Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ4

การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ4

Published by pitipan.torz, 2021-02-09 01:54:57

Description: การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ4

Search

Read the Text Version

7) เตรียมยาแก้พิษกดั ตอ่ ยจากแมลงป่อง ตะขาบ งู และสตั วอ์ ่ืน ๆ 8) เตรียมน้าดื่มสะอาดเก็บไว้ในภาชนะท่ีปิดแน่น เพราะน้าประปาอาจจะ หยุดไหลเปน็ เวลานาน 9) เตรียมอาหารกระป๋องและอาหารสารองไว้ กรณีที่ความช่วยเหลือ จากทางการยงั เข้าไปไม่ถึง การเกิดเหตุการณ์น้าท่วม ย่อมเป็นบทเรียนท่ีดีต่อการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ไดเ้ ปน็ อย่างดี ดงั นั้นการรับมอื สาหรบั น้าท่วมครั้งต่อไปควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1) คาดคะเนความเสียหายท่ีจะเกิดกับทรัพยส์ นิ ของตนเองเมอ่ื เกดิ น้าท่วม 2) ทาความคุ้นเคยกับระบบการเตือนภัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และข้ันตอนการอพยพ 3) เรียนรู้เส้นทางการเดินทางท่ีปลอดภัยที่สุดจากบ้านไปยังท่ีสูงหรือพนื้ ที่ ทปี่ ลอดภยั 4) ผู้ที่อาศัยในพ้ืนท่ีเส่ียงต่อน้าท่วมควรจะเตรียมวัสดุ เช่น กระสอบทราย แผ่นพลาสติก เปน็ ตน้ 5) นายานพาหนะไปเกบ็ ไว้ในพ้นื ท่ีทน่ี า้ ท่วมไม่ถงึ 6) ปรึกษาและทาข้อตกลงกับบริษัทประกันภัยเกี่ยวกับการประกันความ เสียหายของบ้าน 7) บันทึกหมายเลขโทรศัพท์สาหรบั เหตุการณ์ฉุกเฉนิ ไว้ในโทรศัพทม์ อื ถอื 8) รวบรวมของใช้ที่จาเป็นและเสบียงอาหาร ไว้ในท่ีปลอดภัยและสูงกว่า ระดบั ที่คาดว่านา้ จะท่วมถงึ 9) จดบนั ทกึ รายการทรัพยส์ ินมีค่า และเอกสารสาคญั ทั้งหมด ถ่ายรูปหรือ ถ่ายวิดีโอเก็บไว้เป็นหลักฐาน และเก็บไว้ในสถานท่ีปลอดภัยหรือห่างจากท่ีน้าท่วมถึง เช่น ตู้เซฟ ที่ธนาคาร หรอื ไปรษณยี ์ 10) ทาแผนการรับมือน้าท่วม และถ่ายเอกสารเก็บไว้ในท่ีสังเกตได้ง่าย และติดต้งั อปุ กรณป์ อ้ งกนั นา้ ทว่ มที่เหมาะสมกับบา้ นของแต่ละคน ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 41

4.2 การปฏิบัตขิ ณะเกดิ อุทกภยั 4.2.1 ตดั สะพานไฟ และปิดแก๊สหุงต้มใหเ้ รียบรอ้ ย 4.2.2 อยูใ่ นอาคารที่แข็งแรง และอย่ใู นทส่ี งู พน้ ระดบั น้าทเ่ี คยท่วมมากอ่ น 4.2.3 สวมเส้ือผ้าให้ร่างกายอบอุ่นอยเู่ สมอ 4.2.4 ไมค่ วรขับขยี่ านพาหนะฝา่ ลงไปในกระแสน้าหลาก 4.2.5 ไม่ควรเลน่ นา้ หรือวา่ ยน้าในขณะนา้ ท่วม 4.2.6 ระวังสัตว์มีพิษที่หนนี า้ ท่วมกัดต่อย 4.2.7 ติดตามสถานการณอ์ ย่างใกลช้ ดิ เชน่ สังเกตลมฟา้ อากาศและติดตาม รายงานอากาศของกรมอุตุนิยมวทิ ยา 4.2.8 เตรยี มอพยพไปในท่ีปลอดภยั เมอื่ สถานการณ์จวนตวั หรือปฏบิ ตั ิตาม คาแนะนาของทางการ 4.2.9 เมือ่ ถงึ คราวคบั ขัน ใหค้ านึงถึงความปลอดภยั ของชีวิตมากกว่าห่วงทรัพยส์ ิน 4.3 การปฏิบตั หิ ลงั เกดิ อทุ กภยั ภายหลังจากการเกิดอุทกภัยหรือน้าท่วมแล้ว ควรร้ือและเก็บกวาดสิ่งปรักหักพัง และทาความสะอาด ซอ่ มแซมบา้ นเรอื นให้เร็วทีส่ ดุ และดแู ลรกั ษาสภุ าพของตนเองและครอบครัว ดื่มน้าสะอาด แต่ถ้าได้รับความเสียหายมาก ผู้ประสบภัยสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจาก หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งในเร่ืองต่าง ๆ ดังตอ่ นี้ 4.3.1 การขอรับอาหารเครื่องนงุ่ ห่ม ยารกั ษาโรค 4.3.2 การซอ่ มแซมบา้ นเรือนทีพ่ ักอาศยั หรอื การจดั หาแหลง่ เงินกู้ สาหรบั ซอ่ ม บ้าน หรือสรา้ งบ้านใหม่ หรือการจดั หาท่ีอยอู่ าศัยชว่ั คราวให้ 4.2.3 การซ่อมแซมระบบไฟฟา้ ระบบประปาในบ้าน 4.2.4 การชว่ ยเหลอื ฟนื้ ฟใู นเร่ืองสขุ ภาพทางกายและจิตใจ 4.2.5 การประกอบอาชพี เชน่ การแนะนาทางด้านวชิ าการเพอื่ ปลูกพชื ทดแทน การจดั หาพนั ธ์ุพืชผลไม้ และการหาแหล่งเงนิ กู้ฉุกเฉิน ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 42

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ดนิ โคลนถล่ม สาระสาคัญ การเกิดดินถล่มหรือโคลนถล่ม มักพบในท้องถ่ินที่ต้ังอยู่ตามเชิงเขาและเกิดข้ึนในช่วงท่ีมี ฝนตกหนกั ทนี่ ้าจากภเู ขาไหลบ่า พัดเอาดนิ เอาโคลนมากองรวมกันไวม้ าก ๆ และเม่อื ถึงระดับหนึ่ง ซึ่งบริเวณที่รองรับทนน้าหนักไม่ไหว เกิดการถล่มลงมาของกองดินหรือโคลน ซึ่งถ้าในบริเวณนั้น มีการตั้งบ้านเรือนอยู่ ก็จะเกิดการสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพย์สิน หรือบางคร้ังเกิดจากการตัดต้นไม้ บนพ้ืนทภี่ เู ขาและไหลเ่ ขา เม่อื เกิดฝนตกหนัก ไม่มตี น้ ไมใ้ หญท่ ี่จะยึดดินไว้ ทาใหเ้ กดิ ดนิ ถล่ม ตวั ชว้ี ดั 1. บอกความหมายของดนิ โคลนถลม่ 2. บอกสาเหตแุ ละปจั จัยในการเกิดดนิ โคลนถล่ม 3. ตระหนักถงึ ภัยและผลกระทบที่เกิดจากดนิ โคลนถล่ม 4. บอกสัญญาณบอกเหตุกอ่ นเกิดดนิ โคลนถล่ม 5. บอกพน้ื ทีเ่ ส่ียงภยั ต่อการเกดิ ดินโคลนถลม่ 6. บอกสถานการณ์ดนิ โคลนถล่มในประเทศไทย 7. บอกวธิ กี ารเตรียมความพร้อมรบั สถานการณก์ ารเกดิ ดินโคลนถล่ม 8. บอกวธิ ีการปฏบิ ัติขณะเกิดดนิ โคลนถล่ม 9. บอกวธิ กี ารปฏบิ ัติหลงั เกิดดนิ โคลนถล่ม ชดุ วชิ าการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 43

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 ความหมายของดินโคลนถลม่ เรอ่ื งที่ 2 การเกิดดนิ โคลนถลม่ 2.1 ประเภทของดนิ โคลนถล่ม 2.2 สาเหตุและปจั จัยการเกิดดนิ โคลนถลม่ 2.3 ผลกระทบที่เกดิ จากดนิ โคลนถลม่ 2.4 สัญญาณบอกเหตุกอ่ นเกดิ ดินโคลนถลม่ 2.5 พ้ืนทเ่ี ส่ียงภัยต่อการเกิดดินโคลนถล่ม เรือ่ งท่ี 3 สถานการณ์ดินโคลนถลม่ ในประเทศไทย เร่อื งท่ี 4 แนวทางการป้องกนั และการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบทเ่ี กดิ จากดนิ โคลนถลม่ 4.1 การเตรยี มความพร้อมรบั สถานการณ์การเกิดดินโคลนถลม่ 42 การปฏบิ ัตขิ ณะเกิดดนิ โคลนถล่ม 4.3 การปฏบิ ัตหิ ลังเกิดดนิ โคลนถลม่ เวลาท่ใี ช้ในการศกึ ษา 8 ชัว่ โมง สอ่ื การเรียนรู้ 1. ชดุ วิชาการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 2. สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวิชาการเรยี นรู้ส้ภู ยั ธรรมชาติ 1 3. เว็บไซต์ ชดุ วิชาการเรยี นรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 44

เรอื่ งท่ี 1 ความหมายของดนิ โคลนถล่ม ดินโคลนถล่ม คือ ปรากฏการณ์ท่ีส่วนของพื้นดิน ไม่ว่าจะเป็นก้อนหิน ดิน ทราย โคลนหรือเศษดิน เศษต้นไม้ เกิดการไหล เลื่อน เคล่ือน ถล่ม พังทลาย หรือหล่นลงมาตามท่ีลาด เอียง อันเน่อื งมาจากแรงดึงดูดของโลก ในขณะทีส่ ว่ นประกอบของชัน้ ดนิ ความชน้ื และความชุม่ น้า ในดนิ ทาใหเ้ กดิ การเสยี สมดลุ ดังน้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่า ดินโคลนถล่ม เป็นปรากฏการณ์หรือเป็นภัยธรรมชาติของ การสกึ กร่อนชนดิ หนงึ่ ท่กี ่อให้เกิดความเสยี หายตอ่ บริเวณพนื้ ที่ทเี่ ป็นเนินสงู หรอื ภูเขาทมี่ คี วามลาด ชันมาก มักเกิดในกรณีท่ีมีฝนตกหนักมากบริเวณภูเขา และภูเขาน้ันอุ้มน้าไว้จนเกิดการอ่ิมตัวจน ทาให้เกิดการพังทลาย เกิดการถล่มลงมาของกองดินหรือโคลน ซึ่งถ้าบริเวณนั้นมีการต้ังบ้านเรือน อยู่ ก็จะเกิดการสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพย์สิน หรือบางครั้งเกิดจากการตัดต้นไม้บนพ้ืนที่ภูเขาและ ไหลเ่ ขา เมื่อเกิดฝนตกหนักไม่มีตน้ ไมใ้ หญ่ทจี่ ะยึดดนิ ดินโคลนถล่มมักเกิดพร้อมกับน้าป่าไหลหลาก หรือตามมาหลังจากน้าป่าไหลหลาก เกดิ ข้นึ ในขณะหรอื ภายหลงั พายฝุ นตกหนกั ต่อเน่ืองอย่างรุนแรง กลา่ วคือ เมอื่ ฝนตกตอ่ เนือ่ ง นา้ ซมึ ลงในดนิ อย่างรวดเร็ว เมอ่ื ถงึ จดุ หนง่ึ ดนิ จะอ่ิมตวั ช่มุ ดว้ ยนา้ ยังผลให้น้าหนักของมวลดนิ เพิ่มข้ึนและ แรงยึดเกาะระหว่างมวลดินลดลง ระดับน้าใต้ผิวดินเพ่ิมสูงขึ้น ทาให้ แรงต้านทาน การเล่อื นไหลของดนิ ลดลง จงึ เกดิ การเล่อื นไหลของตะกอนมวลดนิ และหิน ชดุ วิชาการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 45

เรอ่ี งท่ี 2 การเกดิ ดนิ โคลนถลม่ 2.1 ประเภทของดินโคลนถลม่ ดินโคลนถล่ม มีองค์ประกอบหลายอย่าง ท้ังจากส่วนประกอบของดิน ความเร็ว กลไกในการเคลื่อนท่ี ชนิดของตะกอน รูปร่างของรอยดินถล่ม ปริมาณของน้าท่ีเข้ามาเกี่ยวข้อง ดนิ โคลนถล่มมี 5 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 2.1.1 การถล่มแบบร่วงหล่น มักจะเป็นก้อนหินทั้งก้อนใหญ่และก้อนเล็ก ลักษณะอาจตกลงมาตรง ๆ หรอื ตกแลว้ กระดอนลงมาหรืออาจกล้ิงลงมาตามลาดเขาก็ได้ ภาพจาลองลกั ษณะการถลม่ แบบรว่ งหล่น เปรียบเทยี บภาพถา่ ยการถลม่ ของหินร่วงหลน่ ที่เคลียรค์ รกี แคนยอน รฐั โคโลราโด สหรฐั อเมรกิ า ในปี ค.ศ.2005 (ภาพถ่ายโดย หนว่ ยสารวจทางธรณีวทิ ยารฐั โคโลราโด คดั ลอกจากหนังสือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) ชุดวชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 46

2.1.2 การถล่มแบบล้มคว่า มักจะเกิดกับหินท่ีเป็นแผ่นหรือเป็นแท่งหินท่ีแตก และลม้ ลงมา ภาพจาลองลักษณะการถลม่ แบบล้มควา่ (Topples) เปรียบเทยี บกับภาพถ่ายการถลม่ ของหนิ ท่ี ฟร้อทเซนตจ์ อห์นบริตชิ โคลัมเบยี แคนาดา (ภาพถ่ายโดย GBianchiFasani คัดลอกจากหนังสือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) 2.1.3 การถล่มแบบการเลื่อนไถล เป็นการเคล่ือนตัวของดินหรือหินจากที่สูง ไปสทู่ ล่ี าดต่าอย่างช้า ๆ แต่หากถึงท่ที ่ีมนี ้าช่มุ หรอื พ้นื ทีท่ ่มี ีความลาดชันสูง การเคล่อื นที่อาจเรว็ ขึน้ ภาพจาลองลกั ษณะการเล่ือนไถลแบบแนวระนาบ (Translation slide) เปรยี บเทยี บกบั ภาพถา่ ยการเล่ือนไถลท่ี อ.ท่าปลา จ.อตุ รดติ ถ์ ซึ่งเกดิ จากกระแสนา้ กดั เซาะบรเิ วณตนี ของลาดเขา (ภาพจาลอง คัดลอกจากหนงั สอื The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) (ภาพถา่ ยโดย ประดษิ ฐ์ นเู ล คัดลอกจากเว็บไซต์ กรมทรพั ยากรธรณ)ี ชดุ วิชาการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 47

2.1.4 การไหลของดนิ เกดิ จากดินชมุ่ น้ามากเกนิ ไป ทาให้เกิดดนิ โคลนไหลลงมา ตามที่ลาดชัน โดยการไหลของดินแบบนี้ ดินไหลอาจพัดพาเศษทราย ต้นไม้ โคลน หรือแม้กระทั่ง ก้อนหินเล็ก ๆ ลงมาด้วย และหากการไหลของดินพัดผ่านเข้ามาหมู่บ้านก็อาจทาให้เกิดความ เสยี หายร้ายแรงได้ ภาพจาลองลกั ษณะตะกอนไหล เปรียบเทยี บกบั ภาพถา่ ยความเสียหาย ท่เี มอื ง Caraballeda ประเทศเวเนซูเอลา่ ในปี พ.ศ.2545 (ภาพถ่ายโดย L.M. Smith, WaterwaysExperiment Station, U.S. Army Corps of Engineers คัดลอกจากหนังสือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) 2.1.5 การถล่มแบบแผ่ออกไปด้านข้าง มักเกิดในพื้นที่ท่ีลาดชันน้อยหรือพื้นท่ี ค่อนข้างราบ โดยเกิดจากดินท่ีชุ่มน้ามากเกินไปทาให้เน้ือดินเหลว และไม่เกาะตัวกันจนแผ่ตัว ออกไปดา้ นขา้ ง ๆ โดยเฉพาะดา้ นท่ีมคี วามลาดเอยี งหรอื ต่ากว่า ภาพจาลองลักษณะการแผ่ออกไปดา้ นข้าง (Lateral spreading) เปรยี บเทยี บกับภาพถา่ ยความเสยี หายของถนนจากแผ่นดินไหวท่ีโลมาพรเี อตา แคลฟิ อร์เนยี สหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1989 ซึง่ มลี กั ษณะการเคลื่อนตัวแบบแผอ่ อกไปดา้ นขา้ ง (ภาพถ่ายโดย Steve Ellen คดั ลอกจากหนังสือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) ชดุ วชิ าการเรียนร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 48

ในพื้นท่ีท่ีเคยเกิดดินถล่มในประเทศไทยส่วนใหญ่ พบว่า รอยของดินถล่มมีลักษณะ เกิดร่วมกันได้หลายแบบ และมักเกิดตามทางน้าเดิมท่ีมีอยู่แล้วหรือบนร่องเล็ก ๆ บนลาดเขาท่ีน้า มักไหลมารวมกันเม่ือมีฝนตก และมีความลาดชันสูงมากกว่า ร้อยละ 30 (วรวุฒิ, 2535) และจาก การทีด่ นิ ถลม่ ในประเทศไทยเกิดร่วมกบั การท่ีมีฝนตกเป็นปรมิ าณที่สงู มาก 2.2 สาเหตแุ ละปจั จัยการเกิดดนิ โคลนถล่ม การเกิดดินโคลนถล่ม เกดิ จากการทพี่ นื้ ดนิ หรือสว่ นของพื้นดินเคล่อื น เลอื่ นตกหล่น หรือไหลลงมาจากท่ีลาดชันหรือลาดเอียงต่างระดับตามแรงดึงดูดของโลกตามแนวบริเวณฝั่งแมน่ า้ และชายฝัง่ ทะเลหรือมหาสมุทร รวมถึงบริเวณใตม้ หาสมทุ ร 2.2.1 สาเหตุหลกั ที่ทาใหเ้ กิดดนิ โคลนถล่ม มี 2 สาเหตุ คอื 1) สาเหตทุ เี่ กิดตามธรรมชาติ เช่น (1) โครงสรา้ งของดนิ ท่ไี ม่แข็งแรง (2) พ้ืนทีม่ คี วามลาดเอียงและไมม่ ตี น้ ไมย้ ึดหนา้ ดิน (3) การเกดิ เหตุการณ์ฝนตกหนกั และตกนาน ๆ (4) ฤดกู าล โดยเฉพาะฤดฝู น มีสว่ นทาใหเ้ กดิ การออ่ นตัวและดินถลม่ (5) ความแห้งแลง้ และไฟป่าทาลายต้นไมย้ ึดหนา้ ดิน (6) การเกิดแผน่ ดินไหว (7) การเกดิ คลื่นสนึ ามิ (8) การเปลยี่ นแปลงของนา้ ใตด้ นิ (9) การกัดเซาะของฝ่งั แมน่ ้าหรอื ฝั่งทะเล 2) สาเหตทุ ี่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ (1) การขุดไหล่เขาทาใหไ้ หลเ่ ขาชนั มากขนึ้ (2) การดูดทรายจากก้นแม่น้าลาคลอง ทาให้แม่น้าลาคลองลึกลง ตล่งิ ชันมากขึน้ ทาให้ดนิ ถลม่ ได้ (3) การขุดดินลึก ๆ ในการก่อสร้างอาจทาให้เกิดดินด้านบนโดยรอบ เคล่ือนตัวลงมายงั หลุมที่ขดุ ได้ (4) การบดอัดดินเพื่อการก่อสร้างก็อาจทาให้ดินข้างเคียงเคลื่อนตัว (5) การสูบน้าใต้ดิน น้าบาดาลที่มากเกินไปทาให้เกิดโพรงใต้ดินหรือ การอัดนา้ ลงในดินมากเกินไป กท็ าใหโ้ ครงสรา้ งดนิ ไมแ่ ขง็ แรงได้ ชดุ วชิ าการเรยี นรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 49

(6) การถมดินบนสันเขาก็เป็นการเพ่ิมน้าหนักให้ดินเมื่อมีฝนตกหนัก อาจทาใหด้ ินถล่มได้ (7) การตัดไม้ทาลายปา่ ทาใหไ้ มม่ ตี น้ ไมย้ ึดเกาะหนา้ ดิน (8) การสร้างอ่างเก็บน้าบนภูเขา ก็เป็นการเพิ่มน้าหนักบนภูเขา และยังทาให้นา้ ซมึ ลงใต้ดนิ จนเสยี สมดลุ (9) การเปล่ยี นทางนา้ ตามธรรมชาติ ทาใหร้ ะบบน้าใตด้ ินเสียสมดุล (10)นา้ ทงิ้ จากอาคารบา้ นเรอื น สวนสาธารณะ ถนนหนทางบนภเู ขา (11)การกระเทือนอย่างรุนแรง เช่น การระเบิดหิน การระเบิดดิน การขดุ เจาะนา้ บาดาล การขุดดินเพ่ือสร้างอา่ งเกบ็ น้า เขื่อน ฝายกั้นน้า เป็นต้น 2.2.2 ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเกิดดินโคลนถล่ม ดินโคลนถล่มที่เกิดข้ึนในประเทศ ไทย เกิดจากปัจจัยหลัก 4 ประการ คือ (คณะสารวจพ้ืนที่เกิดเหตุดินถล่มภาคเหนือตอนล่าง, 2550) 1) สภาพธรณีวิทยา โดยปกติช้ันดินท่ีเกิดการถล่มลงมาจากภูเขา เป็นช้ัน ดินที่เกิดจากการผุกร่อนของหินให้เกิดเป็นดิน ซ่ึงข้ึนอยู่กับชนิดของหินและโครงสร้างทาง ธรณวี ทิ ยา 2) สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศที่ทาให้เกิดดินถล่มได้ง่าย ได้แก่ ภเู ขาและพ้ืนท่ีท่ีมีความลาดชนั สูง หรอื มที างนา้ คดเค้ียวจานวนมาก นอกจากนน้ั ยังพบว่า ลกั ษณะ ภูมิประเทศท่ีเป็นร่องเขาด้านหน้ารับนา้ ฝน และบริเวณที่เป็นหุบเขากว้างใหญส่ ลับซบั ซอ้ นแต่มลี า นา้ หลักเพยี งสายเดียว จะมีโอกาสเกดิ ดนิ โคลนถล่มไดง้ ่ายกวา่ บริเวณอ่นื ๆ 3) ปริมาณน้าฝน ดินโคลนถล่มจะเกิดข้ึนเมื่อฝนตกหนักหรือตกต่อเน่ือง เป็นเวลานาน น้าฝนจะไหลซึมลงไปในช้ันดิน จนกระท่ังช้ันดนิ อิ่มตัวด้วยน้า ทาให้ความดันของน้า ในดนิ เพม่ิ ขึน้ เปน็ การเพ่ิมความดนั ในช่องว่างของเม็ดดนิ ดันให้ดินมกี ารเคลอ่ื นที่ลงมาตามลาดเขา ได้ง่ายข้ึน และนอกจากนี้แล้วน้าที่เข้าไปแทนที่ช่องว่างระหว่างเม็ดดินทาให้แรงยึดเกาะระหว่าง เมด็ ดนิ ลดน้อยลง สง่ ผลให้ดินมกี าลงั รบั แรงต้านทานการไหลของดินลดลง ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 50

4) สภาพสิ่งแวดล้อม สภาพส่ิงแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงไป อาจทาให้เกิด ดินโคลนถล่มได้ โดยพบว่า พ้ืนที่ที่เกิดดินโคลนถล่มมักเป็นพ้ืนท่ีภูเขาสูงชัน ที่มีการเปล่ียนแปลง การใช้ประโยชนท์ ดี่ ินในรูปแบบต่าง ๆ เช่น (1) พน้ื ทตี่ น้ นา้ ลาธาร ปา่ ไม้ ถกู ทาลายในหลาย ๆ จดุ (2) การบุกรุกทาลายป่าไมเ้ พ่ือทาไรแ่ ละทาการเกษตรบนทสี่ งู (3) รูปแบบการทาเกษตร เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพป่าเป็นสวน ยางพารา โดยเฉพาะตน้ ยางทีย่ งั มีขนาดเลก็ อยู่ และการปลกู ยางถุง ซ่งึ รากแกว้ ไม่แข็งแรง (4) การใช้ประโยชน์ท่ีดิน การตัดถนนผ่านไหล่เขาสูงชัน หรือการตัด ไหลเ่ ขาสรา้ งบ้านเรือน (5) การปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางน้า เช่น สะพานท่ีมีเสา สะพานอยใู่ นทางนา้ 2.3 ผลกระทบทเ่ี กดิ จากดนิ โคลนถล่ม การเกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่ม สามารถสรา้ งความเสียหายได้อย่างมาก โดยเฉพาะ ถ้าเกิดขึ้นบริเวณใกล้กับชุมชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่จานวนมาก ซึ่งผลกระทบตามมาจากการเกิด ดินโคลนถล่ม ทาให้เกิดความเสียหายในด้านหลัก ๆ 3 ด้าน ได้แก่ ผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อม ดา้ นเศรษฐกิจและสังคม และด้านสขุ ภาพอนามยั และจิตใจของผปู้ ระสบภัย 2.3.1 ผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม 1) เป็นการเร่งให้หน้าดินถูกชะล้าง พังทลายเพ่ิมข้ึน ทาให้ป่าขาดความ อดุ มสมบรู ณ์ ต้นน้าจะถูกทาลายตามมา เกิดภาวะแหง้ แลง้ เพมิ่ ขน้ึ 2) ปา่ ลดลง สัตว์ปา่ กล็ ดลง ระบบนิเวศน์ก็จะเสยี สมดุล 3) เกิดการเปล่ียนแปลงของภูมิประเทศ จากการพังทลาย การถูกทับถม ดว้ ยก้อนหิน กรวด ทราย 4) สายน้าเปลี่ยนทิศทาง เนื่องจากถูกกีดขวางจากตะกอนมหึมาที่ทับถม ปิดเส้นทางการไหลของนา้ เปน็ ต้น ชุดวิชาการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 51

2.3.2 ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม 1) ท่ีอยู่อาศยั สิง่ ปลูกสร้างเสยี หาย ทาให้เปน็ ผู้ไรท้ อี่ ยู่อาศยั 2) สัตว์เลยี้ งลม้ ตาย และสูญหาย 3) พ้นื ที่ทากนิ และพืชผลทางการเกษตรเสยี หาย 4) เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด สาธารณูปโภคต่าง ๆ ไม่ว่าไฟฟ้า ประปา ใชก้ ารไม่ได้ 5) เสียงบประมาณในการรักษาการเจบ็ ปว่ ย 6) เสียงบประมาณในการฟืน้ ฟคู วามเป็นอยู่ หรอื อพยพโยกยา้ ยทอี่ ยู่อาศัย เพ่ือใหก้ ลบั มาดาเนินชีวติ ต่อไปได้ 2.3.3 ผลกระทบด้านสุขภาพอนามัย 1) ระบบสาธารณูปโภคเสยี หาย อาจเกดิ การระบาดของโรคต่าง ๆ 2) ผปู้ ระสบภัยไดร้ ับบาดเจบ็ ปว่ ยไข้ ทพุ พลภาพและเสยี ชีวติ 3) ผู้ประสบภัยมีปัญหาสุขภาพจิต หวาดวิตก เครียด ซึมเศร้า ส่งผลต่อ สุขภาพกายตามมา 2.4 สญั ญาณบอกเหตกุ อ่ นเกิดดินโคลนถล่ม 2.4.1 มฝี นตกหนักถึงหนกั มากตลอดทง้ั วัน 2.4.2 มีน้าไหลซึมหรือน้าพุพุ่งขึ้นมาจากใต้ดิน นอกจากนี้ อาจจะสังเกตจาก ลักษณะการอมุ้ น้าของชั้นดนิ เน่ืองจากเกดิ ดินโคลนถลม่ ดนิ จะอม่ิ ตัวด้วยนา้ หรอื ช่มุ นา้ มากกว่าปกติ 2.4.3 ระดบั น้าในแมน่ ้า ลาห้วยเพม่ิ สงู ขึ้นอยา่ งรวดเร็วผิดปกติ 2.4.4 น้ามสี ขี ุ่นมากกวา่ ปกติ เปล่ียนเปน็ เหมอื นสดี ินภเู ขา 2.4.5 มีก่ิงไมห้ รือทอ่ นไมไ้ หลมากับกระแสนา้ 2.4.6 เกดิ ช่องทางเดินนา้ แยกข้นึ ใหม่ หรือหายไปจากเดิมอย่างรวดเรว็ 2.4.7 เกดิ รอยแตกบนถนนหรอื พ้นื ดนิ อย่างรวดเร็ว 2.4.8 ดินบรเิ วณฐานรากของตึก หรอื ส่งิ กอ่ สร้างเกิดการเคลอื่ นตัวอยา่ งกะทันหัน 2.4.9 โครงสร้างตา่ ง ๆ เกิดการเคล่ือนหรอื ดนั ตัวขึ้น เชน่ ถนน กาแพง 2.4.10 ต้นไม้ เสาไฟ รั้ว หรอื กาแพง เอยี งหรือล้มลง 2.4.11 ท่อน้าใต้ดนิ แตกหรอื หักอย่างฉบั พลัน 2.4.12 ถนนยบุ ตัวลงอยา่ งรวดเรว็ ชดุ วิชาการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 52

2.4.13 เกิดรอยแตกรา้ วขึ้นท่ีโครงสรา้ งต่าง ๆ เชน่ รอยแตกทีก่ าแพง 2.4.14 เห็นรอยแยกระหวา่ งวงกบกับประตู หรือวงกบกบั หน้าต่างขยายใหญ่ข้นึ 2.5 พน้ื ท่ีเสี่ยงภยั ต่อการเกิดดนิ โคลนถล่ม พน้ื ท่ที ี่มโี อกาสเกดิ ภยั ดินโคลนถล่ม หมายถงึ พ้นื ที่และบริเวณท่อี าจจะเริ่มเกิดการ เล่ือนไหลของตะกอนมวลดินและหินท่ีอยู่บนภูเขาสู่ท่ีต่าในลาห้วยและทางน้า ขณะเมื่อมีฝนตก หนักอย่างต่อเนือ่ ง ลักษณะของพนื้ ท่เี สีย่ งภัยดนิ โคลนถลม่ มขี ้อสงั เกต ดงั น้ี 2.5.1 พื้นที่ตามลาดเชิงเขาหรอื บริเวณทลี่ ุ่มใกลเ้ ชงิ เขาท่มี กี ารพงั ทลายของดินสูง 2.5.2 พื้นที่เป็นภูเขาสูงชันหรือหน้าผาท่ีเป็นหินผุพังง่ายและมีช้ันดนิ หนาจากการ ผกุ ร่อนของหิน 2.5.3 พ้ืนที่ท่ีเป็นทางลาดชัน เช่น บริเวณถนนท่ีตัดผ่านหุบเขา บริเวณลาห้วย บริเวณเหมืองใต้ดนิ และเหมอื งบนดนิ 2.5.4 บริเวณที่ดินลาดชันมากและมีหินก้อนใหญ่ฝังอยู่ในดิน โดยเฉพาะบริเวณที่ ใกลท้ างน้า เชน่ หว้ ย คลอง แมน่ า้ 2.5.5 ทลี่ าดเชงิ เขาทมี่ กี ารขดุ หรือถม 2.5.6 สภาพพ้ืนท่ีตน้ น้า ลาธารทีม่ ีการทาลายปา่ ไมส้ ูง ชัน้ ดินขาดรากไมย้ ดึ เหน่ียว 2.5.7 เป็นพื้นท่ีที่เคยเกิดดนิ ถล่มมากอ่ น 2.5.8 พืน้ ทสี่ ูงชนั ไม่มีพืชปกคลมุ 2.5.9 บรเิ วณทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลงความลาดชนั ของช้ันดนิ อย่างรวดเร็ว ซงึ่ มีสาเหตุ มาจากการก่อสร้าง 2.5.10 บรเิ วณพืน้ ที่ลาดต่าแต่ช้นั ดินหนาและชั้นดินอิ่มตัวดว้ ยนา้ มาก จากการสารวจเก็บข้อมูลทางธรณีวิทยา โดยกรมทรัพยากรทางธรณี พบว่า พ้ืนท่ี เส่ียงภัยดินโคลนถล่มใน 51 จังหวัด 323 อาเภอ 1,056 ตาบล 6,450 หมู่บ้าน ทั่วประเทศ และพนื้ ทเี่ สี่ยงภยั ในระดบั สงู สดุ 17 จงั หวัด เปน็ พืน้ ท่ภี าคใต้ 7 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวัดระนอง ชุมพร กระบี่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และตรัง และภาคเหนือ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด แมฮ่ อ่ งสอน เชียงราย เชยี งใหม่ น่าน ลาพนู ลาปาง พะเยา แพร่ อตุ รดิตถ์ และตาก ชดุ วิชาการเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 53

เรื่องที่ 3 สถานการณด์ นิ โคลนถล่มในประเทศไทย ประเทศไทยเกดิ เหตุการณด์ ินโคลนถล่มรนุ แรง ดังน้ี วันที่เกดิ เหตุ สถานที่ ความเสยี หาย ลักษณะการเกดิ 28 กนั ยายน 2554 บ้านเมอื งก๋าย บ้านเรอื นของประชาชน ฝนทตี่ กต่อเนื่องติดตอ่ กนั ตาบลเมืองก๋าย เสยี หายจานวน 4 หลงั คาเรอื น ประมาณ 4 วนั ทาให้ดนิ ภูเขา อาเภอแม่แตง มผี ู้เสยี ชีวิต จานวน 4 ราย อมุ้ นา้ ไวม้ าก จนไมส่ ามารถ จังหวดั เชยี งใหม่ และสญู หาย จานวน 1 ราย รองรับน้าฝนได้ ต่อมาจึงเกดิ ดนิ โคลนถล่มปดิ ทบั เสน้ ทาง น้าป่าไหลหลากและดินโคลน คมนาคม จานวน 4 จุดในพนื้ ที่ ถล่ม 23 กันยายน 2554 บ้านเปยี งกอก น้าทว่ มบา้ นเรอื นประชาชน มีเสยี งน้าปา่ ดังขนึ้ จากน้นั ตาบลโป่งนา้ รอ้ น ทรัพยส์ ินไดร้ บั ความเสียหาย ประมาณ 5 นาที มกี ระแสน้า อาเภอฝาง ไหลมาเรว็ มาก นา้ มลี กั ษณะ มีผ้เู สียชวี ติ จานวน 1 ราย เป็นโคลนและมเี ศษไม้ ท่อน จงั หวัดเชียงใหม่ และสญู หาย จานวน 2 ราย ซงุ ขนาดใหญ่ไหลมากบั น้า 3 สิงหาคม 2554 บา้ นปูท่ า ปดิ ทบั เส้นทางหลวงแผ่นดิน เกดิ พายุนกเตน พดั ถล่ม ตาบลแมส่ ามแลบ 1194 แมส่ ะเรียง-แม่สามแลบ ในพน้ื ที่อาเภอแมส่ ะเรยี ง อาเภอสบเมย กว่า 10 จดุ และปดิ ทบั อาเภอสบเมย ทาใหพ้ น้ื ที่ จงั หวัดแม่ฮ่องสอน บ้านเรอื นเสยี หายท้ังหลัง อาเภอแม่สะเรียง และอาเภอ 1 หลัง และเสียหายบางส่วน สบเมย ได้รับผลกระทบ 9 หลัง ผไู้ ดร้ ับบาดเจ็บ 12 คน มีผเู้ สยี ชีวติ 9 ราย 9 ตลุ าคม 2549 ตาบลแม่งอน มผี ู้เสยี ชีวิต 8 ราย พบร่องรอยดินถล่ม อาเภอฝาง จงั หวดั เชยี งใหม่ บ้านเรือนเสยี หาย รวม 29 หลัง ประมาณ 40 แห่ง สิงหาคม 2549 ตาบลทุ่งช้าง บา้ นเรือนเสียหาย 2 หลงั พบดนิ ไหล มากกว่า 50 แห่ง อาเภอทุ่งชา้ ง ถนนบนเชิงเขาถูกตดั ขาด เป็นขนาดใหญ่ 5 แห่ง จงั หวดั นา่ น ชดุ วิชาการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 54

วันที่เกิดเหตุ สถานที่ ความเสยี หาย ลักษณะการเกิด 22 พฤษภาคม อาเภอลับแล มีประชาชนผปู้ ระสบภยั มีฝนตกหนัก ทาใหด้ ิน 2549 อาเภอเมืองและ ประมาณ 128,800 คน จากภเู ขาท่ีล้อมรอบหมบู่ า้ น อาเภอท่าปลา โดยมีผูเ้ สยี ชีวติ ทั้งหมด ถลม่ ลงมาทบั บ้านเรอื นท่อี ยู่ จงั หวัดอตุ รดิตถ์ 66 ราย สูญหาย 37 คน อาศยั ของประชาชน บา้ นเรือนเสยี หาย 3,076 หลัง ในจานวนนเี้ ปน็ บา้ นเรือนที่เสียหายทั้งหลัง จานวน 430 หลังคาเรอื น จากตาราง แสดงให้เห็นว่าการเกิดดินโคลนถล่มน้ันมักจะเกิดขึ้นในฤดูฝน ช่วงระหว่าง เดอื นพฤษภาคมไปจนถึงเดือนตลุ าคม โดยก่อนเกิดดนิ โคลนถลม่ มักจะมีลักษณะและสภาพอากาศ คือ มีฝนตกอยา่ งหนักหรอื ฝนตกต่อเน่อื งกนั เป็นเวลาหลาย ๆ วัน น้าไหลผ่านจะต้องสังเกตปริมาณ และความเร็วการไหลของน้า สีของน้าที่เปล่ียนจากใสเป็นสีแดงโคลน มีเศษซากก่ิง ไม้ใบไม้ไหลมา กับน้าด้วย ให้สันนิษฐานได้ว่าเกิดดินโคลนถล่มและน้าป่าไหลหลาก ต้องทาการอพยพไปอยู่ในท่ี ปลอดภัย เพือ่ ปอ้ งกันการเกิดเหตุรา้ ยตอ่ ชวี ิตและการสูญเสียทรัพยส์ ิน ภาพจาก http://www.disasterthailand.org ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 55

เรอ่ื งที่ 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบท่ีเกดิ จากดินโคลนถลม่ ในการป้องกันภัยธรรมชาติจากการเกิดดินโคลนถล่มน้ัน นอกเหนือจากเป็นหน้าที่ ของผู้รับผิดชอบโดยตรง คือ หน่วยงานของรัฐแล้ว ยังมีส่วนของภาคประชาชน ท่ีได้เข้ามามีส่วน รว่ มในการหาแนวทางป้องกันภยั แผน่ ดินถลม่ หรอื ดนิ โคลนถล่ม ดงั นี้ แนวทางการปอ้ งกันท่ีดาเนนิ การโดยหน่วยงานของรฐั บาล การป้องกันดินโคลนถล่มท่ีดาเนินการโดยหน่วยงานของรัฐบาลในปร ะเทศไทย ส่วนใหญ่จะเป็นการดาเนินการป้องกันดินโคลนถล่มท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีท่ีมนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้น เช่น การตัดภูเขาเพ่ือสร้างถนน ทาให้เกิดแนวดินข้างถนนท่ีตัดผ่านเป็นลักษณะลาดชัน การสร้างแนว ป้องกันต้องใช้งบประมาณมาก แต่มีความจาเป็นเนื่องจากเป็นเส้นทางท่ีใช้ในการคมนาคม จึงต้อง มีแนวทางในการป้องกนั ปญั หาดนิ โคลนถล่ม สรปุ ได้ ดังนี้ 1. ลดแรงกระทาซง่ึ เปน็ เหตุให้มวลดินเกดิ การเคลื่อนตวั โดยการปรบั ความลาดชัน ภาพแสดงการปรบั ความลาดชนั 2. เพิม่ กาลังใหม้ วลดิน เช่น การลดระดบั นา้ ใต้ดินและลดความชืน้ ของดิน ภาพแสดง การเพ่มิ กาลังให้มวลดนิ โดยการลดระดบั น้าใต้ดนิ ผ่านทอ่ ระบายน้า ท่มี า : คดั ลอกจาก The Landslide Handbook-A Guide to Understanding Landslides. By Lynn M. Highland, United States Geological Survey, andPeterBobrowsky, Geological Survey of Canada. ชดุ วชิ าการเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 56

3. ติดตั้งอุปกรณ์ท่ีช่วยเพ่ิมความต้านทานการเคล่ือนของมวลดิน เช่น กาแพง กันดนิ หรอื การตอกเสาเขม็ ภาพแสดงโครงสร้างกาแพงกนั ดิน ท่ีมา : http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm 4. การป้องกนั หน้าดนิ โดยการปลกู พชื คลมุ ดนิ หรือการพน่ คอนกรตี ภาพแสดงการรักษาหน้าดนิ โดยการปลกู พชื คลมุ ดิน ทมี่ า : http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2357 ภาพแสดงการรกั ษาหน้าดินโดยการพ่นคอนกรีต ที่มา : http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm ชดุ วชิ าการเรียนร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 57

แนวทางการปอ้ งกันทีด่ าเนินการโดยภาคประชาชน การปอ้ งกันการเกดิ ดินโคลนถลม่ ทเ่ี กิดขึ้นเองตามธรรมชาตนิ น้ั นอกจากจะเปน็ หนา้ ท่ีของ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรงแล้ว คนในชุมชนควรร่วมมือกันในการกาหนดแนวทางการป้องกัน ภยั พบิ ัติการเกิดดินโคลนถลม่ ในพื้นท่เี ส่ยี ง สรุปได้ ดงั นี้ 1. ร่วมกันดูแล รักษา และป้องกันไม่ให้มีการตัดต้นไม้ทาลายป่าในพื้นที่ป่าและ บริเวณลาหว้ ยให้มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ 2. คนในชุมชนควรร่วมกันจัดสรรเขตพื้นท่ีป่าเป็นเขตป่าอนุรักษ์และเขตป่า ใชป้ ระโยชน์ออกจากกัน เพอ่ื ป้องกันการโค่นล้มตน้ ไม้ 3. สารวจบริเวณพ้ืนท่ีท่ีมีความเสี่ยงในการเกิดดินโคลนถล่ม โดยสังเกตลักษณะ พน้ื ที่ ไดแ้ ก่ 1) เป็นภูเขาหวั โลน้ ทาใหด้ นิ ขาดรากไม้ยดึ เหน่ยี ว อาจเกิดการถลม่ ลงมาได้งา่ ย 2) มชี นั้ ดินหนาวางอยตู่ ามลาดภเู ขาท่ีมีความลาดเอยี งสงู หรอื เปน็ หน้าผา 3) มีชั้นหินที่รองรับชั้นดินเป็นหินชนิดที่ผุง่าย 4) ควรทาลายหรอื ขนยา้ ยเศษก่ิงไม้ ตน้ ไมแ้ ห้งทถี่ ูกพดั มาขวางทางน้า 5) ควรทาการอพยพประชาชนท่ีตั้งบ้านเรือนกีดขวางทางน้าขึ้นไปอยู่บนเนิน หรอื ทส่ี ูงชวั่ คราว โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเมอ่ื มกี ารเตือนภัยว่าจะเกิดฝนตกหนกั ตดิ ตอ่ กัน 6) จดั ต้ังกลมุ่ เครือขา่ ยเฝ้าระวังและแจง้ เหตุแผ่นดินถล่ม 7) จัดทาแผนการอพยพแผนการช่วยเหลือและฟ้ืนฟูผู้ประสบภัย และควร ฝึกซ้อมตามแผนการอพยพในโอกาสท่เี ส่ียงจะเกิดแผ่นดนิ ถลม่ 4.1 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ดินโคลนถล่ม ผู้มีความเส่ียงประสบเหตุ ดนิ โคลนถลม่ ควรปฏิบัติตน ดังนี้ ดินโคลน 4.1.1 สังเกตลักษณะบริเวณโดยรอบท่ีตั้งของชุมชนและบริเวณท่ีเส่ียงภัยจาก 1) อยตู่ ิดกบั ภเู ขาและใกลล้ าห้วย 2) มีร่องรอยดนิ ไหล หรอื ดนิ เลอื่ นบนภเู ขา 3) มีรอยแยกของพ้นื ดนิ บนภูเขา 4) อยบู่ นเนินหน้าหบุ เขาและเคยมีโคลนถล่มลงมาบ้าง ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 58

5) ถูกนา้ ปา่ ไหลหลากและนา้ ท่วมบ่อย 6) มีกองหิน เนินทรายปนโคลนและต้นไม้ในหว้ ยหรอื ใกล้หมูบ่ ้าน 4.1.2 สงั เกตและเฝา้ ระวงั นา้ และดนิ 1) มีฝนตกหนักถึงตกหนักมากตลอดท้ังวนั 2) ปริมาณนา้ ฝนมากกว่า 100 มลิ ลเิ มตรตอ่ วัน 3) มีเสียงดังผิดปกติบนภูเขาและในลาห้วย เนื่องจากการถล่มและเล่ือน ไหลของน้า ดนิ และตน้ ไม้ 4) ระดับน้าในลาหว้ ยสงู ข้นึ อย่างรวดเรว็ และมีน้าไหลหลากล้นตล่ิง 5) สีของนา้ ขนุ่ ขน้ และเปล่ียนเปน็ สดี นิ ของภูเขา 6) มีเศษของต้นไม้ขนาดเล็กไหลมากบั น้า 4.1.3 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณด์ นิ โคลนถลม่ 1) ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศทางสถานีวิทยุ กระจายเสยี งทอ้ งถน่ิ หรือเสยี งตามสาย หอกระจายขา่ วประจาหมบู่ า้ นอย่างใกล้ชิด 2) จัดเตรียมอาหาร น้าด่ืม ยารักษาโรค และอุปกรณ์ฉุกเฉินท่ีจาเป็น ต้องใชเ้ มือ่ ประสบเหตุ 3) ซักซ้อมแผนการอพยพ แผนการช่วยเหลือและฟ้ืนฟูผู้ประสบภัย แผน่ ดินถลม่ 4) หากมีการติดตั้งอุปกรณ์สาหรับเตือนภัยไว้ในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องหรือผู้ท่ีมีความเสี่ยงประสบเหตุ ควรหม่ันตรวจสอบอุปกรณ์แจ้งเตือนภัยให้อยู่ในสภาพ ท่ีสมบูรณพ์ รอ้ มใชง้ านอยเู่ สมอ 5) หากสังเกตแล้วพบว่า มีความเสี่ยงในการเกิดดินโคลนถล่ม ควรทา การอพยพออกจากพ้ืนทีท่ ่มี คี วามเส่ยี ง หรอื อยใู่ นบรเิ วณท่ปี ลอดภยั 6) แจ้งสถานการณ์ที่เกิดขึ้นให้กับเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้อง หรือผู้นาชุมขน ให้ทราบโดยเร็ว เพื่อแจ้งเตือนภัยให้ผู้ที่มีความเสี่ยงประสบเหตุรายอ่ืน ๆ ได้ทราบอย่างท่ัวถึง และเตรียมความพรอ้ มได้อยา่ งทนั ท่วงที ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 59

4.2 การปฏิบตั ขิ ณะเกดิ ดนิ โคลนถล่ม ผู้ประสบเหตดุ นิ โคลนถลม่ ควรปฏบิ ตั ติ น ดงั น้ี 4.2.1 ต้ังสติ แลว้ รวบรวมอปุ กรณฉ์ กุ เฉนิ ท่จี าเปน็ ต้องใชเ้ ม่อื ประสบเหตุ 4.2.2 ทาการอพยพออกจากพื้นที่เส่ียง หรืออยู่ในบริเวณที่ปลอดภัย หลีกเลี่ยง เสน้ ทางทีม่ แี นวการไหลของดนิ และเสน้ ทางทกี่ ระแสนา้ ไหลเชี่ยว 4.2.3 แจ้งสถานการณ์เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้อง ผู้นาชุมขนให้ทราบเพื่อแจ้งเหตุ และเตรยี มการช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย ตามแผนการชว่ ยเหลอื และฟนื้ ฟูผูป้ ระสบภัยแผ่นดนิ ถลม่ 4.3 การปฏิบัติหลังเกดิ ดินโคลนถล่ม ผ้ปู ระสบเหตดุ นิ โคลนถลม่ ควรปฏบิ ตั ติ น ดังนี้ 4.3.1 ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง ท้องถ่ิน เสยี งตามสาย หอกระจายข่าวประจาหมบู่ า้ นอยา่ งใกล้ชดิ เพอ่ื ปอ้ งกันการเกิดเหตุซ้า 4.3.2 จัดเวรยามเพื่อเดินตรวจตราดูสถานการณ์รอบ ๆ หมู่บ้านเพื่อสังเกต ส่ิงผิดปกติ ห้ามเข้าใกลบ้ รเิ วณที่เกิดดนิ โคลนถลม่ หรือบ้านเรอื นทไี่ ดร้ บั ความเสียหาย แ ละ ติ ด ต้ั ง ป้ายเตือนว่าพ้ืนที่ใดปลอดภัยและพื้นที่ใดเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มซ้า พร้อมเร่งระบายน้าออกจาก บรเิ วณทีด่ นิ ถลม่ ใหม้ ากทีส่ ุด 4.3.3 ตดิ ตอ่ ขอรบั ความช่วยเหลือและฟืน้ ฟูจากบุคคลหรือหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ชดุ วิชาการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 60

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ไฟป่า สาระสาคัญ ไฟป่า เป็นภัยพิบัติอย่างหนึ่งท่ีเกิดขึ้นในประทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาเร้ือรังมานาน และทวี ความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ในทุกปี ไฟป่าเกิดข้ึนท่ีใดก็จะส่งผลกระทบและสร้างความเสียหาย แก่ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องป่า และส่งิ แวดลอ้ มอย่างมาก ย่งิ กวา่ สาเหตอุ ืน่ ๆ เพราะไฟปา่ สามารถ ลุกลามไหม้ทาลายพ้ืนที่จานวนมากได้ในเวลาอันรวดเร็ว ย่ิงไปกว่าน้ัน ไฟป่าท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่หน่ึง ๆ ไม่เพียงแต่จะก่อความเสียหายแก่พ้ืนที่น้ันเท่านั้น แต่จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวมด้วย ซ่ึงเป็นความจาเป็นที่ทุกคนต้องเรียนรู้และเข้าใจถึงลักษณะของการเกิดไฟป่า สถานการณ์ความ รุนแรง และผลกระทบท่ีตามมา ตลอดจนการควบคุมและร่วมมืออย่างจริงจังในการป้องกันไม่ให้ เกดิ ไฟป่าขึ้น ตวั ชว้ี ดั 1. บอกความหมายของไฟป่า 2. บอกสาเหตุและปจั จยั การเกิดไฟป่า 3. บอกชนดิ ของไฟป่า 4. บอกผลกระทบทเี่ กดิ จากไฟปา่ 5. บอกฤดกู าลการเกดิ ไฟปา่ ในแตล่ ะพ้ืนที่ของประเทศไทย 6. บอกสถานการณ์ไฟป่าในประเทศไทย 7. บอกสถิตกิ ารเกิดไฟป่าของประเทศไทย 8. บอกวธิ กี ารเตรยี มพร้อมรบั สถานการณ์การเกดิ ไฟป่า 9. บอกวธิ ีการปฏิบัตเิ กิดขณะเกดิ ไฟป่า 10. บอกวิธกี ารปฏิบตั ิหลงั เกิดไฟป่า ชดุ วิชาการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 61

ขอบข่ายเนอ้ื หา เรื่องที่ 1 ความหมายของไฟปา่ เรอื่ งท่ี 2 ลักษณะการเกดิ ไฟปา่ 2.1 สาเหตุและปัจจัยการเกิดไฟป่า 2.2 ชนดิ ของไฟปา่ 2.3 ผลกระทบท่ีเกดิ จากไฟป่า 2.4 ฤดกู าลเกิดไฟป่าในแตล่ ะพน้ื ทีข่ องประเทศไทย เร่อื งที่ 3 สถานการณ์และสถติ กิ ารเกิดไฟปา่ เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการป้องกนั และการแก้ไขปญั หาทเี่ กิดจากไฟป่า 4.1 การเตรยี มความพรอ้ มเพือ่ ปอ้ งกันการเกิดไฟป่า 4.2 การปฏบิ ตั ขิ ณะเกิดไฟป่า 4.3 การปฏบิ ัติหลงั เกิดไฟปา่ เวลาทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา 10 ชวั่ โมง สอื่ การเรียนรู้ 1. ชุดวิชาการเรยี นรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 2. สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1 3. วิดีทัศนส์ าเหตุการเกิดไฟป่า ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 62

เร่ืองที่ 1 ความหมายของไฟป่า ไฟป่า เป็นไฟท่ีเกิดข้ึนตามพ้ืนที่ในป่าท่ัวไป สามารถเกิดขึ้นได้ทุกภาคของประเทศ และทั่วโลก ทั้งน้ีไฟป่าอาจเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในฤดูแล้งมักเกิดไฟป่าข้ึนในหลาย ๆ พื้นที่ เมื่อมีไฟป่าเกิดขึ้นบริเวณใด ก็จะสร้างความ เสียหายให้บริเวณน้ัน และอาจลุกลามไปยังพ้ืนท่ีอื่น จนเกิดความเสียหายบริเวณกว้าง และส่งผล กระทบต่อสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ไฟป่า นับเป็นภัยพิบัติอันร้ายแรงท่ีเป็นเสมือนฝันร้ายของท้ังสัตว์ป่าน้อยใหญ่ รวมถึงป่าไม้ และมวลมนุษยชาติ เพราะเม่ือไฟป่ามอดดับลงคงหลงเหลือแต่สภาพความเสียหายอันประมาณ ค่าไม่ได้และเกิดปญั หาตามมาอีกมากมาย ความหมายของไฟปา่ โดยสรปุ คือ ไฟท่เี กิดจากสาเหตอุ ันใดก็ตาม แลว้ เกิดการลกุ ลาม ไปไดโ้ ดยอิสระปราศจากการควบคมุ ทั้งน้ีไม่ว่าไฟน้ันจะเกิดข้นึ ในป่าธรรมชาติหรอื สวนป่ากต็ าม ไฟป่าในลกั ษณะต่าง ๆ ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 63

เรือ่ งท่ี 2 ลักษณะการเกดิ ไฟปา่ 2.1 สาเหตแุ ละปัจจยั การเกิดไฟป่า สาเหตแุ ละปจั จัยทท่ี าให้เกิดไฟป่า มาจาก 2 สาเหตุ คือ เกิดจากธรรมชาติ และเกดิ จากการกระทาของมนุษย์ อย่างไรก็ตามสาหรับในประเทศไทย ยังไม่พบไฟป่าท่ีเกิดโดยความร้อน ตามธรรมชาติ ส่วนใหญ่เกิดจากฝีมือของคนหรือมนุษย์ท้ังส้ิน มนุษย์จึงเป็นต้นเหตุของไฟป่า ที่สาคญั ย่งิ 2.1.1 ไฟป่าท่ีเกิดจากธรรมชาติ ไฟป่าที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เช่น จากฟ้าผ่า กิ่งไม้เกิดการเสียดสีกนั ปฏกิ ิริยาเคมีในดินปา่ พรุ เปน็ ตน้ ลกั ษณะของไฟปา่ ทเ่ี กิดจากฟ้าผา่ ไฟป่าที่เกิดจากก่ิงไม้เสียดสีกัน อาจเกิดขึ้นได้ในพ้ืนท่ีป่าท่ีมีไม้ขึ้นอยู่อย่าง หนาแนน่ และมีสภาพอากาศแห้งจดั เชน่ ในป่าไผห่ รือปา่ สน 2.1.2 ไฟป่าที่มีสาเหตุจากมนุษย์ ไฟป่าที่เกิดในประเทศกาลังพัฒนาในเขตร้อน ส่วนใหญ่จะมีสาเหตุมาจากกิจกรรมของมนุษย์ สาหรับประเทศไทยจากการเก็บสถิติไฟป่า ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2528 - 2542 ซ่ึงมีสถิติไฟป่า ทั้งส้ิน 73,630 คร้ัง พบว่า เกิดจากสาเหตุตามธรรมชาติ คือ ฟ้าผ่าเพียง 4 ครั้งเท่านั้น คือเกิดที่ภูกระดึง จังหวัดเลย ที่ห้วยน้าดัง จังหวัดเชียงใหม่ ชดุ วิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 64

ท่ีท่าแซะ จังหวัดชุมพร และท่ีเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา แห่งละหนึ่งคร้ัง ดังน้ัน จึงถือได้ว่า ไฟปา่ ในประเทศไทยท้ังหมด เกดิ จากการกระทาของมนษุ ย์ โดยมีสาเหตุต่าง ๆ กันไป ไดแ้ ก่ 1) ไฟป่าท่ีเกิดจากการเผาหญ้า เศษวัสดุ เศษพืชผลทางการเกษตร นบั เปน็ สาเหตสุ าคญั ประการหน่งึ ท่ลี ุกลามเป็นไฟปา่ ได้ การเผาเศษพชื ผลทางการเกษตร 2) การเผาขยะมูลฝอยและวัสดเุ หลือใชใ้ นชุมชน คนในชุมชนบางคนอาศัย ความสะดวก มักนาขยะหรือเศษวัสดุที่เหลือใช้มาเผาในหมู่บ้านหรือในชุมชน อาจเป็นสาเหตุหน่ึง ทีท่ าให้เกิดไฟไหม้ลกุ ลามได้ การลกุ ลามของไฟป่าจากจดุ เล็ก ๆ 3) เก็บหาของป่า เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดไฟป่ามากท่ีสุด การเก็บหาของป่า ส่วนใหญ่ ได้แก่ ไข่มดแดง เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้าผึ้ง ผักหวาน และไม้ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่ เพื่อให้พ้ืนป่าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือ จุดไฟเพ่ือกระตุ้นการงอกของเห็ดหรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือจุด เพ่ือไล่ตัวมดแดงออกจากรงั รมควันไล่ผึ้ง หรือไล่แมลงต่าง ๆ ในขณะท่อี ยู่ในป่า ชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 65

4) เผาไร่ เป็นสาเหตุท่ีสาคัญรองลงมา การเผาไร่ก็เพื่อกาจัดวัชพืชหรือ เศษซากพืชที่เหลืออยู่ภายหลังการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบต่อไป โดยปราศจากการทาแนวกันไฟ และปราศจากการควบคุม ไฟจึงลุกลามเข้าป่าที่อยู่ในบริเวณ ใกลเ้ คยี ง 5) แกล้งจดุ ในกรณีท่ปี ระชาชนในพนื้ ทีม่ ปี ญั หาความขัดแย้งกบั หน่วยงาน ของรัฐในพ้ืนที่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงปัญหาเกิดจากเร่ืองท่ีทากินหรือถูกจับกุมจากการกระทาผิด ในเรื่องป่าไม้ ก็มักจะหาทางแก้แค้นเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาป่า ซ่ึงอาจจะเป็นการกระทาทั้งที่ต้ังใจ หรอื ไมต่ ัง้ ใจก็ตาม 6) ความประมาท เกิดจากการเข้าไปพักแรมในป่า ก่อกองไฟเพ่ือให้เกิด ความอบอ่นุ หรอื ป้องกนั สัตว์ร้ายแล้วลืมดบั หรอื ท้ิงก้นบหุ ร่ีลงบนพ้นื ปา่ เป็นตน้ 7) ล่าสัตว์ โดยใช้วิธีไล่เหล่า คือ จุดไฟไล่ให้สัตว์หนีออกจากท่ีซ่อน หรือ จดุ ไฟเพ่ือให้แมลงบนิ หนีไฟ นกชนดิ ตา่ ง ๆ จะบินมากนิ แมลง แลว้ ดกั ยิงนกอกี ทอดหนงึ่ หรอื จุดไฟ เผาทุ่งหญ้า เพื่อให้หญ้าแตกใบใหม่ เป็นการล่อให้สัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่น กระทิง กวาง กระต่าย หมูป่า มากินอาหาร แลว้ ดกั รอยงิ สัตว์เหลา่ นั้น 8) เลี้ยงปศุสัตว์ ประชาชนท่ีเลี้ยงสัตว์แบบปล่อยให้หากินเอง ตามธรรมชาติ มีจานวนไม่น้อยที่ทาการลักลอบจุดไฟเผาป่าให้โล่งมีสภาพเป็นทุ่งหญ้า เพื่อเป็น แหล่งอาหารของสัตวท์ ต่ี นเองเลีย้ งไว้ 9) ความคึกคะนอง บางครั้งการจุดไฟเผาป่าเกิดจากความคึกคะนอง ของผู้จุด โดยไมม่ ีไมม่ จี ุดประสงคใ์ ด ๆ แต่เป็นการจดุ เล่นเพอ่ื ความสนกุ สนานเทา่ นั้น 10) การเผาวัชพืชริมถนนหนทาง อาจลุกลามเป็นบริเวณกว้างจนกลายเป็น ไฟป่าที่เผาผลาญทาลายบา้ นเรอื นและชมุ ชนได้ เจา้ หน้าทชี่ ่วยกันดับไฟจากการเผาหญา้ รมิ ถนน ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 66

2.2 ชนดิ ของไฟปา่ ไฟปา่ แบง่ ออกเปน็ 3 ชนดิ ตามลักษณะของเชือ้ เพลิงทถี่ ูกเผาไหม้ ได้แก่ 2.2.1 ไฟใต้ดิน เป็นไฟท่ีไหม้อินทรียวัตถุที่สะสมอยู่ในดิน ลุกลามไปช้า ๆ ใต้ผิวดิน ไม่มีเปลวไฟปรากฏให้เห็นชัดเจน และมีควันให้เห็นน้อยมาก ฉะนั้นไฟใต้ดินจึงเป็นไฟท่ีตรวจพบ หรือสงั เกตพบได้ยากทสี่ ดุ และเปน็ ไฟทีม่ ีอตั ราการลุกลามช้าท่ีสุด แต่สรา้ งความเสียหายให้แก่พ้ืนท่ี ป่าไม้มากท่ีสุด เพราะไฟจะไหม้ทาลายรากไม้ ทาให้ต้นไม้ใหญ่น้อยท้ังป่าตายในเวล าต่อมา ยงิ่ ไปกวา่ นัน้ ยงั เปน็ ไฟทีค่ วบคมุ ไดย้ ากท่สี ดุ อีกด้วย ไฟใตด้ ินยงั สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ 1) ไฟใต้ดินสมบูรณ์แบบ คือ ไฟท่ีไหม้อินทรียวัตถุอยู่ใต้ผิวพื้นป่าจริง ๆ ดังนั้นเม่ือยืนอยู่บนพื้นป่าจึงไม่สามารถตรวจพบไฟชนิดน้ีได้ หากจะตรวจให้ได้ผลต้องใช้เครื่องมือ พิเศษ เชน่ เคร่อื งตรวจจับความร้อนเพ่ือตรวจหาไฟชนิดน้ี ตัวอยา่ งทเ่ี ห็นได้อย่างชัดเจนของไฟใต้ดิน สมบรู ณ์แบบ คือ ไฟท่ไี หมช้ ้ันถ่านหินใตด้ นิ ลกั ษณะไฟใตด้ ิน 2) ไฟกึ่งผิวดินกึ่งใต้ดิน ได้แก่ ไฟที่ไหม้ในแนวระนาบไปตามผิวพ้ืนป่า เช่นเดียวกับไฟผิวดิน ในขณะที่อีกส่วนหน่ึงจะไหม้ในแนวดงิ่ ลึกลงไปในช้ันอินทรียวัตถใุ ต้ผิวพืน้ ป่า ซ่งึ อาจไหมล้ ึกลงไปได้หลายฟุต ไฟชนิดนี้สามารถตรวจพบได้โดยงา่ ยเช่นเดียวกับไฟผิวดนิ ท่ัว ๆ ไป แต่การดับไฟจะต้องใช้เทคนิคการดับไฟผิวดินผสมผสานกับเทคนิคการดับไฟใต้ดิน จึงจะสามารถ ควบคุมไฟได้ ตัวอย่างของไฟชนิดน้ี ได้แก่ ไฟท่ีไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ ในจังหวัด นราธิวาส ของประเทศไทย ชุดวชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 67

ไฟก่ึงผวิ ดินกง่ึ ใตด้ นิ ในป่าพรุจังหวดั นราธิวาส 2.2.2 ไฟผิวดนิ เปน็ ไฟท่ไี หม้เช้ือเพลงิ บนพน้ื ดิน ได้แก่ ใบไม้ กิ่งไม้แห้งทต่ี กสะสม อยู่บนพื้นป่า หญ้า ลูกไม้เล็ก ๆ ไม้พื้นล่าง กอไผ่ ไม้พุ่มต่าง ๆ ไฟชนิดน้ีลุกลามอย่างรวดเร็ว ความรุนแรงของไฟผวิ ดนิ จะขึน้ อย่กู ับชนดิ และประเภทของเชอ้ื เพลิง ไฟป่าทเี่ กดิ ข้นึ ในประเทศไทย ส่วนใหญ่เปน็ ไฟผวิ ดิน ลกั ษณะของไฟผิวดนิ ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 68

2.2.3 ไฟเรือนยอด คือ ไฟที่ไหม้ลุกลามจากยอดของต้นไม้หรือไม้พุ่มต้นหนึ่ง ไปยังยอดของต้นไม้หรือไม้พุ่มอีกต้นหน่ึง ไฟชนิดนี้มีอัตราการลุกลามที่รวดเร็วมาก ทั้งนี้เนื่องจาก ไฟมีความรุนแรงมากและมีความสูงเปลวไฟประมาณ 10 - 30 เมตร ในบางกรณีไฟอาจมีความสูง ถึง 40 - 50 เมตร ไฟเรือนยอดโดยทว่ั ไปอาจต้องอาศัยไฟผวิ ดนิ เปน็ สื่อในการลุกไหม้ ลกั ษณะไฟเรอื นยอดทพี่ บเหน็ โดยทัว่ ไป ไฟเรอื นยอดแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ยอ่ ย ได้แก่ 1) ไฟเรือนยอดท่ีต้องอาศัยไฟผิวดินเป็นส่ือ คือ ไฟเรือนยอดท่ีต้องอาศัย ไฟท่ีลุกลามไปตามผิวดิน เป็นตัวนาเปลวไฟข้ึนไปสู่เรือนยอดของต้นไม้อื่นที่อยู่ใกล้เคียง ลักษณะ ของไฟชนดิ น้ี จะเห็นไฟผวิ ดินลุกลามไปก่อนแล้วตามดว้ ยไฟเรอื นยอด 2) ไฟเรือนยอดท่ีไม่ต้องอาศัยไฟผิวดิน มักเกิดในป่าท่ีมีต้นไม้ที่ติดไฟ ได้ง่ายและมีเรือนยอดแน่นทึบติดต่อกัน การลุกลามจะเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง จากเรือน ยอดหนึ่งไปสู่อีกเรือนยอดหน่ึงที่อยู่ข้างเคียงได้โดยตรง จึงทาให้เกิดการลุกลามไปตามเรือนยอด อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ในขณะเดียวกันลกู ไฟจากเรือนยอดจะตกลงบนพ้ืนป่า กอ่ ให้เกดิ ไฟผิวดนิ ไปพร้อม ๆ กนั ดว้ ย 2.3 ผลกระทบทเ่ี กิดจากไฟปา่ ไฟป่าท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีหนึ่ง ๆ ไม่เพียงแต่จะก่อความเสียหายแก่พ้ืนที่เท่าน้ัน แต่จะ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศโดยรวมของโลกหลายด้าน เช่น เป็นผลเสียต่อสังคม พืช ผลเสียต่อดิน ผลเสียต่อทรัพยากรน้า ผลเสียต่อสัตว์ป่าและสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ในป่า ผลเสียต่อ ชีวติ และทรพั ย์สินของมนษุ ย์ และผลเสยี ต่อสภาวะอากาศของโลก ซ่งึ ผลเสียหายดงั กล่าว มดี ังนี้ ชุดวชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 69

2.3.1 ผลเสียของไฟป่าต่อสังคมพืช เมื่อมีไฟป่าเกิดข้ึน จะทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลงด้านโครงสร้างของป่า โดยเฉพาะพ้ืนท่ีป่าที่ถูกไฟไหม้ซ้าซากเป็นประจาทุกปี จะมีผล ทาให้โครงสร้างของป่าเปลี่ยนแปลงไป ต้นไม้จะถูกไฟไหม้ตายหมด พ้ืนท่ีป่าจะคงเหลือแต่ พชื ทีป่ รับตวั ได้ดี เช่น หญ้าคา จนสภาพปา่ จะกลายเป็นทงุ่ หญ้า 2.3.2 ผลเสียของไฟป่าต่อดิน ความร้อนจากการเผาผลาญของไฟป่าทาให้พนื้ ดนิ เสื่อมความอุดมสมบูรณ์ หน้าดินทเ่ี ปดิ โลง่ ทาให้ดินสูญเสียความชนื้ นอกจากน้ีจลุ ินทรีย์ที่อาศัยอยู่ ในดินถูกทาลาย ดินปราศจากแร่ธาตุอาหาร ไม่สามารถท่ีจะเอื้ออานวยประโยชน์ต่อการดารงชีพ ของพืชอีกตอ่ ไป 2.3.3 ผลเสียของไฟป่าต่อทรัพยากรน้า ไฟป่าทาให้เกิดความร้อน น้าท่ีมีอยู่ จะระเหยไป เมื่อผืนป่าถูกไฟไหม้ ความสามารถในการดูดซับน้าลดลง เมื่อถึงฤดูแล้งในชั้นดินไม่มี น้าเก็บสะสมอยู่ตามช่องรูพรุนของดิน จึงไม่มีน้าไหลออกมาหล่อเลี้ยงลาน้า ทาให้เกิดภาวะ แห้งแล้ง ขาดแคลนน้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค และเพ่ือการเกษตร ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต ความเป็นอยขู่ องมนุษย์ 2.3.4 ผลเสียของไฟป่าต่อสัตว์ป่าและส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ป่า สัตว์เล็กที่หากินอยู่บนพื้นป่าจะถูกควันไฟรมและถูกไฟคลอกตาย นอกจากน้ีไฟป่ายังทาลาย และเปล่ียนแปลงสภาพแหล่งท่ีอยู่อาศัยและแหล่งอาหาร ทาให้ไม่เหมาะสมต่อการดารงชีวิต ของสตั วป์ า่ อีกต่อไป 2.3.5 ผลเสียของไฟป่าต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ ไฟป่าเมื่อเกิดข้ึนแล้ว ลุกลามเข้าไหมบ้ ้านเรือน เรือกสวน ไรน่ า และทรพั ย์สนิ ของประชาชนท่ีอาศยั อยใู่ กลป้ ่า ประชาชน ไร้ที่อยู่อาศัย ล้มตาย หรือได้รับบาดเจ็บจากไฟป่า ควันไฟยังก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ ทาให้ผู้ป่วยเพิ่มมากข้ึน นอกจากนี้ป่าที่เคยเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีสวยงามก็หมดสภาพลง ส่งผลให้ จานวนนักท่องเท่ียวลดลง ทาให้ขาดรายได้จากการท่องเที่ยว เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ 2.3.6 ผลเสียของไฟป่าต่อสภาวะอากาศของโลก ไฟป่าก่อให้เกิดสภาวะเรือน กระจก ซึ่งมีผลทาให้อุณหภูมิของโลกสูงข้ึน และอุณหภูมิที่สูงขึ้นยังทาให้ระบบนิเวศของโลก เสยี สมดลุ ตามธรรมชาติ ทาใหเ้ กิดการก่อตวั ของพายุทม่ี ีความรนุ แรง ฝนตกไมส่ ม่าเสมอ ไมต่ กต้อง ตามฤดูกาล สร้างความเสียหายต่อการประกอบอาชีพและส่งผลถึงระบบเศรษฐกิจของประเทศ ทตี่ ามมาอกี ดว้ ย ชุดวิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 70

2.4 ฤดูกาลเกดิ ไฟป่าในแต่ละพ้นื ทีข่ องประเทศไทย การเกิดไฟป่ามักจะเกิดช่วงฤดูร้อน เพราะในช่วงฤดูร้อนอากาศแห้ง ต้นไม้ขาดน้า หญ้าหรือต้นไม้เล็ก ๆ อาจจะแห้งตายกลายเป็นเชื้อเพลิงได้เป็นอย่างดี การเกิดไฟป่าในแต่ละ ภูมภิ าคของประเทศไทย จะมีดงั นี้ 2.4.1 ภาคเหนือ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคมของ ทุกปี 2.4.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนพฤษภาคมของทกุ ปี 2.4.3 ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือน มนี าคม ถึงเดอื นพฤษภาคมของทกุ ปี ชุดวิชาการเรียนรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 71

เร่อื งท่ี 3 สถานการณแ์ ละสถติ ิการเกดิ ไฟปา่ การเกิดไฟปา่ ระหว่างปี 2558 - 2559 ของพน้ื ทที่ ี่เกิดไฟปา่ ข้ึนบอ่ ยครัง้ ในประเทศไทย ข้อมูลวนั ที่ 1 ต.ค. 57 - 29 ม.ิ ย. 58 ขอ้ มูลวนั ที่ 1 ต.ค. 58 - 29 ม.ิ ย. 59 จงั หวัด ดบั ไฟป่า พ้นื ท่ถี กู ไฟไหม้ ดับไฟป่า พืน้ ทถ่ี ูกไฟไหม้ (ครั้ง) (ไร่) (คร้งั ) (ไร)่ 1. เชยี งใหม่ 2. แม่ฮ่องสอน 1,179 12,611.37 1,652 23,777 3. ลาปาง 4. ลาพนู 471 3,839.50 391 4,800 5. เชยี งราย 6. พะเยา 399 2,958 469 3,454 7. แพร่ 8. นา่ น 297 3,552 321 5,262 9. ตาก 147 1,129.72 202 3,157.29 รวม 9 จังหวัด 62 428.75 131 1,400 140 1,004 140 2,201 78 934 149 1,815 258 3,869 373 8,899 3,031 30,326.34 3,828 54,765.29 ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 72

เรื่องที่ 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กิดจากไฟป่า 4.1 การเตรียมความพรอ้ มเพื่อปอ้ งกนั การเกิดไฟปา่ 4.1.1 ร่วมกันดูแลเพ่อื รกั ษาพนื้ ท่ีป่าไม้ ไมต่ ัดไม้ทาลายปา่ เพอ่ื สร้างความชุ่มชน้ื และรักษาสมดุลทางระบบนเิ วศของผนื ป่า จะชว่ ยลดความเสี่ยงตอ่ การเกิดไฟป่า 4.1.2 กาจัดวัสดทุ ่ีเปน็ เช้อื เพลงิ โดยเก็บกวาดใบไมแ้ ห้ง กิ่งไมแ้ ห้ง หรือหญา้ แหง้ ไม่ให้กองสมุ เพราะหากเกิดไฟไหม้จะเปน็ เชอื้ เพลิงท่ีทาให้ไฟลุกลามเป็นไฟป่า 4.1.3 สร้างแนวป้องกนั ไฟกันไฟลุกลามไปยังพื้นทใ่ี กล้เคียง โดยจัดทาคนั ดนิ กน้ั หรือขดุ เปน็ ร่องดนิ ล้อมรอบพ้ืนที่ จะช่วยสกัดมิให้ไฟลุกลามอย่างรวดเรว็ รวมถงึ ตรวจสอบแนวกันไฟ มิให้มีต้นไม้พาดขวาง เพราะหากเกิดไฟป่าจะทาให้เพลิงลุกลามไหม้ต้นไม้ข้ามแนวกันไฟ ส่งผลให้ ไฟป่าขยายวงกวา้ งขนึ้ 4.1.4 งดเว้นการเผาขยะหรือวัชพืชใกล้แนวชายป่าหรือในป่า ให้กาจัดโดย การฝงั กลบแทนการเผา เพอ่ื ลดความเสีย่ งท่ที าให้ไฟลุกลามกลายเปน็ ไฟป่า 4.1.5 ไม่เก็บหาของป่าหรือล่าสัตว์ด้วยวิธีจุดไฟหรือรมควัน เช่น การหาเห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ นา้ ผึง้ ผกั หวานป่า ไข่มดแดง หนู กระต่าย นก เปน็ ตน้ เพราะมคี วามเส่ียงทีไ่ ฟ จะ ลกุ ลามเปน็ ไฟป่า 4.1.6 หลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยงที่ทาให้เกิดไฟป่า ไม่ทิ้งก้นบุหรี่ลงบนพงหญ้า แหง้ หากกอ่ กองไฟควรดับไฟใหส้ นิททุกคร้ัง พร้อมจดั เตรียมถังน้าไว้ใกล้กบั บริเวณที่กอ่ ไฟ หากไฟ ลกุ ลามจะไดด้ ับไฟทนั 4.1.7 ดูแลพ้ืนที่การเกษตร โดยหม่ันตัดหญ้าและเก็บกวาดใบไม้แห้งมิให้กองสุม เพราะหากเกิดไฟไหม้ จะเป็นเช้ือเพลงิ ที่ทาให้ไฟลกุ ลามกลายเปน็ ไฟปา่ 4.1.8 เตรียมพ้ืนที่การเกษตรหรือเพาะปลูกพืชโดยวิธีฝังกลบ ไม่เผาตอซังข้าว และวชั พืชในพืน้ ท่เี กษตร เพราะจะเพ่มิ ความเสย่ี งทไ่ี ฟจะลกุ ลามกลายเป็นไฟปา่ 4.1.9 เพิ่มความระมัดระวังการจุดไฟหรือก่อกองไฟในป่าเป็นพิเศษ ไม่จุดไฟ ใกล้บริเวณที่มกี ่งิ ไม้ หญา้ แห้งกองสมุ เพราะจะเพิ่มความเสีย่ งต่อการเกดิ ไฟป่า พรอ้ มดับไฟให้สนิท ทกุ คร้ังเพ่อื ป้องกนั ไฟลุกลามเปน็ ไฟป่า ชุดวิชาการเรียนร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 73

4.2 การปฏิบัติขณะเกิดไฟป่า 4.2.1 กรณไี ม่มเี คร่ืองมอื ดบั ไฟป่า 1) กรณีท่ียังไม่มีอุปกรณ์ เครื่องมือหรือยังไม่มีเจ้าหน้าท่ีดับเพลิง จากหนว่ ยควบคมุ ไฟป่า อย่าเสย่ี งเข้าไปดับไฟ เวน้ แต่เป็นการลุกไหม้เล็กนอ้ ยของไฟท่ีเกิดจากพวก หญา้ ตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ หญา้ คา หญ้าขจรจบหรือหญา้ สาบเสือ เปน็ ต้น 2) ควรช่วยกันตัดกงิ่ ไมส้ ด ตีไฟท่ีลุกไหม้ตามบรเิ วณหัวไฟให้เชอื้ เพลิง แตก กระจาย แล้วตขี นานไปกบั ไฟปา่ ทก่ี าลงั จะเรม่ิ ลุกลาม 3) ถ้ามีรถแทร็กเตอร์ ควรไถไร่อ้อยหรือต้นข้าวให้โล่งว่าง เพื่อทาให้เป็น แนวกนั ไฟ ไม่ให้เกิดการติดตอ่ ลกุ ลามมาได้ 4.2.2 กรณีมอี ุปกรณ์ เคร่ืองมอื ดบั ไฟปา่ เครือ่ งมือพ้ืนฐานในการดับไฟป่า 1) ท่ีตบไฟ ท่ีตบไฟน้ี ส่วนหัวจะทาจากผ้าใบหนาเคลือบด้วยยาง ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร ใช้ในการดับไฟทางตรง โดยการตบคลุมลงไปบนเปลวไฟเพ่ือป้องกันไม่ให้ อากาศเข้าไปทาปฏิกิริยากับไฟ เปลวไฟก็จะดับลง เหมาะสาหรับการดับไฟท่ีไหม้เชื้อเพลิงเบา ได้แก่ หญ้า และใบไม้แหง้ เปน็ ตน้ 2) ถังฉีดน้าดบั ไฟ อาจเป็นถงั ประเภทถังแข็งคงรปู หรอื ถังออ่ นพบั เก็บได้ ใช้สาหรับฉีดลดความร้อนของไฟในการดับไฟทางตรง เพ่ือให้เคร่ืองมือดับไฟป่าชนิดอ่ืนสามารถ เข้าไปทางานที่ขอบของไฟได้ นอกจากน้ียังใช้ฉดี ดบั ไฟที่ยังคงเหลืออยู่ในโพรงไม้ ในรอยแตกของไม้ หรือในฐานกอไผ่ ที่เครอื่ งมอื อน่ื เข้าไปไม่ได้ 3) ครอบไฟป่า ลักษณะของครอบไฟป่าด้านหนึ่งจะเป็นจอบ อีกด้านหนึ่ง เป็นคราด ใช้ในการทาแนวกันไฟ โดยใช้ด้ามท่ีเป็นจอบในการถากถาง ขุด สับ ตัด เช้ือเพลิงที่เป็น วัชพืช จากนัน้ จงึ ใช้ดา้ นที่เป็นคราด คราดเอาเชอื้ เพลิงเหล่านอี้ อกไปทิ้งนอกแนวกนั ไฟ ชุดวิชาการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 74

ท่ีตบไฟ ถังฉดี น้าสาหรับดบั ไฟ ครอบไฟปา่ 4) พลัว่ ไฟปา่ ตัวพลวั่ ปลายจะเรียวแหลมและมคี มสามด้านใชข้ ดุ ตดั ถาก ตกั และสาด ตบไฟ รวมท้ังใชใ้ นการขุดหลุมบคุ คลสาหรบั เป็นท่ีหลบกาบงั จากไฟปา่ ในกรณีฉุกเฉิน 5) ขวานขุดไฟป่าหรือพูลาสกี้ หัวเป็นขวานอีกด้านหนึ่งเป็นจอบหน้าแคบ ใช้ในการขุดร่องสนาม เพ่ือเป็นแนวกันไฟในการดับไฟกึ่งผิวดินกึ่งใต้ดิน โดยการใช้ด้านที่เป็นจอบ หนา้ แคบในการขุดดินและเชื้อเพลงิ ในขณะทีด่ า้ มทีเ่ ปน็ ขวานใชใ้ นการตัดรากไมท้ ี่สานกนั แน่น 6) คบจุดไฟ ใช้เป็นเคร่ืองมือในการจุดไฟ เพ่ือชิงเผากาจัดเชื้อเพลิงหรือ ใชใ้ นการจุดไฟเผากลับในการดับไฟด้วยไฟ พล่ัว ขวานขดุ ไฟป่า คบจดุ ไฟ 4.3 การปฏบิ ตั ิหลงั เกดิ ไฟป่า 4.3.1 ตรวจดบู ริเวณทีย่ งั มไี ฟคุกรนุ่ เม่ือพบแลว้ จดั การดับใหส้ นทิ 4.3.2 ค้นหาและช่วยเหลือคน สัตวท์ หี่ นไี ฟออกมาและไดร้ บั บาดเจ็บ 4.3.3 ระวงั ภัยจากสตั วท์ ีห่ นีไฟป่าออกมา จะทาอนั ตรายแก่ชีวติ และทรพั ยส์ นิ ได้ 4.3.4 ทาการปลกู ป่าทดแทน ปลูกพชื คลุมดนิ ปลูกไม้โตเรว็ ชุดวชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 75

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 หมอกควัน สาระสาคญั หมอกควัน เป็นปัญหาสาคัญอย่างหน่ึงของประเทศไทยที่มักเกิดข้ึนในช่วงหน้าแล้ง สาเหตุของการเกิดหมอกควัน คือ ไฟป่า การเผาพ้ืนท่ีทางการเกษตร การเผาขยะ ฝุ่นควัน จากคมนาคมในเมืองใหญ่ และโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ปัจจัยที่ทาให้ปัญหาหมอกควัน รุนแรงขึ้น คือ การเผาทั้งภายในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน สภาพภูมิประเทศ และสภาพ ภูมิอากาศ ปัญหาหมอกควันส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชน และส่งผลกระทบดา้ น เศรษฐกิจและการคมนาคม ผู้ท่ีอยู่ในพื้นที่ท่ีต้องเผชิญกับสภาวะปัญหาหมอกควันจึงควรรู้จักวิธี เตรยี มความพรอ้ มเพอื่ รับมอื และรจู้ ักวธิ ีปฏบิ ตั ติ นทถี่ ูกต้อง ตวั ชว้ี ัด 1. บอกความหมายของหมอกควัน 2. บอกสาเหตแุ ละปัจจัยการเกิดหมอกควนั 3. บอกผลกระทบทเ่ี กิดจากหมอกควนั ได้ 4. บอกสถานการณห์ มอกควันในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 5. บอกวิธกี ารเตรยี มความพรอ้ มรับสถานการณ์การเกิดหมอกควัน 6. บอกวิธีปฏิบตั ิขณะเกดิ หมอกควนั ขอบขา่ ยเน้ือหา เรือ่ งท่ี 1 ความหมายของหมอกควนั เร่ืองท่ี 2 ลักษณะการเกดิ หมอกควนั 2.1 สาเหตุและปจั จัยการเกดิ หมอกควนั 2.2 ผลกระทบทเ่ี กดิ จากหมอกควัน เร่ืองท่ี 3 สถานการณห์ มอกควนั ในประเทศไทย 3.1 สถานการณห์ มอกควันในภาคเหนือ 3.2 สถานการณ์หมอกควนั ในภาคใต้ ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 76

เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกันและแก้ปัญหาหมอกควนั 4.1 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์การเกิดหมอกควัน 4.2 การปฏิบตั ขิ ณะเกดิ หมอกควัน 4.3 การปฏบิ ัตติ นหลงั เกิดหมอกควัน เวลาทีใ่ ช่ในการศกึ ษา 10 ชั่วโมง สื่อการเรยี นรู้ 1. ชดุ วชิ าการเรยี นร้สู ูภ้ ยั ธรรมชาติ 1 2. สมุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ประกอบชุดวิชาการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3. เวบ็ ไซต์ 4. ส่ือสง่ิ พิมพ์ เช่น แผน่ พบั โปสเตอร์ ใบปลิว เป็นต้น 5. ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน / ปราชญ์ชาวบ้าน ชดุ วิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 77

เร่ืองท่ี 1 ความหมายของหมอกควัน หมอกควัน (Haze, Smog) คือ ปรากฏการณ์ท่ีฝุ่น ควัน และอนุภาคแขวนลอยในอากาศ รวมตัวกันในสภาวะทีอ่ ากาศปดิ หมอกควันเกินข้ึนได้ง่ายในสภาพอากาศแห้ง แตกต่างจากหมอกที่สภาพอากาศต้องมี ความช้ืนสูงพอ หมอกควันจัดเป็นมลพิษทางอากาศอย่างหนึ่งในบรรดาสารต่าง ๆ ท่ีปะปนอยู่ใน อากาศ เร่อื งที่ 2 ลักษณะการเกดิ หมอกควนั หมอกควัน จัดได้ว่าเป็นมลพิษทางอากาศท่ีสาคัญ เป็นฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM 10) ซึง่ มีผลกระทบต่อสุขภาพ เปน็ ผลผลิตของกระบวนการเผาไหม้ หรือสันดาปทไี่ ม่ สมบูรณ์ ซงึ่ เป็นตน้ กาเนิดของสารมลพิษทางอากาศ 2.1 สาเหตแุ ละปจั จัยการเกดิ หมอกควัน 2.1.1 สาเหตขุ องการเกดิ หมอกควนั ไดแ้ ก่ 1) ไฟป่า เป็นสาเหตุท่ีสาคัญท่ีทาให้เกิดหมอกควัน เนื่องจากการเผาไหม้ เศษไม้ เศษใบไม้ เศษวัชพืช ฯลฯ ทาให้เกิดเป็นหมอกควันปกคลุมอยู่ในบริเวณท่ีเกิดไฟป่าและ พนื้ ทใี่ กล้เคยี ง เมื่อมกี ระแสลมจะทาให้หมอกควนั การกระจายไปยังพื้นทอี่ ื่น หมอกควันที่เกดิ จากไฟป่า โดยท่ัวไปแลว้ ไฟป่าเกิดจาก 2 สาเหตุ คอื (1) เกดิ จากธรรมชาติ เช่น ฟ้าผ่า ก่ิงไมเ้ สียดสี ภเู ขาไฟระเบดิ กอ้ นหิน กระทบกัน แสงแดดตกกระทบผลึกหิน แสงแดดส่องผ่านหยดน้า ปฏิกิริยาเคมีในดินป่าพรุ การลุกไหม้ ในตัวเองของสิง่ มชี วี ิต ชดุ วิชาการเรียนรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 78

(2) เกิดจากมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นความประมาท คะนอง หรือตั้งใจ เช่น จุดไฟเผาเพื่อให้พื้นท่ีป่าโล่งเดินสะดวก การจุดไฟเพื่อล่าสัตว์ เก็บหาของป่า การจุดไฟเผาป่า เพ่ือบุกรุกครอบครองพ้ืนท่ีป่า จุดไฟเผาป่าให้โล่งมีสภาพเป็นทุ่งหญ้าเพ่ือเป็นแหล่งอาหารสัตว์ สาเหตุของการเกดิ ไฟปา่ ในประเทศไทย พบว่าสว่ นใหญ่เกดิ จากมนษุ ย์ 2) การเผาเศษวัชพืช วัสดุทางการเกษตร และวัชพืชริมทาง เช่น ซังขา้ ว ซังขา้ วโพด การเผาเศษหญ้ารมิ ทาง ฯลฯ ในจงั หวัดท่มี ีการทาการเกษตรมาก เช่น ปทมุ ธานี อยุธยา อ่างทอง ราชบุรี สระบุรี กาญจนบุรี นครสวรรค์ เชียงใหม่ ขอนแก่น จะมีปริมาณของฝุ่น ละอองในอากาศสงู ในช่วงฤดูแล้ง เนอื่ งจากสภาวะอากาศทแ่ี หง้ และนงิ่ ทาให้ฝนุ่ สามารถแขวนลอย อยู่ในบรรยากาศได้นาน และในช่วงดังกล่าว เกษตรกรจะมีการเผาเศษวัสดุทางการเกษตรเพ่ือ เตรยี มพ้ืนทส่ี าหรบั ทาการเกษตรในช่วงฤดฝู น ควันจากการเผาเศษวัชพชื วัสดุทางการเกษตร และวชั พชื ริมทาง 3) การเผาขยะจากชุมชน การเผาขยะก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน ก๊าซ และไอระเหย ซ่ึงมีผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว นอกจากน้ีในขยะทีม่ พี ลาสตกิ ปนอยหู่ ากมกี ารเผาในทโ่ี ล่งจะกอ่ ใหเ้ กิดสารกอ่ มะเร็ง ควันจากการเผาขยะทาใหเ้ กิดสารกอ่ มะเรง็ หลายชนดิ ชุดวิชาการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 79

4) การคมนาคมขนส่ง เป็นสาเหตุหน่ึงที่ทาให้เกิดปัญหามลพิษ ทางอากาศ โดยเฉพาะในเมืองทีม่ ีการใช้ยานพาหนะในการคมนาคมและขนส่งจานวนมาก 5) มลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม โดยท่ัวไปโรงงานอุตสาหกรรมนับว่า เป็นแหล่งกาเนิดของมลพิษทางอากาศท่ีสาคัญและเป็นแหล่งที่ถูกกล่าวโทษเป็นอย่างมาก สารมลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมส่วนมาก ได้แก่ ฝุ่นละออง เขม่า ควันก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ และกา๊ ซพษิ อน่ื ๆ หมอกควันจากท่อไอเสียรถยนต์ และจากโรงงานอตุ สาหกรรม 2.1.2 ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การเกิดหมอกควัน ปัจจยั ทที่ าใหก้ ารเกดิ หมอกควนั มีความ รุนแรงข้นึ ประกอบดว้ ย ปัจจยั ท่ี 1 การเผาในประเทศ ทั้งในกรณีของไฟป่า และการเผาเพ่ือ การเกษตร การเผาวชั พืชรมิ ทาง และการเผาขยะมูลฝอยในชุมชน ปจั จัยท่ี 2 การเผาท่ีเกิดบริเวณรอบ ๆ ประเทศ ซึ่งทาให้เกิดปัญหาหมอก ควันข้ามแดน นับเปน็ ปัญหาร่วมของภมู ภิ าคลมุ่ นา้ โขง และภมู ิภาคอาเซยี น ปัจจัยที่ 3 สภาพภูมิอากาศ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ ทิศทางลม ในวนั ทม่ี ีความกดอากาศสูงหรือไมม่ กี ารพดั ผ่านของลม จะทาใหห้ มอกควันลอยปกคลุม ในพ้ืนท่ยี าวนานกวา่ วันท่ีมอี ากาศแจม่ ใสหรือมลี มพัดผา่ น ปจั จยั ท่ี 4 สภาพภูมิประเทศ ภูมิประเทศที่เอื้อให้เกิดหมอกควันปกคลุม ได้แก่ พ้ืนท่ีเขตเมืองที่มีอาคารสูง พื้นท่ีแอ่งกระทะท่ีมีภูเขาล้อมรอบ หรือพื้นท่ีปิดระหว่างหุบเขา เนอ่ื งจากมภี ูเขาลอ้ มรอบอยทู่ าใหห้ มอกควนั ไม่สามารถแพรก่ ระจายไปแหลง่ อื่นได้ ชุดวชิ าการเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 80

2.2 ผลกระทบทเี่ กดิ จากหมอกควนั 2.2.1 ผลกระทบดา้ นสขุ ภาพ พ้ืนท่ีท่ีประสบปัญหาหมอกควันเป็นระยะเวลานาน จะส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพของคนในพ้ืนท่ีเป็นอย่างมาก ผู้ที่สูดหายใจในอากาศที่มีฝุ่นละอองขนาด เล็กกว่า 10 ไมครอน หรือที่เรียกว่า PM10 ในความเข้มข้นต่ออากาศท่ีสูงเกินระดับมาตรฐาน 120 ไมโครกรัม ต่อลูกบาศก์เมตรอากาศ จะเกิดอาการตั้งแต่ระดับน้อย ๆ ไปจนถึงเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ และเกิดผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาวได้ โดยฝุ่นละอองเม่ือเข้าไปถึงส่วนที่อยู่ ลึกท่ีสุดของทางเดนิ หายใจ ซงึ่ กค็ อื ถุงลม ปอด อาจเกดิ การสะสมเป็นปริมาณมากจะทาให้เกิดการ บาดเจ็บของเน้ือเยื่อปอดจนเกิดเป็นโรคปอดอักเสบได้ ซึ่งจะมีผลต่อร่างกายรุนแรงแค่ไหนข้ึนอยู่ กับเวลาที่สัมผัส อายุ ภูมิต้านทานของแต่ละคน และปริมาณฝุ่นละอองที่ได้รับ ผลกระทบด้าน สุขภาพทเ่ี กดิ กบั ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ไดแ้ ก่ 1) ระบบตา เกดิ อาการระคายเคอื งตา ตาแดง แสบตา ตาอักแสบ 2) ระบบผวิ หนัง ระคายเคอื งผิวหนัง เกิดผืน่ คันผิวหนัง 3) ระบบทางเดินหายใจ เกิดอาการระคายเคืองเย่ือบุจมูก แสบจมูก ไอ มีเสมหะ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด หายใจถ่ี และทาให้เกิดโรคหอบหืด หลอดลมอักเสบท้ัง แบบเฉยี บพลนั และเรอื้ รงั ปอดอักเสบ ถุงลมโป่งพอง 4) ระบบหลอดเลือดและหัวใจ แน่นหน้าอก เจบ็ หนา้ อก หายใจถ่ี เมือ่ ยล้า สนั่ ผิดปกติ ทาใหเ้ กดิ โรคหวั ใจเต้นผดิ จังหวะ หัวใจลม้ เหลว กลา้ มเนอ้ื หวั ใจตาย เสน้ เลือดในสมองตีบ โดยทั่วไปแล้วเม่ือร่างกายสูดดมหมอกควันเข้าส่รู ่างกายในระยะเวลาสั้น ๆ จะทาให้เกิดผลกระทบ ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 81

ต่อสุขภาพ คือ มีอาการแสบจมูก จาม ไอ ฯลฯ ซ่ึงประชาชนท่ัวไปท่ีมีสุขภาพแข็งแรงจะสามารถ ปรับตัวและฟ้ืนฟูสภาพร่างกายได้อย่างรวดเร็ว และไม่เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว แต่ใน ประชากรกลุ่มเส่ียงนั้นเมื่อสูดดมหมอกควันเข้าสู่ร่างกายอาจเกิดปัญหาต่อสุขภาพรุนแรงกว่า เช่น หายใจลาบาก มีอาการหอบหืด หัวใจเต้นแรง แน่นหน้าอก หน้ามืด เป็นลมหมดสติ ชัก และอาจ หัวใจวายเฉียบพลัน โดยประชาชนท่ีเป็นกลุ่มเส่ียงต่อการได้รับผลกระทบจากหมอกควันรุนแรง มี 4 กลุ่ม คือ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีโรคประจาตัวเกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและ หลอดเลือด โรคระบบทางเดนิ หายใจ 2.2.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ปญั หาหมอกควันและมลพิษทางอากาศ มีส่วนทา ให้รายได้เข้าสู่ภาคธุรกิจท่องเท่ียวลดลงอย่างกะทันหัน และส่งผลถึงภาวการณ์ว่างงาน ของประชาชนจานวนมากได้ นอกจากน้ีประชาชนในพ้ืนที่มีปัญหาหมอกควันท่ีได้รับผลกระทบ ด้านสุขภาพ จะตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายในการรกั ษาพยาบาลเพ่ิมมากขึน้ และขาดรายไดจ้ ากการหยดุ งาน อกี ดว้ ย 2.2.3 ผลกระทบทางดา้ นคมนาคม ปัญหาหมอกควัน ส่งผลกระทบตอ่ การจราจร ท้ังทางบกและทางอากาศ ในช่วงท่ีเกิดปัญหาหมอกควัน สายการบินจาเป็นต้องมีการงดเที่ยวบิน บางเที่ยวบิน โดยเหตุผลเพื่อความปลอดภยั ของผู้โดยสาร นอกจากน้ียังส่งผลกระทบตอ่ การสญั จร ทั้งในท้องถิน่ และบนเสน้ ทางหลวงระหว่างจงั หวดั ดว้ ย ชุดวชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 82

เรื่องที่ 3 สถานการณห์ มอกควันในประเทศไทย ปญั หาหมอกควนั ในประเทศไทย สว่ นใหญ่มกั จะอย่ใู นพ้ืนที่ภาคเหนอื ของประเทศ ในชว่ ง ฤดูแล้ง (มกราคม-เมษายน) ของทุกปี โดยเฉพาะใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัด เชียงราย พะเยา ลาปาง แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลาพูน น่านและแพร่ เนื่องจากในพื้นที่ ทางภาคเหนือจะประสบปัญหาไฟป่า และการลักลอบเผาในท่ีโล่ง เช่น การเผาเศษวัชพืชและการ เผาเศษวัสดุทางการเกษตร การเผาขยะมูลฝอยและเศษใบไม้ กิ่งไม้ในพ้ืนที่ชุมชน ประกอบกับ ภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะและมีภูเขาล้อมรอบ รวมท้ังผลกระทบจากการเผาในพ้ืนที่ ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มภูมิภาคลุ่มน้าโขง จึงทาให้เพิ่มความรุนแรงของปัญหาย่ิงขึ้น นอกจาก ในพ้ืนที่ภาคเหนือตอนบนแล้วยังพบว่าในบางพื้นท่ีของประเทศ เช่น ยะลา นราธิวาส ปัตตานี สงขลา ฯลฯ ประสบปัญหาหมอกควันเช่นเดียวกัน โดยเกิดจากปัญหาหมอกควันข้ามแดนจากไฟป่า ในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซ่ึงนอกจากจะส่งผลกระทบต่อประชาชนในประเทศ อินโดนีเชยี แลว้ ปญั หาหมอกควนั ข้ามแดนยงั สง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศเพ่ือนบ้านในภมู ิภาคอาเซียน ไดแ้ ก่ สิงคโปร์ มาเลเซยี บรไู น และประเทศไทยด้วย 3.1 สถานการณห์ มอกควันในภาคเหนือ สภาพอากาศท่เี ต็มไปด้วยหมอกควนั ในเชียงใหม่ จากข้อมูลการเฝ้าระวังค่าเฉล่ีย 24 ชั่วโมงของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ( PM1 0 ) ข อ ง ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ ก ร ะ ท ร ว ง ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม (http://aqnis.pcd.go.th) ในพ้ืนที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 30 เมษายน 2559 ข้อมูลจากแยกตามจุดตรวจวัด 17 แห่ง พบว่ามีค่าสูงเกินมาตรฐาน (ค่ามาตรฐานเท่ากับ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) อยู่ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 30 เมษายน 2559 จงั หวัดทีม่ จี านวนวันของคา่ ฝุ่นละออง PM10 เกนิ ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 83

ค่ามาตรฐานสูงสุด เรียงตามลาดับ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย มีค่าฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐานสูงสุด เท่ากับ 319 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2559 รองลงมาได้แก่ จังหวัด แม่ฮ่องสอน มีค่าฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐานสูงสุดเท่ากับ 264 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เม่ือ วันท่ี 24 มีนาคม 2559 และจังหวัดน่าน มีค่าฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐานสูงสุดเท่ากับ 238 ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศก์เมตร เมือ่ วนั ท่ี 18 เมษายน 2559 จุดตรวจวัดที่มจี านวนวนั ท่ีมีคา่ ฝุ่นละออง PM10 เกินคา่ มาตรฐานสงู สดุ ในชว่ งระยะเวลา 1 มกราคม - 30 เมษายน 2559 มากท่ีสุด คือ ที่จุดตรวจวัดท่ี ตาบลเวียงพางคา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีจานวนวันท่ีมีค่าฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน 38 วัน รองลงมาคือจุดตรวจวัดที่ ตาบลจองคา อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน มีจานวนวนั ท่มี ีค่าฝนุ่ ละอองเกินค่ามาตรฐาน 25 วนั และท่ีจุดตรวจวัด ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนวันท่ีมีค่าฝุ่นละออง เกินคา่ มาตรฐาน 23 วัน 3.2 สถานการณห์ มอกควนั ในภาคใต้ สาเหตุหลักของปัญหาหมอกควันภาคใต้ ได้แก่ มลพิษหมอกควันข้ามแดน และหมอกควันจากการเผาพ้ืนท่ีพรุในภาคใต้ของไทย เช่น ในเดือนมิถุนายน 2556 จังหวัด ในภาคใต้ตอนล่างฝ่ังอ่าวไทย ได้รับผลกระทบจากหมอกควันข้ามแดนอันมีสาเหตุจากการเผาป่า และพื้นท่ีเกษตรบริเวณตอนกลางของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทาให้เกิดหมอกควัน ปกคลุมหนาแน่น ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดควันที่เกิดข้ึนไปยังช่องแคบมะละกา ประเทศ สิงคโปร์ มาเลเซีย ทะเลจีนใต้ และภาคใต้ของประเทศไทย โดยจังหวัดท่ีได้รับผลกระทบมาก คือ จังหวัดสงขลา และนราธิวาส ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กในจังหวัดนราธิวาส สูงสุด 129 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2556 ซึ่งสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน และอยู่ใน ระดับท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพ หลังจากวันที่ 26 มิถุนายน 2556 มีฝนตกท้ังในพื้นท่ีไฟไหม้บริเวณ ตอนกลางของเกาะสุมาตรา และหลายจังหวัดในภาคใต้ตอนล่าง รวมท้ังจังหวัดนราธิวาส ทาให้ ปริมาณหมอกควันเริม่ ลดลงตามลาดบั จนคณุ ภาพอากาศในทกุ สถานีตรวจวัดของภาคใต้กลับเข้าสู่ ระดับปกติ ชดุ วิชาการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 84

สภาพหมอกควันปกคลมุ จังหวดั สงขลา จากหมอกควนั ข้ามแดนจากอินโดนีเซียในปี 2556 สถานการณ์หมอกควันภาคใต้ของประเทศไทย ในปี 2558 เกิดจากการเผาพื้นท่พี รุ ในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย อีกเช่นกัน ควันท่ีเกิดข้ึนถูกพัดพาโดยลมส่งผลกระทบ ต่อสิงคโปร์ มาเลเซีย และภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย จากข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานี ตรวจวัดคุณภาพอากาศในภาคใต้ของกรมควบคุมมลพิษ ตั้งแต่ช่วงปลายเดือนสิงหาคม 2558 ต่อเนื่องถึงต้นเดือนกันยายน 2558 พบค่าฝุ่นละออง PM10 เกินค่ามาตรฐาน สูงสุด 136 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในวันท่ี 3 กันยายน 2558 ที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สูงเกิน เกณฑ์มาตรฐานและอยู่ในระดับท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพ หลังจากน้ันปริมาณฝุ่นละอองในภาคใต้ ตอนล่างของประเทศไทยได้ลดลงจนอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เน่ืองจากมีฝนตกอย่างต่อเนื่องในพ้นื ท่ี แมว้ ่าจะยังพบการเผาและการปกคุลมของหมอกควนั เหนือเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย อย่างไรก็ตาม ต้ังแต่วันที่ 3 ตุลาคม 2558 ปริมาณน้าฝนในพ้ืนที่ภาคใต้ตอนล่าง ของประเทศไทยเริ่มลดลง ส่งผลให้หมอกควันจากสาธารณรัฐอินโดนีเซียท่ีถูกพัดมายังประเทศ มาเลเซีย ลอยขึ้นมาส่งผลกระทบกับภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยอีกคร้ัง หลายจังหวัดใน ภาคใต้เกิดสภาพฟ้าหลัว มีหมอกควันปกคลุมท่ีสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ประชาชนได้กลิ่น ควันไฟ และเกิดอาการแสบตาแสบจมูก พบการเพิ่มสูงข้ึนของฝุ่นละอองอย่างชัดเจนทุกจังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต สงขลา ยะลา นราธิวาส ปัตตานี และสตูล โดยในวันที่ 5-8 ตุลาคม 2558 พบปริมาณฝุ่นสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน และอยู่ในระดับที่มีผลกระทบต่อสุขภาพในหลาย จังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดสตูลท่ีพบปริมาณฝุ่นละอองสูงสุดถึง 210 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ทาให้ประชาชนในพ้ืนทม่ี ีเกิดผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 85

ปัญหาหมอกควันข้ามแดนในพ้ืนท่ีภาคใต้ตอนล่างของไทยอาจได้รับผลกระทบจาก หมอกควันข้ามแดนในลักษณะเป็นคร้ังคราว จากปรากฏการณ์เอลนิญโญระดับปานกลางท่ีเกิดข้ึน ในภูมิภาคน้ี ในปีพ.ศ. 2558 ทาให้หน้าแล้งของอินโดนีเซียซึ่งปกติอยู่ในช่วงเดือนกรกฎาคม- สิงหาคม อาจจะยาวนานไปจนถึงกลางเดือนตุลาคม หากภาวะแห้งแล้งเกิดติดต่อกันหลายวันโดย ไม่มีฝนตกจะเป็นปัจจัยให้เกิดการเผาป่าและพ้ืนท่ีเกษตรเพ่ิมข้ึน เม่ือประกอบกับอิทธิพลของลม มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงจะพัดพาหมอกควันเข้าสู่ประเทศท่ีอยู่ทางตอนบนของเกาะสุมาตรา ซึ่ง รวมถึงภาคใต้ของประเทศไทย กจ็ ะได้รับผลกระทบจากหมอกควันข้ามแดนด้วยเช่นกนั ชุดวิชาการเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 86

เร่ืองท่ี 4 แนวทางการป้องกนั และการแก้ไขปญั หาผลกระทบทีเ่ กดิ จากหมอกควัน 4.1 การเตรียมความพรอ้ มรบั สถานการณก์ ารเกิดหมอกควนั หมอกควัน เป็นปัญหามลพิษท่ีเกิดข้ึนเป็นประจาทุกปีและทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาคเหนือของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน แพร่ น่าน หรือเชียงราย สาเหตุหลักเกิดจากไฟป่า ฝุ่นละอองจากท้องถนน ควันจาก ภาคอุตสาหกรรม และเขม่าจากน้ามันดีเซล การเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มเพอื่ รับมอื กบั สถานการณ์หมอก ควันท่ีอาจจะเกดิ ขน้ึ นน้ั สามารถปฏิบตั ิได้ ดังน้ี 4.1.1 ทุกคนต้องร่วมมือร่วมใจกัน ลด ละ เลิก หรือหลีกเลี่ยงการเผาหรือการทา กจิ กรรมที่กอ่ ให้เกดิ ฝุน่ ควนั เพม่ิ ขนึ้ 4.1.2 หากเรามีความรู้เร่ืองปัญหาหมอกควัน ก็ควรให้ความรู้แก่ผู้อ่ืนว่าการก่อ มลพิษทางอากาศทุกชนิดโดยเฉพาะการเผา นอกจากจะบ่ันทอนสุขภาพตัวเองแล้ว ยังบั่นทอน สุขภาพของผู้อ่ืนอีกด้วย นอกจากน้ีการเผายังผิดกฎหมายอาญา มาตรา 220 อาจถูกปรับ ถงึ 14,000 บาท จาคุกถงึ 7 ปี หรอื ทั้งจาทง้ั ปรบั ได้ 4.1.3 ทกุ คนมีส่วนร่วมในการเกบ็ ใบไมก้ ง่ิ ไมเ้ พ่อื ทาป๋ยุ หมักแทนการเผา 4.1.4 พยายามลดการสร้างหรือเพ่ิมจานวนขยะ เม่ือมีขยะในครัวเรือนอาจใช้วิธี แยกขยะอย่างถูกวิธี เพอ่ื ลดปริมาณขยะทีม่ ักเป็นสาเหตุของการเผา 4.1.5 หากเราเป็นเจ้าของที่ดินควรดูแลท่ีดินของตัวเองอย่างสม่าเสมอ เช่น มีการ แผ้วถางและปลกู ตน้ ไม้ เพื่อปอ้ งกนั มิใหม้ ีการเผาเกดิ ขึ้น 4.1.6 ถ้าสามารถทาไดค้ วรปลกู ต้นไม้ใหญ่และไมพ้ มุ่ รวมท้งั ไม้ในรม่ เพิ่มมากขนึ้ 4.2 การปฏบิ ัติตนขณะเกิดหมอกควัน 4.2.1 ติดตามสถานการณ์มลพิษและหมอกควันอยู่เสมอ ดูสุขภาพและหลีกเล่ียง สถานทมี่ ีควันไฟหรือหมอกควัน 4.2.2 รกั ษาความสะอาดโดยใชน้ า้ สะอาดกลัว้ คอ แล้วบว้ นทิ้งวนั ละ 3-4 ครงั้ 4.2.3 งดเว้นการสูบบหุ ร่แี ละงดกิจกรรมการเผาทจ่ี ะเพิ่มปญั หาควนั มากขนึ้ 4.2.4 หลีกเล่ียงการออกกาลังกายและการทางานหลักท่ีต้องออกแรงมาก ในบริเวณที่มหี มอกควนั ชดุ วิชาการเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 87

4.2.5 กรณีท่ีจาเป็นต้องอยู่ในบริเวณที่มีหมอกควัน ควรสวมแว่นตา เพื่อป้องกัน การระคายเคืองตา และควรใชห้ นา้ กากอนามยั ปิดปากและจมกู หรอื ใช้ผ้าที่ทาจากฝ้ายหรือลินินมา ทบกนั หลายชั้นคาดปากและหมแู ทนหนา้ กาก และควรใช้น้าพรมทีผ่ ้าดงั กล่าวให้เปยี กหมาด ๆ เพือ่ ช่วยซับกรองและป้องกันฝุ่นละอองได้ดีข้ึน หากหน้ากากสกปรกหรือเร่ิมรู้สึกอึดอัดหายใจ ไมส่ ะดวกควรเปลี่ยนใหม่ 4.2.6 สาหรับผู้ใช้รถใช้ถนนให้เพิ่มความระมัดระวังในการเดินทาง ไม่ขับรถเร็ว เปิดไฟหน้ารถหรือไฟตัดหมอก จะช่วยให้มองเห็นเส้นทางชัดเจนข้ึน เว้นระยะห่างจากรถคันหน้า ให้มากกว่าปกติ ไม่แซงหรือเปล่ียนช่องทางกะทันหัน หากทัศนวิสัยแย่มากจนมองไม่เห็นเส้นทาง ใหจ้ อดรถในบริเวณทปี่ ลอดภัย 4.3 การปฏิบตั ติ นหลงั เกดิ หมอกควนั 4.3.1 ติดตามรับฟังข่าวสารและข้อมูลจากทางราชการอย่างใกล้ชิด เพ่ือให้เกิด ความเข้าใจและมกี ารปฏบิ ตั ิตวั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4.3.2 เม่อื มอี าการผดิ ปกติหลังจากสดู ดมหมอกควัน ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ชดุ วชิ าการเรียนร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 88

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 7 แผน่ ดนิ ไหว สาระสาคญั แผน่ ดินไหว (Earthquakes) เป็นปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่เี กดิ ขนึ้ จากการเคลอื่ นตัว ของเปลือกโลกช้ันนอกซ่ึงประกอบด้วยแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่น เม่ือแผ่นเปลือกโลก เกิดการเคลื่อนท่ีทาให้เกิดแผ่นดินไหวบนพื้นผิวโลก ซ่ึงลักษณะของการเกิดแผ่นดินไหวจะเกิดเม่อื เปลือกโลกเคลื่อนที่ออกจากกันหรือเคลื่อนที่เข้ามาชนกันจะทาให้เกิดการส่ันสะเทือนท่ีมี ความรุนแรงมากหรอื นอ้ ยแตกตา่ งกันไปตามปัจจยั และองค์ประกอบของการเกิดแตล่ ะคร้ัง ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถทานายวัน เวลา สถานที่ และความรุนแรง ของแผ่นดินไหวที่จะเกิดข้ึนในอนาคตได้ ดังนั้นจึงควรศึกษา เรียนรู้ เพ่ือให้เข้าใจถึงกระบวนการ เกิดของแผ่นดินไหว อันตรายและผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหว หากเราทราบถึงอันตราย ของแผน่ ดินไหวแล้ว เราควรมกี ารวางแผนและเตรยี มพร้อมรับมืออยู่ตลอดเวลา เพ่ือลดความเส่ียง ที่อาจจะเกิดขึน้ กับชวี ติ และทรพั ย์สิน ตัวชว้ี ัด 1. บอกความหมาย สาเหตุ ปจั จยั และผลกระทบท่เี กดิ จากแผน่ ดนิ ไหว 2. บอกพน้ื ที่เส่ยี งภยั ตอ่ การเกดิ แผ่นดนิ ไหวในประเทศไทย 3. บอกสถานการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทย 4. บอกวิธีการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์แผ่นดินไหว การปฏิบัติขณะเกิด แผน่ ดินไหว และการปฏบิ ัตหิ ลงั เกดิ แผน่ ดินไหว 5. ตระหนกั ถงึ ภยั และผลกระทบท่เี กดิ จากแผน่ ดินไหว ชุดวิชาการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 89

ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมายของแผ่นดนิ ไหว เรอ่ื งที่ 2 ลกั ษณะการเกดิ แผ่นดินไหว 2.1 สาเหตุการเกดิ แผ่นดินไหว 2.2 ปจั จัยท่ีเกย่ี วข้องกบั ระดับความเสียหายจากแผน่ ดนิ ไหว 2.3 ผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดนิ ไหว 2.4 พนื้ ทเ่ี สี่ยงภยั ตอ่ การเกดิ แผ่นดินไหวในประเทศไทย เรอ่ื งท่ี 3 สถานการณ์แผน่ ดนิ ไหวในประเทศไทย เร่อื งท่ี 4 แนวทางการปฏิบัตเิ พอื่ ปอ้ งกันและการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบท่ีเกดิ จาก แผน่ ดินไหว 4.1 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว 4.2 การปฏบิ ัติขณะเกิดแผ่นดนิ ไหว 4.3 การปฏิบตั หิ ลงั เกิดแผ่นดินไหว เวลาทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 10 ชั่วโมง สื่อการเรยี นรู้ 1. ชุดวิชาการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1 2. สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวชิ าการเรยี นรู้สูภ้ ัยธรรมชาติ 1 ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 90


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook