียน รายวชิ านน้ั ก็ได้ ข้อ 60 สถานศึกษาจะรับโอนผลการเรียนรายวิชาจากหลักสูตรอื่นซึ่งไม่ต่ํากว่าระดับประกาศนียบัตร วชิ าชพี ชน้ั สูง ได้ตามเง่ือนไขต่อไปนี้ (1) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาท่ีมีจุดประสงค์และเนื้อหาใกล้เคียงกันไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 75 และ มจี �ำ นวนหน่วยกิตไมน่ อ้ ยกว่าหน่วยกติ ของรายวชิ าท่รี ะบไุ ว้ในหลกั สตู ร (2) รายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนต้ังแต่ 2.0 ข้ึนไป โดยสถานศึกษาจะรับโอนผลการเรียนหรือจะ ทำ�การประเมินใหมแ่ ล้วจงึ รบั โอนรายวชิ าน้นั ก็ได้ ข้อ 61 เมื่อนักศึกษาขอโอนผลการเรียนรายวิชา ให้สถานศึกษาดำ�เนินการให้แล้วเสร็จก่อนการวัดผล ปลายภาคเรยี นภาคเรียนแรกท่นี กั ศึกษาเขา้ เรยี น ขอ้ 62 การบนั ทกึ ผลการเรยี นตามขอ้ 59 และขอ้ 60 ลงในระเบียนแสดงผลการเรียนให้ใช้รหัสวิชาและ ช่ือรายวิชาตามหลักสตู รน้ี โดยแสดงหมายเหตุว่าเป็นรายวชิ าทร่ี บั โอนผลการเรียน ขอ้ 63 สถานศึกษาจะอนุญาตให้นักศึกษาไปเรียนรายวิชาบางรายวิชาจากสถานศึกษาแห่งอื่นในกรณีท่ี สถานศึกษาไม่สามารถเปิดทำ�การสอนในรายวิชาน้ันได้ โดยสถานศึกษาพิจารณารายละเอียดเก่ียวกับเนื้อหาของ หลักสูตรตามที่เห็นสมควร และให้สถานศึกษาทั้งสองแห่งทำ�ความตกลงร่วมกันในการจัดสอนและรับโอนผล การเรยี น 134

ขอ้ 64 ในกรณสี ถานศกึ ษาอนญุ าตใหน้ กั ศกึ ษาไปเรยี นจากสถานศกึ ษาแหง่ อน่ื ตามขอ้ ๖๓ ใหส้ ถานศกึ ษา พจิ ารณารบั โอนผลการเรยี น ดงั น้ี (1) รับโอนรายวิชาทมี่ ีผลการเรยี นตั้งแต่ 2.0 ข้นึ ไป หรือ (2) รายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนตํ่ากว่า 2.0 สถานศึกษาอาจรับโอนผลการเรียนหรือไม่ก็ได้ให้อยู่ ในดลุ พนิ จิ ของสถานศกึ ษา ทัง้ นี้ ให้สถานศึกษาแจง้ ให้นักศึกษาทราบกอ่ นทจ่ี ะอนุญาตใหไ้ ปเรยี น การบันทึกผลการเรียนลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ให้ใช้รหัสวิชา และช่ือรายวิชาของหลักสูตรน้ี โดยระบุว่ารบั โอนผลการเรยี น ขอ้ 65 กรณีที่มีการประเมินใหม่ตามข้อ 59 และข้อ 60 ระดับผลการเรียนให้เป็นไปตามท่ีได้จากการ ประเมนิ ใหม่ แต่ต้องไม่สูงไปกว่าเดิม ข้อ 66 นักศกึ ษาทมี่ คี วามร้แู ละประสบการณ์ในงานอาชพี หรือฝกึ งานในสถานประกอบการหรอื ท�ำ งาน ในอาชีพนั้นอยู่แล้ว หรือมีความรู้ในรายวิชาตรงตามหลักสูตรมาก่อนเข้าเรียน หรือเข้าเรียนแล้วแต่ได้เรียนหรือ ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ จะขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อนับจำ�นวนหน่วยกิตสะสม สำ�หรับรายวชิ าน้นั ก็ได้ โดยเทยี บโอนไดไ้ มเ่ กิน 2 ใน 3 ของจำ�นวนหนว่ ยกิตตามหลักสตู รแต่ละประเภทวชิ าและ สาขาวิชาและตามแผนการเรยี นทีส่ ถานศกึ ษาก�ำ หนด การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่คณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษากำ�หนด ถา้ ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น นกั ศกึ ษาสามารถลงทะเบยี นเรยี นปกตใิ นภาคเรยี นนน้ั หรอื ขอประเมนิ เทยี บโอน ความรู้และประสบการณ์ในภาคเรียนตอ่ ไปกไ็ ด้ ขอ้ 67 นักศึกษาท่ีสถานศึกษาให้พ้นสภาพนักศึกษาตามข้อ 57 หรือข้อ 55 แล้วสอบเข้าเรียนใหม่ใน สถานศึกษาเดิมหรือสถานศึกษาแห่งใหม่ได้ ให้สถานศึกษารับโอนผลการเรียนเฉพาะรายวิชาท่ียังปรากฏอยู่ใน หลกั สูตรน้ีและได้ระดบั ผลการเรยี นต้งั แต่ 2.0 ขึน้ ไป หมวด 4 การจดั การเรียนการสอนและการประเมนิ ผลการเรียนรายวชิ าปรับพ้นื ฐานวิชาชีพ ข้อ 68 สถานศึกษาที่รับนักศึกษา ตามข้อ 6 วรรคสอง ต้องจัดให้นักศึกษาเรียนรายวิชาปรับพ้ืนฐาน วิชาชีพตามท่ีกำ�หนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชา สาขาวิชา พร้อมชำ�ระเงินค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่ สถานศึกษากำ�หนด หรืออนุญาตให้ไปเรียนจากสถานศึกษาอื่นท่ีเปิดสอนรายวิชาน้ัน ๆ หรือรายวิชาท่ีเน้ือหา ใกลเ้ คียงกนั หรอื ลงทะเบยี นเพอื่ ขอประเมนิ เทยี บโอนความร้แู ละประสบการณต์ ามข้อ 66 ก็ได้ ข้อ 69 การประเมนิ ผลการเรยี นรายวชิ าปรับพ้ืนฐานวชิ าชพี ปฏบิ ัตเิ ชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ผลการเรยี น รายวชิ าตามหลกั สตู ร ทงั้ น้ี ผทู้ ไี่ ด้ระดับผลการเรยี นตง้ั แต่ 1.0 ขนึ้ ไป ถือว่าผ่าน โดยให้บนั ทกึ “ผ.” ในระเบยี น แสดงผลการเรียนช่อง “ผลการเรียน” นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาปรับพ้ืนฐานวิชาชีพต้องเรียนให้ได้ระดับผลการประเมิน “ผ่าน” ทกุ รายวิชา 135

หมวด 5 เอกสารการศกึ ษา ขอ้ 70 สถานศึกษาต้องจดั ให้มเี อกสารการศึกษา ดังตอ่ ไปน้ี (1) ระเบียนแสดงผลการเรียนตามแบบท่ีกำ�หนดท้ายระเบียบนี้ซ่ึงใช้ช่ือย่อว่า “รบ. 1 ปวส. 57” และต้องเก็บรักษาไวต้ ลอดไป การจัดทํา “รบ. 1 ปวส. 57” ให้หัวหน้างานทะเบียนเป็นผู้จัดทํา ลงลายมือชื่อพร้อมทั้ง วัน เดือน ปี และให้หัวหน้าสถานศึกษาเปน็ ผู้ลงนามรบั รองผลการเรยี นและการส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร (2) ระเบยี นแสดงผลการเรยี นฉบบั ภาษาองั กฤษ (TRANSCRIPT) ตามแบบทีก่ ำ�หนดท้ายระเบียบนี้ และตอ้ งเก็บรกั ษาไว้ตลอดไป การจัดทำ�ระเบียนแสดงผลการเรียนฉบับภาษาอังกฤษ (TRANSCRIPT) ให้หัวหน้างานทะเบียนเป็น ผู้จัดทํา ลงลายมือชื่อพร้อมท้ัง วัน เดือน ปี และให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้ลงนามรับรองผลการเรียนและการ ส�ำ เรจ็ การศึกษาตามหลักสตู ร (3) แบบรายงานผลการเรียนของผู้ท่ีสำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พทุ ธศกั ราช 2557 (รบ. 2 ปวส. 57) ตามแบบทก่ี �ำ หนดท้ายระเบียบนี้และเกบ็ รักษาไว้ตลอดไป (4) ประกาศนยี บัตร และวฒุ บิ ัตร ตามแบบท่กี ำ�หนดท้ายระเบยี บน้ี (5) สมุดประเมินผลรายวิชา และหลักฐานเกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนในแบบอ่ืนนอกเหนือ จาก รบ. 1 ปวส. 57 และ รบ. 2 ปวส. 57 สมุดบันทึกการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพหรือสมุดบันทึกการ ปฏบิ ัตงิ านหรือสมดุ รายงานของนกั ศกึ ษา (6) ใบรบั รองสภาพการเป็นนกั ศกึ ษาและใบรบั รองผลการเรยี นตามแบบท่กี �ำ หนดท้ายระเบียบนี้ ขอ้ 71 ให้สถานศึกษาเก็บรักษากระดาษคำ�ตอบ และหลักฐานการประเมินผลการเรียนไว้เป็นเวลา ไม่น้อยกวา่ 1 ปีการศึกษา ขอ้ 72 ใหส้ ถานศึกษาแจ้งผลการเรียนของนกั ศึกษาให้นักศึกษาและผูป้ กครองทราบทุกภาคเรียน ขอ้ 73 ให้ใช้สำ�เนาระเบียนแสดงผลการเรียน (รบ. 1 ปวส. 57) และสำ�เนาระเบียนแสดงผลการเรียน ฉบับภาษาองั กฤษ (TRANSCRIPT) เปน็ เอกสารรับรองผลการเรยี น ข้อ 74 ใหส้ ถานศึกษาออกส�ำ เนาระเบยี นแสดงผลการเรยี น (รบ 1 ปวส. 57) ส�ำ เนาระเบยี นแสดงผลการ เรยี นฉบับภาษาองั กฤษ (TRANSCRIPT) ประกาศนียบตั ร และวุฒบิ ัตร แก่ผสู้ �ำ เรจ็ การศึกษา ข้อ 75 การท�ำ สำ�เนาระเบียนแสดงผลการเรียน (รบ. 1 ปวส. 57) และส�ำ เนาระเบียนแสดงผลการเรียน ฉบับภาษาอังกฤษ (TRANSCRIPT) จะใช้วิธีพิมพ์ใหม่ หรือสำ�เนาเอกสารตามต้นฉบับก็ได้แล้วให้เขียนหรือ ประทับตรา “ส�ำ เนาถูกต้อง” หรอื “CERTIFIED TRUE COPY” ให้หัวหน้างานทะเบียน หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ทำ�การแทนลงลายมือช่ือรับรองสำ�เนาพร้อมทั้ง วัน เดือน ปีที่ออกสำ�เนา และหัวหน้าสถานศึกษาหรือผ้ไู ดร้ บั มอบหมายลงลายมอื ช่ือกำ�กบั ท่รี ูปถา่ ย ข้อ 76 นักศึกษาท่ีต้องการใบรับรองสภาพการเป็นนักศึกษา หรือใบรับรองผลการเรียนจากสถานศึกษา ให้สถานศึกษาออกใบรับรองสภาพการเป็นนักศึกษา หรือใบรับรองผลการเรียน แล้วแต่กรณีใบรับรองนี้มีอายุ 60 วันโดยใหส้ ถานศึกษากำ�หนดวันหมดอายไุ วด้ ว้ ย 136

หมวด 6 บทเฉพาะกาล ข้อ 77 สถานศึกษาใดท่ีมีนักศึกษากำ�ลังศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2546 ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชพี ช้นั สูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 2554 และระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ดว้ ยการประเมินผลการเรยี น ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 2547 ท่ีใช้บังคับอยู่เดิม จนกว่านักศึกษา จะส�ำ เร็จการศกึ ษา ประกาศ ณ วันท่ี 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2558 พลเรอื เอก ณรงค์ พพิ ฒั นาศัย รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ 137

ตอนท่ี การบรหิ ารและสวสั ดกิ าร 5 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษานครสวรรค์ ประกาศวิทยาลัยอาชวี ศึกษานครสวรรค์ เรอ่ื ง กำ�หนดการเก็บเงินบำ�รุงการศกึ ษา (รายไดส้ ถานศกึ ษา) ในวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ ด้วยส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ไดม้ หี นงั สือที่ ศธ 0602/211 ลงวันท่ี 25 มกราคม 2550 เรอ่ื ง ส่งเอกสารแนวปฎิบตั ิของสถานศกึ ษาและประกาศส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษา เรื่อง กำ�หนดการเก็บเงินบำ�รุงการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยให้ผู้อำ�นวยการสถานศึกษาเป็นผู้กำ�หนดอัตราการเก็บเงินบำ�รุงการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ สงู (ปวส.) โดยค�ำ นึงถึงความเหมาะสมกับสภาพทอ้ งถิ่นและสภาพ เศรษฐกจิ ของชมุ ชน โดยไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ ไดจ้ ดั ประชมุ กรรมการบริหารสถานศกึ ษา เมื่อวนั ที่ 27 ธันวาคม 2559 ทปี่ ระชมุ ไดม้ ีมติเหน็ ชอบอตั ราการเกบ็ เงนิ บำ�รงุ การศึกษา ดังน้ี 1. ประเภทและอัตราการเก็บเงนิ บาํ รงุ รักษา อัตราการเก็บเงนิ ตามหลกั สตู ร (บาท) ปวช. (ปกติ) ภภาาคปคสวพมชิเทศ. บษ/ ปวส. ประเภทเงินบาํ รงุ การศึกษา - 50 50 1.1 ค่าใบสมัครและระเบยี บการ 100 100 100 1.2 คา่ คมู่ ือนกั เรยี น นักศกึ ษา 100 100 100 1.3 ค่าสมัครหรือค่าสมคั รสอบเข้าเรียน 100 100 100 1.4 คา่ ขนึ้ ทะเบยี นเป็นนกั เรียน นกั ศึกษา - - 70 1.5 คา่ ลงทะเบียนรายวิชาภาคปกติ หนว่ ยกติ ละ 250 250 300 1.6 ค่าลงทะเบียนรายวชิ าภาคเรียนฤดูรอ้ น หน่วยกติ ละ - 250 250 1.7 ค่าลงทะเบยี นรายวชิ าภาคสมทบ/ภาคพเิ ศษ (สําหรับผมู้ งี านทาํ ท่ขี อเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ส่วนหน่ึง) หน่วยกิตละ 138

อัตราการเก็บเงินตามหลกั สูตร (บาท) ปวช. (ปกติ) ภภาาคปคสวพมชเิ ทศ. บษ/ ปวส. ประเภทเงินบาํ รุงการศกึ ษา 1.8 ค่าวสั ดฝุ ึกหรืออุปกรณ์การศึกษาภาคปกติ หนว่ ยกติ ละ - 100 100 1.9 คา่ ลงทะเบยี นรายวิชา เพือ่ การประเมินเทยี บโอนความรู้ 200 200 200 และประสบการณ์ หน่วยกติ ละ 1.10 คา่ ลงทะเบยี นเพอ่ื รกั ษาสภาพการเปน็ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ภาคเรยี นละ 100 100 100 1.11 ค่าปรับการลงทะเบยี นรายวชิ าช้ากว่ากาํ หนด ภาคเรียนละ 100 100 100 1.12 ค่าคืนสภาพการเป็นนกั เรยี น นกั ศกึ ษา คร้งั ละ 100 100 100 1.13 ค่าทําบัตรประจาํ ตวั นกั เรียน นักศึกษา ครัง้ ละ 100 100 100 1.14 ค่าออกใบรับรองใบรายงานตา่ ง ๆ (ยกเวน้ ชดุ แรก) ชดุ ละ 20 20 20 1.15 คา่ บํารงุ สุขภาพหรอื หอ้ งพยาบาล ภาคเรยี นละ - 100 100 1.16 คา่ บํารุงห้องสมุด ภาคเรียนละ - 100 100 1.17 ค่าสือ่ /เอกสารประกอบการเรียนทางไกล รายวิชาละ 200 200 200 1.18 ค่าสงิ่ แวดล้อม ภาคเรียนละ 500 - 500 1.19 คา่ ประกันอุบัตเิ หตุ ปกี ารศึกษาละ 290 - 290 1.20 คา่ บาํ รุงศนู ย์สารสนเทศ ปีการศกึ ษา - - 500 1.21 ค่ากิจกรรมนกั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษาละ - - 300 ประกาศฉบับน้ีใหใ้ ช้บังคับแก่ นักเรยี น นกึ ศึกษาทสี่ มัครเขา้ เรียน ตัง้ แตภ่ าคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2563 (นางสุรางค์ อภริ มย์วิไลชัย) ผู้อำ�นวยการวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ 139

กฎกระทรวง ก�ำ หนดความประพฤติของนกั เรียนและนักศกึ ษา พ.ศ. 2548 อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 64 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 อันเป็นกฎท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำ�กัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับ มาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา36 มาตรา 39 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรฐั ธรรมนญู แห่งราช อาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำ�ได้โดยอาศัยอำ�นาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการการออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 นักเรียนและนกั ศกึ ษาต้องไมป่ ระพฤติตน ดังต่อไปน้ี (1) หนีเรยี นหรือออกนอกสถานศกึ ษาโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตในช่วงเวลาเรียน (2) เลน่ การพนนั จดั ให้มีการเล่นการพนนั หรือมวั่ สุมในวงการพนนั (3) พกพาอาวธุ หรอื วัตถุระเบดิ (4) ซ้ือ จ�ำ หนา่ ย แลกเปลี่ยน เสพสรุ า หรือเครือ่ งดม่ื ทีม่ ีแอลกอฮอล์ สงิ่ มนึ เมา บุหรี่ หรอื ยาเสพตดิ (5) ลกั ทรพั ย์ กรรโชกทรัพย์ ขม่ ขู่ หรอื บงั คบั ขนื ใจเพือ่ เอาทรัพยบ์ ุคคลอนื่ (6) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ทำ�รา้ ยร่างกายผ้อู นื่ เตรยี มการหรอื กระทำ�ใด ๆ อันนา่ จะก่อให้เกิดความ ไมส่ งบเรียบร้อยหรอื ขัดต่อศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน (7) แสดงพฤติกรรมทางช้สู าวซึ่งไม่เหมาะสมในทีส่ าธารณะ (8) เกี่ยวข้องกับการคา้ ประเวณี (9) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเท่ียวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้างความเดือดร้อน ใหแ้ ก่ตนเองหรอื ผอู้ ่นื ข้อ 2 ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษากำ�หนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาได้ เทา่ ทีไ่ ม่ขัดหรือแยง้ กับกฎกระทรวงนี้ ให้ไว้ ณ วันท่ี 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 (จาตรุ นต์ ฉายแสง) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ 14O

กฎกระทรวง ก�ำ หนดหลกั เกณฑ์วธิ กี าร และเงอื่ นไขในการจัดระบบงานและกจิ กรรม ในการแนะแนว ให้ค�ำ ปรึกษาและฝกึ อบรมแกน่ ักเรียน นกั ศกึ ษา และผู้ปกครอง พ.ศ. 2548 อาศยั อ�ำ นาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 63 แห่งพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 อันเป็น กฎทม่ี บี ทบญั ญตั บิ างประการเกย่ี วกบั การจ�ำ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซง่ึ มาตรา 29 ประกอบ กบั มาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติ ให้กระทำ�ได้โดยอาศัยอำ�นาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การออกกฎ กระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ในกฎกระทรวงน้ี “กิจกรรมในการแนะแนว” หมายความว่า กิจกรรมท่ีเก่ียวกับการแนะแนว การให้ปรึกษาและฝึกอบรม เพ่ือส่งเสริมความประพฤติที่เหมาะสม ความรับผิดชอบต่อสังคมและความปลอดภัยแก่นักเรียน นักศึกษาและ ผูป้ กครอง “นกั เรียนหรือนักศึกษาทีเ่ สย่ี งตอ่ การกระทำ�ผดิ ” หมายความว่า นักเรียนนกั ศกึ ษาทีม่ ีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพเปน็ นักเรียนหรอื นกั ศกึ ษา (2) ประกอบอาชพี ในทางผิดกฎหมายหรอื ขัดต่อศีลธรรมอนั ดี (3) คบหาสมาคมกับบุคคลทีน่ า่ จะชักน�ำ ไปในทางกระทำ�ผิดกฎหมายหรอื ขัดต่อศลี ธรรมอันดี (4) อยูใ่ นสภาพแวดลอ้ มหรือสถานทอ่ี ันอาจชกั น�ำ ไปในทางเสยี หาย ขอ้ 2 ให้โรงเรียนและสถานศึกษาจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนว ให้คำ�ปรึกษาและ ฝกึ อบรมแก่นกั เรียน นกั ศึกษา และผูป้ กครอง ท้ังนี้ ตามระดับของโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษา ข้อ 3 ใหโ้ รงเรียนและสถานศึกษามีหนา้ ที่ดังตอ่ ไปนี้ (1) พัฒนาระบบงานแนะแนวท่ีจะช่วยเหลือดูแลนักเรียนหรือนักศึกษาเป็นรายบุคคล พร้อมท้ัง ส่งเสริมให้ครูทุกคนมีบทบาทในการแนะแนว รู้จักและเข้าใจผู้เรียน สามารถค้นพบและจัดการเรียนรู้ที่จะพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน และให้คำ�ปรึกษาด้านการดำ�รงชีวิตการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการศึกษาต่อและการมีงานทำ� ท้ังน้ี ให้มีระบบข้อมลู ตง้ั แตแ่ รกเข้าเพือ่ ติดตอ่ ดูแลอยา่ งตอ่ เนื่องจนจบการศกึ ษา (2) สำ�รวจ เฝ้าระวัง และติดตามนักเรียนหรือนักศึกษาที่เส่ียงต่อการกระทำ�ผิดเพ่ือจัดกิจกรรม ในการพฒั นาและปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมอย่างเป็นระบบและตอ่ เนอื่ ง (3) แจ้งให้ผู้ปกครองของนักเรียนและนักศึกษาท่ีเส่ียงต่อการกระทำ�ผิดได้ทราบถึงพฤติกรรมและ หาแนวทางแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั ทง้ั น้ี อาจก�ำ หนดใหน้ กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาดงั กลา่ วเขา้ รว่ มกจิ กรรมตามทเ่ี หน็ สมควร 141

(4) จัดให้มีมาตรการส่งเสริมความปลอดภัย ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงโดยมีแผนงาน ผรู้ บั ผิดชอบ และการติดตามตรวจสอบ เพอ่ื ใหเ้ กิดประสิทธิภาพ (5) สนับสนุนให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการส่งเสริมความประพฤติและความ ปลอดภัยของนักเรยี นหรอื นักศกึ ษา (6) จัดให้มีระบบการติดตามประเมินผล และรายงานผลการดำ�เนินงานต่อส่วนราชการต้นสังกัด อยา่ งนอ้ ยปกี ารศกึ ษาละหนึ่งคร้งั ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธนั วาคม พ.ศ. 2546 (จาตรุ นต์ ฉายแสง) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร หมายเหตุ : เหตผุ ลในการประกาศใช้กฎหมายกระทรวงฉบบั นี้ คือ โดยทีม่ าตรา 63 แหง่ พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 บัญญตั ใิ ห้ โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบและกิจกรรมในการแนะแนวให้คำ�ปรึกษาและฝึกอบรม แก่นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง เพอ่ื ส่งเสริมความประพฤตทิ เี่ หมาะสมความรับผิดชอบตอ่ สงั คม และความปลอดภัย แก่นกั เรยี นและนักศกึ ษาตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ เง่ือนไข ท่ีกำ�หนดในกฎกระทรวงจึงจำ�เป็นต้องออกกฎกระทรวงน้ี 142

บนั ทกึ 143

บันทกึ 144


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook