1 วจิ ยั ในชั้นเรยี น เรอ่ื ง การแกป้ ัญหานักเรียนที่มพี ฤตกิ รรมขาดการกล้าแสดงออก อยา่ งเหมาะสมในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม โดย นายปติ พิ ันธ์ หารปรี ครู กศน.ตำบล ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งหนองคาย สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั หนองคาย สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ
ก คำนำ การศึกษาถือว่าเป็นเรื่องที่สำคัญมากสำหรับทุกประเทศ เพราะเป็นต้นกำเนิดแห่งการพัฒนาที่ไม่หยุดย้งั ของคน การที่เราจะใช้เทคนิคหรือวิธีการสอนให้แก่เด็กเหมือนเช่นเดิม ที่ผ่านมา คงจะเป็นไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะว่าในปัจจุบันสภาพการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีมีความทันสมัยทำให้ การศึกษาสามารถเรียนรู้กันได้ข้ามประเทศ เพียงแค่คุณอยู่ที่บ้าน แม้กระทั่งการติดต่อสื่อสารก็ทำให้ได้รับข้อมูล ข่าวสารทั้งทางบวกและทางลบ ตัวอย่างที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม จึงทำให้เกิดการลอกเลียนแบบอย่างถูกตอ้ ง และไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะวัยรุ่น เป็นพฤติกรรมการกล้าแสดงออกที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการ ดำเนินชวี ติ ในสงั คมปัจจุบัน เนอ่ื งจากเปน็ ปจั จัยท่ีทำให้สามารถเผชิญกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม กล้า ฟันฝ่าอุปสรรค ปัญหา และยังทำให้เป็นบุคคลที่มีความมั่นใจในตนเอง ได้ในส่ิงที่ต้องการ และบุคคลที่พบเห็นจะ ให้เกียรติมากขึ้น จอร์นสัน (Johnson, 2004) กล่าวว่าการที่คนเราจะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปสู่พฤติกรรมการ แสดงออกนั้น จะต้องตระหนักไว้เสมอว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นจะทำให้คนใกล้ชิดหรือคนที่เกี่ยวข้อง แสดง พฤติกรรมโต้ตอบในทาทางลบต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นได้ เนื่องจากว่าถ้าเราไม่เคยมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออก แล้วไปแสดงออกเลย การเปลี่ยนแปลงนั้นยากที่ผู้ใกล้ชิดหรือคนที่เกี่ยวข้องจะยอมรับได้ เนื่องจากพวกเราจะ คนุ้ เคยกบั สงิ่ ทเ่ี ราเป็น ไดร้ ับในสงิ่ ท่ตี อ้ งการความกลัววา่ จะสูญเสียเราจากไปจากการกระทำน้นั ซ่งึ เราไมค่ วรจะย่อ ท้อหรือเปลี่ยนใจท่ีจะเปล่ยี นแปลงตัวเอง เนื่องจากเราอาจจะไม่สามารถทจี่ ะไม่ใสใ่ จคนทเ่ี รารัก หรือคนที่สำคัญใน ชีวติ ของเราได้ อยา่ งไรกต็ ามพฤติกรรมกล้าแสดงออกเปน็ คุณสมบตั ิทสี่ ามารถปลูกฝังและพฒั นาให้เกิดข้ึนได้ในตัว บุคคลให้มกี ารกลา้ แสดงออกท่ีถูกต้องและเหมาะสมได้ ทำให้บุคคลเรยี นรทู้ ี่จะเปน็ “ผู้ชนะ” ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างแทจ้ ริง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า การที่บุคคลมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ช่วยทำให้มีบุคลิกที่ดีข้ึน สามารถปรับตัว มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก กล้าพูดต่อหน้าผู้อื่น กล้าเข้าร่วมกิจกรรม ได้รับการ ยอมรับจากเพื่อน มีผลการเรียนที่ดีขึ้น และการมีพฤติกรรมที่กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมยังเป็นพื้นฐานทำให้ สามารถปรับตนเองให้อยู่ในสังคม เป็นคนเก่ง คนดี ได้อย่างมีความสุข ประสบผลสำเร็จทั้งด้านการเรียนและการ ดำเนินชีวิตประจำวันต่อไป จากสภาพปัญหาที่กล่าวข้างต้น ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาการแก้ปัญหา นักเรยี นทม่ี พี ฤตกิ รรมขาดการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในช้นั เรยี น โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ นายปิติพนั ธ์ หารปรี
ข ช่ืองานวจิ ัย การแกป้ ญั หานกั เรียนทีม่ พี ฤตกิ รรมขาดการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ชือ่ ผวู้ ิจยั ในช้นั เรยี นโดยใช้กระบวนการกลุม่ นายปิตพิ ันธ์ หารปรี บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหา นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ มีพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ัน เรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบผลของกระบวนการกลุ่มที่มีต่อพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้น เรยี น กอ่ นการใชก้ ระบวนการกลุ่มและหลงั การใชก้ ระบวนการกลุ่ม การวจิ ัยครงั้ นเี้ ป็นการแกป้ ัญหานักศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ ที่มีพฤติกรรมขาด ความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม นักศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ กศน. ตำบลหาดคำ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในการเรียนรู้ ซึ่งศึกษาโดยการสังเกตและ สอบถามนักเรยี นพบวา่ สาเหตขุ องการที่ทำใหน้ ักเรยี นไม่กล้าแสดงออกในชนั้ เรยี นนนั้ เกิดจากความขาดความมั่นใจ ในการตอบคำถาม นักเรียนไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ด้วยกลัวว่าความคิดเห็นนั้นจะผิด หรือถูก ตรงประเด็นที่ จะแสดงความคิดเหน็ หรอื ไม่ อกี ทง้ั ยังขาดความรทู้ ี่จะแสดงออก รวมท้ังความประหมา่ ในการพดู กลวั จะถกู เพ่ือน และครุหยอกลอ้ หรือตำหริ ผูว้ จิ ัยได้ดำเนินการแกไ้ ขปญั หาดังกล่าวโดยจัดการเรียนรูโ้ ดยกระบวนการกลมุ่ ผลการวิจัยพบว่าการแก้ปัญหานักศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ ที่มีพฤติกรรมขาด ความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียนรายวิชานาฏศิลป์โดยใช้กระบวนการกลุ่ม สรุปผลการวิเคราะห์ ข้อมลู ดงั น้ี 1. ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่มนักเรียนมีความกล้าแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมใน การเรียนรูท้ ัง้ 3 ดา้ น คอื ด้านการพดู ระดบั พฤตกิ รรมท่ี 4.45 ระดบั ทุกคร้ัง ด้านการกระทำ ระดบั พฤติกรรม ท่ี 4.44 ระดบั ทุกครง้ั และด้านการแสดงความคดิ เหน็ ระดับพฤติกรรม ที่ 4.35 2. ผลการจดั การเรยี นร้ดู ้วยกระบวนการกลุ่มนักเรยี นมคี วามกล้าแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในการ เรียนรู้เปรยี บเทียบก่อนการใช้กระบวนการกลุ่มทั้ง 3 ด้าน พบว่า ด้านการพูด นักเรียนมีระดับพฤติกรรมดีข้นึ ที่ ร้อยละ 64.66 ด้านการกระทำ ท่ีรอ้ ยละ 63.66 ดา้ นการแสดงความคิดเห็นท่ีร้อยละ 59.16
สารบัญ ค เรื่อง คำนำ หนา้ บทคัดย่อ ก สารบญั ข บทที่ 1 บทนำ ค ความเปน็ มาและความสำคัญ วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย 2 ขอบเขตการวิจัย 2 สมมติฐานการวิจยั 3 นิยามศพั ท์ 3 บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง 3 แนวคิดทเ่ี ก่ยี วข้องกับพฤติกรรมการกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม แนวคดิ ทเี่ กี่ยวข้องกบั กระบวนการกลุ่ม 4 งานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้อง 7 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการศึกษาค้นควา้ 13 การศึกษาเอกสาร เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ัย 14 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 14 สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวิจยั 16 การเกบ็ รวมรวมขอ้ มลู 16 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 16 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและผลการวิเคราะห์ข้อมลู 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1บทที่ สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล 21 ประโยชนข์ องการวจิ ยั 21 ภาคผนวก 22 บรรณานุกรม 24 27
1 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ การศึกษาถือว่าเป็นเรื่องที่สำคัญมากสำหรับทุกประเทศ เพราะเป็นต้นกำเนิดแห่งการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้ง ของคน การที่เราจะใช้เทคนิคหรือวิธีการสอนให้แก่เด็กเหมือนเช่นเดิม ที่ผ่านมา คงจะเป็นไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะว่าในปัจจุบันสภาพการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีมีความทันสมัย ทำให้การศึกษาสามารถเรียนรู้กันได้ข้ามประเทศ เพียงแค่คุณอยู่ที่บ้าน แม้กระทั่งการติดต่อสื่อสารก็ทำให้ได้รับ ข้อมูลข่าวสารทั้งทางบวกและทางลบ ตัว อย่างที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม จึงทำให้เกิด การลอกเลียนแบบอย่างถูกต้องและไม่ถูกตอ้ ง โดยเฉพาะวัยรุน่ เป็นวัยที่มีความอยากรู้ อยากเห็น และอยากลอก เป็นอย่างมาก จึงทำให้พฤติกรรมการแสดงออกของแต่ละบุคคลและแต่ละครั้งมีทั้งความเหมาะสมและ ไม่เหมาะสม สิ่งที่ดีอาจถูกมองเป็นสิ่งที่ไม่ดี และสิ่งที่ไม่ดีอาจถูกมองเป็นสิ่งที่ดี เนื่องจากการได้รับรู้ข้อมูล มาจากโลกอินเตอร์เน็ตอย่างผิด ๆ ทำให้วัยรุ่นไทยในปัจจุบันมีพฤติกรรมการแสดงออกที่ไม่เหมาะสมหรือ พฤติกรรมที่ก้าวร้าว ซึ่งบางครั้งอาจจะแสดงออกมาอย่างตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้โดยในปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มท่ี จะแสดงออกพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมมาก เพราะเราได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมความเกรงใจ และคำว่า ไม่เป็นไรมากจากบรรพบุรุษ จึงทำให้เราไม่กล้าแสดงออก หรืออาจเป็นเพราะความไม่มั่นใจ อาย ไม่กล้า จึงทำให้บุคคลอื่นมองว่าเราเป็นคนไม่รู้ ฉลาดน้อย หรือต่อต้าน จึงไม่แสดงออก ทำให้เรามีความเสี่ยงต่อ การขาดโอกาสการก้าวหน้าในชีวิต ถ้าหากบุคคลใดมีความบกพร่องเกี่ยวกับการกล้าแสดงออก บุคคลนั้นมักจะ พบกับปัญหาทั้งในด้านการติดต่อ และการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ซึ่งจะทำให้เกิดความยากลำบากทั้งในการ เรยี น การทำงาน และเกดิ ความวติ กกังวลตา่ ง ๆ ตามมา พฤติกรรมการกล้าแสดงออกที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน เน่อื งจากเป็นปจั จยั ที่ทำให้สามารถเผชิญกับสถานการณต์ ่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม กล้าฟันฝ่าอุปสรรค ปญั หา และ ยังทำให้เป็นบุคคลที่มีความมั่นใจในตนเอง ได้ในสิ่งที่ต้องการ และบุคคลที่พบเห็นจะให้เกียรติมากขึ้น จอร์นสัน (Johnson, 2004) กล่าวว่าการที่คนเราจะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปสู่พฤติกรรมการแสดงออกนั้น จะต้องตระหนักไว้ เสมอว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นจะทำให้คนใกล้ชิดหรือคนที่เกี่ยวข้อง แสดงพฤติกรรมโต้ตอบในท่ าทางลบต่อการ เปลี่ยนแปลงนั้นได้ เนื่องจากว่าถ้าเราไม่เคยมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกแล้วไปแสดงออกเลย การเปลี่ยนแปลงนั้นยากที่ผู้ใกล้ชิดหรือคนที่เกี่ยวข้องจะยอมรับได้ เนื่องจากพวกเราจะคุ้นเคยกับสิ่งที่เราเป็น ได้รับในสิ่งที่ต้องการความกลัวว่าจะสูญเสียเราจากไปจากการกระทำนั้น ซึ่งเราไม่ควรจะย่อท้อหรือเปลี่ยนใจ ที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง เนื่องจากเราอาจจะไม่สามารถที่จะไม่ใส่ใจคนที่เรารัก หรือคนที่สำคัญในชีวิตของเราได้ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมกล้าแสดงออกเป็นคุณสมบัติที่สามารถปลูกฝงั และพัฒนาให้เกิดขึ้นไดใ้ นตัวบุคคลให้มีการ กลา้ แสดงออกท่ีถูกต้องและเหมาะสมได้ ทำให้บุคคลเรียนรทู้ จ่ี ะเป็น “ผ้ชู นะ” ในสถานการณต์ ่าง ๆ อยา่ งแท้จริง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า การที่บุคคลมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ช่วยทำให้มีบุคลิกที่ดีขึ้น สามารถปรับตัว มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก กล้าพูดต่ อหน้าผู้อื่น กล้าเข้าร่วมกิจกรรม
2 ได้รับการยอมรับจากเพื่อน มีผลการเรียนที่ดีขึ้น และการมีพฤติกรรมที่กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมยังเป็น พื้นฐานทำให้สามารถปรับตนเองให้อยู่ในสังคม เป็นคนเก่ง คนดี ได้อย่างมีความสุข ประสบผลสำเร็จทั้งด้านการ เรียนและการดำเนินชีวิตประจำวันต่อไป จากสภาพปัญหาที่กล่าวข้างต้น ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาการ แก้ปัญหานักเรียนที่มีพฤติกรรมขาดการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียน รายวิชานาฏศิลป์ โดยใช้ กระบวนการกลุ่ม คำถามวิจยั กระบวนการกลุ่มสามารถแก้ปัญหานักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ ขาดความกล้า แสดงออกอย่าเหมาะสมในชน้ั เรยี นไดห้ รือไม่ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาการใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหานักศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาด คำ มีพฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชั้นเรยี น 2. เพื่อเปรียบเทียบผลของกระบวนการกลุ่มที่มีต่อพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมใน ชน้ั เรยี น ก่อนการใช้กระบวนการกลุ่มและหลังการใชก้ ระบวนการกล่มุ กรอบแนวคิดการวจิ ยั ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม กระบวนการกล่มุ พฤติกรรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมายของการวิจัย คือ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ ภาคการศึกษา 1 ปีการศกึ ษา 2565 จำนวน 23 คน ตวั แปรท่ศี กึ ษา ตวั แปรตน้ คือ การแกป้ ญั หานกั เรยี น ท่ีไมก่ ลา้ แสดงโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ตวั แปรตาม คือ มีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม สมมติฐานการวิจยั พฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักเรยี นหลงั การใช้กระบวนการกลุ่ม ดกี วา่ ก่อนการใชก้ ระบวนการกลุม่ นยิ ามศพั ท์
3 พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม หมายถึงพฤติกรรมที่บุคคลสามารถแสดงออกได้อย่างเป็น ธรรมชาติมากที่สุดตามสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ และสามารถจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยวิธีการทางบวก โดย ปราศจากความวิตกกงั วล นน่ั คือบุคคลสามารถแสดงออกซึง่ ความต้องการหรือความรสู้ ึกได้อย่างตรงมาและจริงใจ อยา่ งไรก็ตามพฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมมิใช่กระทำเพื่อท่จี ะให้ไดส้ ิ่งที่ต้องการ เป้าหมายของการ กระทำพฤติกรรมกล้าแสดงออกนั้นคือการสื่อสารอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา ไม่โจมตีความต้องการหรือการ คดิ เห็นขอบบคุ คลอ่ืน ซ่งึ การทำเชน่ นนั้ จะทำให้มีโอกาสบรรลเุ ป้าหมายท่ตี ้องการโดยไมป่ ฏิเสธสทิ ธขิ องผอู้ ืน่ กระบวนการกลุม่ หมายถึง กจิ กรรมหรอื ประสบการที่จดั ข้นึ ให้กับนักศกึ ษา โดยกลุ่มจะตอ้ งประกอบด้วย บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมารวมตัวกัน และปฏิบัติตามบทบาทของตนเองโดยมีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ด้วยกนั และมจี ดุ มุ่งหมายร่วมกนั ภายในกล่มุ นักเรียน หมายถงึ นักศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 23 คน การพูด หมายถงึ ความกล้าแสดงออกในการพดู อยา่ งเหมาะสม การกระทำ หมายถึง การกลา้ คดิ กลา้ ทำ กลา้ โต้แย้งอยา่ งมีเหตุผล การแสดงความคิดเหน็ หมายถึง การกล้าวพิ ากษ์ วิจารณ์อย่างมวี ิจารณญาณ
4 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง 1. แนวคดิ ที่เกย่ี วข้องกับพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม 2. แนวคดิ ทเี่ ก่ียวข้องกับกระบวนการกล่มุ 3. งานวิจัยทีเ่ ก่ยี วข้อง 1. แนวคิดที่เก่ยี วข้องกับพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม ความหมายของพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม (ธีรวรรณธีระพงษ์, 2543) ให้ความหมายว่า เป็นพฤติกรรมที่บุคคลสามารถแสดงออกได้อย่างเป็น ธรรมชาติมากที่สุดตามสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ และสามารถจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยวิธีการทางบวก โดย ปราศจากความวิตกกังวล นนั่ คอื บุคคลสามารถแสดงออกซงึ่ ความต้องการหรือความรู้สึกได้อย่างตรงมาและจริงใจ อยา่ งไรก็ตามพฤติกรรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมมิใช่กระทำเพื่อทจี่ ะให้ได้สิ่งที่ต้องการ เปา้ หมายของการ กระทำพฤติกรรมกล้าแสดงออกนั้นคือการสื่อสารอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา ไม่โจมตีความต้องการหรื อการ คดิ เห็นขอบบคุ คลอ่นื ซ่งึ การทำเชน่ นั้นจะทำให้มโี อกาสบรรลเุ ป้าหมายทตี่ อ้ งการโดยไม่ปฏิเสธสิทธิของผู้อืน่ โบเวอร์ และ โบเวอร์(Bower & Bower, 1976) ให้ความหมายวา่ พฤติกรรมทเี่ หมาะสมในการแสดงออก คอื ความสามารถในการทจ่ี ะแสดงความรู้สึกท่ีจะเลือกว่าควรปฏิบตั ิอย่างไร ที่จะแสดงสทิ ธิเมื่อมีความเหมาะสม ที่ จะเพิ่มความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ที่จะช่วยพัฒนาความมั่นใจในตนเองให้เกิดขึ้น ที่จะแสดงความไม่เห็นด้วย เม่ือคิดว่ามคี วามสำคัญมากพอ และความสามารถในการที่จะดำเนินการ เพ่ือปรับพฤตกิ รรมจองตนเองและขอร้อง ใหผ้ อู้ ื่นเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมการตอ่ ต้านเขาดว้ ย เจกุโบวก์ ี้ (Jakubowski, 1973) ให้ความหมายว่า พฤติกรรมระหว่างบคุ คลหน่ึงซึ่งบุคคลลุกข้ึนเพื่อแสดง สิทธิอันถูกต้องของเขาในวิถีทางที่ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น เป็นการแสดงความรู้สึก การคิดและความเชื่อออกมา อยา่ งตรงไปตรงมา จริงใจ และเหมาะสม สรุปความหมายพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม หมายถึง พฤติกรรมที่บคุ คลแสดงออกอย่าง เหมาะสม กล้าคิด กล้าพูด กล้ากระทำในสิ่งทีถ่ ูกต้อง เป็นการเพิ่มความมัน่ ใจในตนเองโดยไม่ละเมิดสิทธิของผ้อู ื่น โดยเปน็ การแสดงออกอยา่ งชัดเจนและตรงไปตรงมา ความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม พฤติกรรมไม่กล้าแสดงออก และพฤติกรรม กา้ วรา้ ว การตอบสนองอย่างเหมาะสม(Assertion) พฤติกรรมกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมเป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงความกลา้ พดู กลา้ คิด กล้ากระทำในส่ิงที่ ถูกต้อง และกล้าแสดงออกตามความรู้สึกที่แท้จริงของตน โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น และเมื่อแสดงพฤติกรรมไป แล้วจะไม่มีความวิตกกังวลใจ ซึ่งแสดงถึงการยอมรับในสิทธิของบุคคล เมื่อพิจารณาในรูปของการมีความสัมพันธ์
5 กบั บคุ คลอ่ืนจะเป็นบุคคลท่สี อื่ สารด้วยความจรงิ ใจเปดิ เผยและตรงตามความต้องการหรือความรู้สึกของตนเองโดย มีวิธีการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ซึ่งแสดงถึงการมีความเคารพนับถือยอมรับ และเห็นคุณค่าของ บุคคลอน่ื และของตนเองดว้ ย การตอบสนองอยา่ งไมก่ ล้าแสดงออก(Passive) พฤติกรรมไม่กล้าแสดงออก หรือการยอมตาม เป็นความขลาดกลัวที่ไม่กล้าแสดงออกถึงความรู้สึกความ ต้องการทแ่ี ท้จรงิ ของตน รวมท้งั ไมส่ ามารถจะรักษาสิทธขิ องตนเองได้ เปน็ บคุ คลท่ีมคี วามอาย ไม่กล้าแสดงออกถึง ความไม่สบายใจหรือความไม่เห็นด้วยกับบุคคลอื่น ไม่กล้าปฏิเสธ มีความเชื่อฟัง สอนง่ายมักจะเก็บความรู้สึกขุ่น มัวเอาไว้ หากถูกเอาเปรียบก็มักจะถอยหนีหรือหลบตัวมักจะมีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองต่ำหากต้องการ แสดงออกถึงความต้องการของตนกม็ ักจะมีความวติ กกังวลหรอื ความไมส่ บายใจ จึงมีทา่ ทางท่ีระมัดระวงั และกล่าว คำขอโทษอยู่เสมอ พร้อมกับมีภาษาท่าทางที่ไม่เหมาะสม เช่นการไม่กล้าสบตาผู้สนทนา พูดเสี ยงเบา พูดเร็ว เกินไป เปน็ ตน้ การตอบสนองด้วยความก้าวรา้ ว(Aggression) พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วเปน็ การแสดงออกถึงการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางเรยี กร้องถึงสิทธิของตนโดยไม่สนใจว่า จะไปละเมิดสิทธิของผู้อื่นหรือไม่ ไม่เห็นความสำคัญของปฏิกิรยิ า ความรู้สึกและความคิดเห็นทีบ่ ุคคลอ่ืนได้แสดง ออกมา รวมท้งั ไม่มีความเคารพนบั ถอื บุคคลอน่ื ด้วยบุคคลทีม่ ีพฤติกรรมก้าวรา้ วจงึ มกั แสดงออกถงึ ความรูส้ กึ ความ ต้องการและความคดิ เห็นที่ตนมีในลักษณะของการข่มขู่ บังคับ เรียกร้อง พูดโต้เถียงใหช้ นะพูดกลา่ วโทษผู้อื่น พูด เสียงดัง พูดจาเสียดสี พูดเหยียดหยามข่มขู่หรือพูดในสิ่งที่แสดงถึงความมีอำนาจของตน หรือทำให้ตนเองมี ความสำคัญมากขึ้น และอาจแสดงความหยาบคายต่อบุคคลอื่น มักจะทำให้บุคคลอื่นไม่สบายใจหรือขัดใจหรือ โกรธอยู่เสมอ ซ่งึ มผี ลทำใหส้ ัมพันธภาพระหวา่ งบคุ คลเปลี่ยนแปลงไปถึงแมผ้ ู้มพี ฤติกรรมกา้ วร้าวจะมีความรู้สึกผิด แต่บรรลุเป้าหมายที่ตนต้องการก็เหมือนได้รับการเสริมแรงต่อพฤติกรรมก้าวร้าวนั้นจึงมีแนวโน้มการกระทำ ก้าวร้าวตอ่ ไปอีก ลักษณะของการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม เฟสเตอร์ฮิม (Fensterheim& Bear, 1978) กล่าววา่ บคุ คลที่มีความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมจะต้อง มลี กั ษณะ 4 ประการดงั น้ี 1. รู้สกึ อิสระทจ่ี ะเปิดเผยตนเอง ไม่วา่ จะเปน็ การพดู หรือการกระทำ 2. สามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลได้ทุกระดับ และทุกประเภท เช่น คนแปลกหน้า เพื่อนฝูง คนใน ครอบครัว โดยท่ีการตดิ ตอ่ นนั้ เป็นไปอยา่ งเปิดเผยและตรงไปตรงมา 3. มีความกระตือรือร้นในการดำเนนิ ชีวิต พยามยามทำสิ่งต่าง ๆ ตามที่ตนเองคิดและต้องการ ไม่นั่งคอย ว่าอะไรจะเกิดขน้ึ กับตนเองและไม่ต้องรอคอยใหใ้ ครมาช่วย 4. กระทำในสิ่งที่ทำให้ตนเองภูมิใจอย่างที่สุด ยอมรับความสามารถและข้อจำกัดของตนเอง แต่ใน ขณะเดยี วกนั ก็พยามนำตนเองไปสคู่ วามสำเรจ็ ถึงแม้ว่าจะล้มเหลวกย็ งั นบั ถอื ตนเอง
6 ผลของการมีพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม (ธีรวรรณธีระพงษ์, 2543) กล่าวว่าพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมจะช่วยให้ผู้นั้นเป็นท่ี ยอมรบั และสามารถแสดงสทิ ธิของตนโดยไม่กระทบสทิ ธขิ องผ้อู ืน่ อนั นำไปสสู่ มั พันธ์ท่ีพัฒนาและดีงาม ได้แก่ 1. การยืนหยัดเพื่อตัวเอง และการทำให้คนอื่นรู้จักตัวของเรานั้นเป็นการเคารพตนเองและเป็นการที่จะ ไดร้ บั การเคารพจากผอู้ ืน่ 2. การพยายามใช้ชีวิตของเราอยู่ในแนวทางทจี่ ะไม่ทำใหผ้ ู้อ่ืนเจ็บปวดเลย ไม่ว่าจะอยู่ภายใต้เง่ือนไขใด ๆ กต็ าม มกั จะจบลงดว้ ยการทำใหผ้ อู้ ื่นและตัวเองเจบ็ ปวดดว้ ย (เป็นวงจรของพฤติกรรมการไม่กล้าแสดงออก) 3. เมื่อเรายืนหยัดเพื่อตัวเอง และแสดงความรู้สึกของเราออกมาอย่างจริงใจ หรือแสดงการคิดเห็นอย่าง ตรงไปตรงมา ดว้ ยท่าทีที่เหมาะสม ทกุ คนจะไดร้ บั ประโยชนใ์ นระยะยาว แต่ถ้าเราไมจ่ รงิ ใจต่อคนอนื่ เท่ากับว่าเรา ไม่จริงใจกบั ตัวเอง ทุกคนท่เี ก่ียวข้องก็จะสญู เสยี ประโยชนใ์ นระยะยาว 4. ในการเสียสละความเปน็ ตัวของเราเอง และปฏเิ สธความรูส้ กึ สว่ นตัวของเรา มักจะนำไปส่คู วามร้าวราน ในสมั พนั ธ์ หรอื ความสัมพันธ์ไมส่ ามารถพฒั นาตอ่ ไปได้ 5. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะมีคุณค่ามากขึ้นและน่าพึงพอใจมากขึ้นเมื่อเราสามารถแลกเปลี่ยนการ ตอบสนองตอบที่จรงิ ใจกบั บคุ คลอนื่ และไม่ขัดขวางบคุ คลอน่ื ท่ตี อบสนองต่อเรา 6. การไม่ให้ผู้อื่นรูว้ า่ เราคิด หรือรู้สึกอย่างไร เป็นการเห็นแก่ตัวเท่า ๆ กับการไม่สนใจความรู้สึกและการ คิดของคนอ่นื 7. การท่เี ราเสียสทิ ธิส่วนตัวของเรา เท่ากบั เราสอนให้บุคคลอน่ื เอาเปรียบเรา 8. ในการที่เรากล้าแสดงออก และบอกบุคคลอื่นว่าพฤติกรรมของเขามีผลต่อเราเช่นใด เท่ากับเราได้เปิด โอกาสให้เขาเปลี่ยนพฤติกรรม และเป็นการแสดงให้เห็นว่าเราได้ให้เกียรติแก่สิทธิของเขา ที่บอกให้เขารู้ว่าเขา กำลงั ยนื อยทู่ ีจ่ ดุ ใดกับเรา (สมโภชน์ เอ่ียมสภุ าษติ , 2539 อ้างถึงใน ธรี วรรณธีระพงษ์, 2543) การพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม (Developing Assertiveness) การฝึกพฤตกิ รรมกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม มหี ลักสำคัญ 3 ประการดังน้ี 1. การตระหนักรู้ตนเอง (Self – awareness) เป็นการสำรวจตรวจสอบพฤติกรรมการแสดงออกของ ตนเอง พิจารณาผลท่ีเกดิ ข้นึ อาจขอรบั ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั จากผู้อนื่ หรอื การสำรวจด้วยตนเอง 2. การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก เป็นกระบวนการฝึกทักษะการกล้าแสดงออก ทั้งความรู้สึก ความคิด และการติดต่อสื่อสาร เช่น ทักษะการแสดงการเห็นด้วยกับสาระสำคัญทีไ่ ด้รบั การวิพากษ์ ทักษะการตอบสนองผู้ วิพากษ์ ทักษะการยอมรับการวิพากษ์ หรือทักษะการแสดงความมั่นคงในความคิดและความรู้สึกของตน เป็นต้น การฝึกพฤตกิ รรมกล้าแสดงออก ประกอบด้วยความรคู้ วามเขา้ ใจและการฝึกหดั ใหเ้ กิดความคล่องตัว 3. การพัฒนาพฤตกิ รรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมกับผ้ทู ี่เกีย่ วข้อง ในการฝึกทกั ษะทีจ่ ำเปน็ จนชำนาญ แล้ว ควรพัฒนาเพิ่มพูนทักษะให้มากขึ้น รวมทั้งการรักษาให้เป็นพฤติกรรมคงทนต่อไป โดยการฝึกหัดแสดงออก และตอบสนองกับผ้ทู ่เี ก่ียวขอ้ งในสถานการณ์ต่าง ๆ
7 ซัลเทอร์ (Salter, 1949) ได้สรุปว่า บุคคลผู้มีพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมจะสามารถแสดง พฤติกรรมต่อไปนี้ได้ ได้แก่ การแสดงความรู้สึก พูดเกี่ยวกับตัวท่านเอง การพูดทักทายปราศรัย การยอมรับคำ ชมเชย การแสดงออกทางสีหน้าที่เหมาะสม การแสดงความไม่เห็นด้วยอย่างสุภาพ การขอร้องให้แสดงความ กระจ่างแจ้ง การถามหาเหตผุ ล การแสดงความไม่เห็นด้วยขณะนั้น การกล่าววาจาเพือ่ รักษาสิทธิ การแสดงความ มัน่ คง หลกี เลยี่ งทจ่ี ะต้องแสดงเหตุผลในทุก ๆ ความเห็น 2. แนวคิดทเ่ี กี่ยวข้องกับกระบวนการกลุ่ม ความหมายของกระบวนการกลุ่ม ชาร์ทวิง และ เซนเดอร์(Cartwright & Zander, 1968) ให้ความหมายว่า อุดมการณ์ทางการเมืองแบบ หนึ่งท่กี ลุ่มควรจัดใหม้ ีและควรดำเนินการโดยอุดมการณ์ จะเป็นเร่ืองเก่ียวกบั ความเปน็ ผนู้ ำในระบบประชาธิปไตย รวมถึงการมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจของสมาชิกคุณคา่ และประโยชนท์ ่สี มาชิกและสังคมควรไดร้ ับ ซึง่ การรวมกลุ่ม ดังกล่าวจะมีคุณคา่ ตอ่ สมาชิก ซึ่งนับว่าเป็นการรวมกลุ่มในอุดมคติที่สมาชิกทุกคนจะมีความเทา่ เทียมกัน ไม่มีการ กำหนดการเปน็ ผู้นำผู้ตาม ทกุ คนจะใชส้ ติปญั ญาและความสามารถที่ตนมีอยู่อย่างเต็มที่เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ต่อตน และสงั คม (ช่อลัดดา ขวัญเมือง, 2541) ให้ความหมายว่า กระบวนการที่ช่วยให้นักเรียนได้มีพัฒนาการในด้าน ทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมที่บกพร่อง เป็นปัญหาควรแก้ไขโดยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ จึงเป็นวิธีการที่เปิด โอกาสให้นักเรียนเข้าใจความต้องการของตนเองและของผู้อื่น จากการสมั ผัสดว้ ยการปฏิบัติจนเกิดการค้นพบสิ่งท่ี ต้องการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ซ่ึงทำใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การปฏิบัตติ นในการอย่รู ่วมกับผู้อื่น (กาญจนา ไชยพันธุ์, 2549) ให้ความหมายว่า การที่บุคคลมารวมกันเพื่อศึกษาประสบการณ์ของกลุ่ม หลาย ๆ ฝ่าย ศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำผู้ตาม ความคิด ฝึกปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และมีการศึกษาจาก ประสบการณ์ โดยผู้ศึกษาจะต้องเขา้ ไปมสี ว่ นร่วมในประสบการณ์การเรียนร้ทู จี่ ดั ข้ึน สรุปความหมาย กระบวนการกลุ่ม หมายถึง การที่บุคคลมารวมกันต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป เพื่อร่วมกันกระทำ การศึกษาหาข้อมูลตามความเป็นจริง โดยทุกคนได้รับประโยชน์ ไม่มีการเป็นผู้นำ ผู้ตาม ทุกคนสามารถแสดง ความคิด ความรู้สกึ และการกระทำได้อย่างเทา่ เทยี มกัน เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและต่อสงั คม ทฤษฎเี ก่ยี วกบั กระบวนการกลุ่ม (กาญจนา ไชยพันธุ์, 2549) กระบวนกลุ่มต้องอาศัยทฤษฎีเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดกระบวนกา ร กลุม่ ซง่ึ มที ฤษฎีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) ของ Kurt Lewinในเรื่องของกลุ่ม Lewinสรุปสาระสำคัญของทฤษฎี สนามไวด้ ังน้ี (วนิ ิจ เกตขุ ำและคมเพชร ฉตั รศุภกลุ , 2522) 1. พฤติกรรมเป็นผลจากพลังความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มไม่ได้เกิดจากการรวมตัวของ สมาชกิ เพยี งเอยา่ งเดยี ว แต่จะเป็นผลจากโครงสร้างท่ีเกดิ จากการเก่ยี วขอ้ งสัมพนั ธ์กนั และกนั ในกลุ่ม 2. โครงสรา้ งของกลุม่ เกิดจากระบวนกลุ่มของบุคคลที่มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั 3. การรวมกลุ่มแต่ละครั้งจะต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม โดยเป็นปฏิสัมพันธ์ใน รูปการกระทำความรสู้ กึ และความคิด
8 4. องค์ประกอบด้านปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การกระทำ ความรู้สึก และความคิด จะก่อให้เกิด โครงสรา้ งของกลุ่มแต่ละครั้ง ซง่ึ มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั ออกไปตามลกั ษณะของสมาชิกในกลุ่ม 5. สมาชิกในกลุ่มจะมีการปรับตัวเข้าหากัน และพยายามช่วยกันทำงาน ซึ่งการทีบ่ ุคคลพยายาม ปรับบุคลิกภาพของตนที่มีความแตกต่างกันนี้ จะก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และทำให้เกิดพลังหรือ แรงผลักดันของกลมุ่ ทท่ี ำในการทำงานเปน็ ไปด้วยดี 2. ทฤษฎปี ฏิสมั พนั ธ์ (Interaction Theory) ของ Bales โฮมาน และ ไวที (Homans& Whyte อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2522) ได้กลา่ วถงึ แนวคดิ พื้นฐานของทฤษฎีนี้ คือ 1. กลุ่มจะมีปฏสิ ัมพันธโ์ ดยการกระทำกจิ กรรมอย่างใดอย่างหนงึ่ 2. ปฏสิ ัมพนั ธจ์ ะเป็นปฏสิ ัมพนั ธ์ทกุ ๆ ด้าน คือ - ปฏสิ ัมพนั ธท์ างรา่ งกาย - ปฏิสัมพนั ธ์ทางวาจา - ปฏิสัมพนั ธ์ทางจิตใจ 3. กิจกรรมต่าง ๆ ท่กี ระทำผ่านการมีปฏิสมั พนั ธ์นี้ จะก่อให้เกิดอารมณค์ วามรู้สึกขน้ึ 3. ทฤษฎีบคุ ลิกภาพของกลุม่ (Group Syntality Theory) ของ Cattellทฤษฎนี อี้ าศยั หลักการจากทฤษฎี การเสริมแรง (Reinforcement Theory) (โยธนิ ศันสนยทุ ธ, 2528) คือ กฎแห่งผล (Low of Effect) เพ่ืออธิบาย พฤติกรรมของกล่มุ แนวคดิ ในทฤษฎีนป้ี ระกอบไปด้วย 1. ลกั ษณะของกลุ่มประกอบด้วย - กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ จะประกอบดว้ ยสมาชิกซ่ึงมีบุคลิกภาพเฉพาะตัว (Population Traits) ไดแ้ ก่ สตปิ ญั ญา ทศั นคติ บคุ ลิกภาพ เป็นตน้ จะเหน็ ไดว้ ่าเป็นลักษณะในรปู เอกัตบุคคลทีร่ วมกันเข้าเป็นกลุ่ม การ ทำงานของเอกตั บคุ คลทีท่ ำงานสอดคลอ้ งกนั เรยี กว่า กลมุ่ - กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีบุคลิกภาพเฉพาะกลุ่ม (Syntality Traits) หรือความสามารถที่ กลมุ่ ได้รับจากสมาชิก ซ่ึงจะทำให้กล่มุ มีลักษณะท่ีแตกตา่ งกันออกไป บคุ ลิกภาพของกลุ่มได้จากความสามารถของ กลุ่มทม่ี อี ยูใ่ นการกระทำของสมาชิกร่วมกัน - กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะโครงสร้างภายในโดยเฉพาะ (Characteristic of Internal Structure) ซ่ึงหมายถึง ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมาชิก และแบบแผน หรอื ลกั ษณะในการรวมกลุ่ม เช่น มกี ารแสดง ตำแหนง่ บทบาทหน้าที่ มีการสื่อสารกันระหว่างสมาชกิ 2. พลัง หรือการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของกลุ่ม (Dynamics of Syntality) หมายถึง การ แสดงกิจกรรมหรือความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่มเพื่อจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง การกระทำของสมาชิกจะมี ลักษณะ 2 ประการ คอื - ลักษณะท่ที ำให้กลุ่มรวมกันได้ (Maintenance Synergy) หมายถึง ลกั ษณะของความ ร่วมมือในการกระทำกิจกรรมของสมาชิกแต่ละกลุ่มเพื่อให้ความสัมพันธ์ของสมาชิกเป็นไปได้อย่างราบรื่น และ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คี ซ่งึ จะทำใหก้ ารรวมกลมุ่ ไม่มกี ารแตกแยก หรือการถอนตัวออกจากกลมุ่
9 - ลักษณะที่จะทำให้กลุ่มประสบผลสำเร็จ (Effective Synergy) หมายถึง กิจกรรมท่ี สมาชิกกระทำเพือ่ ให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตงั้ ไว้ 4. ทฤษฎีพื้นฐานความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หรือ FIRO (Fundamental Interpersonal Relation Orientation) ของ Schutsทฤษฎีนี้จะพิจารณาพฤติกรรมระหว่างสมาชิกที่พยายามปรับตัวเข้าหากัน โดยเชื่อว่า คนทุกคนจะมีลักษณะเฉพาะในการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น ความต้องการที่จะมีความสัมพันธ์กับผูอ้ ื่นมี 3 ลักษณะ คือ 1. ความต้องการมีส่วนร่วมหรือการเชื่อมโยงกับผู้อื่น (Inclusion) ได้แก่ความต้องการจะมี สัมพันธ์กับผู้อื่น โดยการแสดงพฤติกรรมการสนใจต่อผู้อื่น และความเป็นมิตรหรือความต้องการอยู่ร่วมกับผู้อื่น เพ่ือให้เกิดชือ่ เสียง (Prestige) การเปน็ ทีย่ อมรบั นับถอื (Recognition) และความมีเกยี รติ (Prestige) เป็นต้น 2. ความต้องการในการควบคุม (Control) หมายถึง กระบวนการบุคคลตัดสินใจเพื่อจะให้ อิทธิพล (Authority) มีอำนาจ (Power) หรือความต้องการจะควบคุมผู้อื่น ซึ่งอาจจะแสดงออกมาในลักษณะ คือ การควบคุมผู้อ่ืน 3. ความต้องการเป็นที่รักใครของผู้อื่น (Affection) หมายถึง ความรู้สึกและอารมณ์ส่วนตัวที่ เกิดขึ้นระหว่างบุคคลสองคน เช่น ความรัก ความเป็นมิตร การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การสร้างความผูกพันทาง อารมณ์ เพื่อให้เกิดความใกลช้ ิดสนิทสนมต่อกนั การที่บุคคลมีความสมั พันธ์กัน จะแสดงพฤติกรรมและความตอ้ งการเฉพาะตน ซึ่งพัฒนาข้ึนจาก การได้รับการสนองความต้องการในวัยเด็ก ความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่มอาจเป็นในลักษณะที่เข้ากันได้ (Compatibility) หรือเข้ากันไม่ได้ (Incompatibility) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบุคคลที่สัมพันธ์กันและลักษณะในการแสดง ความสัมพนั ธ์กนั เป็นสำคญั 5. ทฤษฎีสัมฤทธิผลของกลุ่ม (A Theory of Group Achievement) ผู้ที่เริ่มทฤษฎีนี้ คือ Stogdillโดยมี วัตถุประสงค์สำคัญในเรื่องผลผลิตหรือสัมฤทธิผลของกลุ่ม ดังนั้นทฤษฎีนี้จึงไม่กล่าวถึงพฤติกรรมของสมาชิกใน กลุ่ม แตเ่ น้นโครงสรา้ งของทฤษฎีประกอบดว้ ยตัวแปร 3 ประเภท คอื 1. การลงทุนของสมาชิกหรอื ตัวแปรท่สี มาชกิ ป้อนใส่เข้าไป (Member Input) คือ การแสดงออก ของสมาชิกภายในกลุ่ม รวมถึงการกระทำและการแสดงออกของสมาชิกเป็นส่วนสำคัญโดยเฉพาะในเรื่อง เมื่อ บุคคลมาอยู่รวมกันจะมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) การแสดงออก (Performance) และความคาดหวัง (Expectations) 2. สอื่ กลางของการลงทนุ ของสมาชกิ (Mediating Variables) เม่อื สมาชิกมีการลงทนุ โดยกระทำ หรอื มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ รวมท้ังการคาดหวังผลร่วมกันแล้ว ส่งิ หนง่ึ ทจ่ี ะทำให้กลุ่มบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการ คือ การกำหนดโครงสร้างของกลุ่มขึ้น เพื่อเป็นสื่อให้การลงทนุ ของสมาชิกบังเกิดผล โครงสร้างของกลุ่มประกอบด้วย โครงสรา้ งอยา่ งเป็นทางการ โครงสร้างเกยี่ วกับบทบาทของสมาชิก และผลของกลมุ่ หรอื สมั ฤทธิผลของกลุ่ม 6. ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม (Exchange Theory) Thifaut and Kelley ทฤษฎีนี้เน้น ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกและกระบวนการกลุ่ม ซึ่งจะก่อให้เกิดผลจากการรวมกลุ่ม แนวคิดของทฤษฎีจะเป็น พน้ื ฐานของการทำหน้าทีใ่ นกลุ่มไดเ้ ปน็ อย่างดี แนวคิดทสี่ ำคญั ของทฤษฎมี ี 3 ประการ ลุกท์ (Lugt, 1970) คอื
10 1. ในการรวมกลุ่มทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนพฤติกรรมและเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ซึ่ง เกิดจากการที่สมาชิกมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในรูปต่าง ๆ เช่น การสื่อสาร หรือการแสดงพฤติกรรมที่บุคคลหนึ่งแสดง ต่ออีกคนหนึง่ และจะมีอิทธิผลต่อการแสดงพฤติกรรมของบคุ คลน้นั ด้วย เชน่ การแสดงพฤติกรรม การกระทำหรือ คำพดู 2. การแลกเปลี่ยนพฤติกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก จะกอ่ ให้เกิดผลของกลุ่ม (Group Outcome) ขึ้น จึงเป็นผลจากการปฏิสัมพันธ์ของสมาชิก (Consequences of Interaction) ซึ่งประกอบด้วย รางวัลจากการมีปฏสิ มั พนั ธ์ เช่น ความสบายใจ ความสนุกสนาน ความอ่ิมอกอม่ิ ใจ ความพอใจ และเห็นคณุ ค่าของ การพยายามกระทำพฤติกรรมน้ันให้บรรลุจุดม่งุ หมายตามทตี่ ้องการ 7. ทฤษฎสี ังคมมติ ิ (Sociometric Theory) Morenoคอื ผู้ก่อตั้งทฤษฎแี ละอาศัยพนื้ ฐานทางทฤษฎี ดงั น้ี 1. การกระทำและจรยิ ธรรมหรือขอบเขตการกระทำของกลุ่มจะเกิดความสัมพนั ธ์ระหว่างสมาชิก ในกล่มุ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ คือ การแสดงบทบาทจำลอง (Role Playing) หรือ สงั คมมติ ิ (Sociometric) 8. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ทฤษฎจี ติ วิเคราะห์นี้ สงิ มัน (Sigmund Freud, 1993) มแี นวคิดสำคญั ของทฤษฎี คือ 1. กระบวนการทางแรงจูงใจ (Motivation Process) เมื่อบุคคลมาอยู่รวมกันจะต้องอาศัย แรงจงู ใจเป็นรางวลั หรอื ผลจากการทำงานในกลมุ่ 2. การรวมกล่มุ (Cohesive) บุคคลจะมโี อกาสแสดงตนอย่างเปิดเผย หรอื พยายามป้องกันปิดบัง ตนเองโดยกลวิธีในการป้องกันตน หรือพยายามปิดบังตนเองโดยกลวิธีในการวิเคราะห์ต่าง ๆ (Defense Mechanism) การใช้แนวคิดนี้ในการวิเคราะห์กลุ่ม ซึ่งให้บุคคลแสดงออกตามความเป็นจริง โดยใช้วิธีการบำบัด จะทำใหส้ มาชกิ ในกล่มุ เกิดความเขา้ ใจตนเองและผู้อื่น เทคนิคและวธิ ีการที่ใชใ้ นกระบวนการกลุ่ม สำหรับเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในกระบวนการกลุ่มนั้น (สุรางค์โค้วตระกูล, 2541 อ้างถึงใน นิตยา วิเศษ พานิช, 2546) ได้กลา่ วถึงเทคนคิ และวธิ ีการนำกระบวนการกลุ่มมาใช้ในการสอน โดยใช้สรปุ เปน็ เทคนคิ วิธีทส่ี ำคัญ ๆ ดังต่อไปน้ี 1. เกม (Game) การสอนโดยใชเ้ กม เปน็ การสอนโดยใหผ้ ู้เรียนเข้าไปอยู่ในกจิ กรรม หรือสถานการณ์ท่ีผู้ เล่นยินยอมตกลงกันที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง เพื่อให้ได้ตามเป้าหมายที่ต้องการ ซึ่งมักจะมีผลในรูป ของการแพ้ การชนะ การเล่นเกมจะช่วยให้สมาชิกได้เรียนรู้ยุทธวิธีที่จะเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ และได้ฝึกฝน เทคนิค และทักษะทตี่ ้องการ รวมท้ังช่วยใหเ้ กิดความสนกุ สนานในการเรียน 2. บทบาทสมมติ (Role - Play) การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ เป็นการใช้ตัวละครที่สมมติขึ้นจาก สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริง มาเป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนสวม
11 บทบาทนั้น ๆ และแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนเกี่ยวกับบทบาทนั้นออกมา วิธีการนี้ช่วยให้มีโอกาสศึกษา วิเคราะห์ถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผู้อื่นได้อย่างลึกซึ้ง และบทบาทสมมติยังช่วยให้เข้าใจถึง บทบาทท่ีตา่ งไปจากตน 3. กรณีตัวอย่าง (Case) เป็นการใช้กรณี หรือเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงมาดัดแปลงและใช้เป็นสื่อ ตัวอย่าง หรือเครื่องมือในการศึกษาวิเคราะห์และอภิปรายกัน เป็นการช่วยฝึกฝนการใช้ความคิดในการแก้ปัญหา หลาย ๆ แบบ วิธีการนี้ช่วยให้คิดและพิจารณาข้อมูลที่ตนได้รับอย่างถี่ถ้วน นอกจากนั้นยังช่วยให้การเรีย นรู้มี ลักษณะใกลเ้ คียงกบั ความเปน็ จริง ทำให้การเรยี นรมู้ คี วามหมายต่อผเู้ รียนมากขนึ้ 4. สถานการณ์จำลอง (Simulation) เป็นการใช้สถานการณ์ที่จำลองขึ้นให้เหมือนจริง หรือใกล้เคียงกับ ความเป็นจริง โดยให้ผู้เรียนเข้าไปอยู่ในสถานการณ์นั้น และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในสถานการณ์และใช้ ข้อมูลในความเป็นจริงในสภาพการณ์นั้น ในการตัดสินใจและแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยที่การตัดสินใจนั้นจะส่งผลถึงผู้ เล่นถึงลักษณะเดียวกับที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริง ในการเล่นในสถานการณ์จำลองช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ ลึกซึ้งในองค์ประกอบที่ซับซ้อนของสภาพความเป็นจริงได้ทดลองแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ในชีวิตจริงอาจไม่กล้า แสดง เพราะเปน็ การเสยี่ งต่อผลท่จี ะไดร้ บั จนเกนิ ไป 5. กลุ่มย่อย (Small Group) การใช้กลุ่มย่อยช่วยเปิดโอกาสให้สมาชิกได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่าง ทั่วถึง รวมทั้งให้สมาชิกได้เรียนรู้จากกันแ ละกัน คือได้เรียนรู้ความรู้สึก พฤติกรรม การปรับตัว การมีปฏิสัมพันธ์ การเรียนรู้บทบาทหน้าที่ การแก้ปัญหาและการตัดสินใจร่วมกัน ทั้งยังได้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ความรู้ ความคดิ การใชเ้ ทคนิคกลุม่ ย่อยมีหลายวธิ ีด้วยกัน แตท่ ่นี ิยมใช้กันมากก็คอื กลุ่มระดมสมอง ท่ีเรยี กวา่ Brainstorming Group จากท่กี ล่าวมา อาจกลา่ วไดว้ ่า เทคนคิ และวิธีการใช้กระบวนการกลมุ่ นั้นมีหลากหลาย ฉะน้ันในการที่จะ เลือกใช้วิธีการใด จงึ ควรคำนงึ ถงึ ความเหมาะสมในทุกดา้ น รวมทัง้ คำนงึ ถึงวัตถุประสงค์ และเปา้ หมายของการจัด กจิ กรรมในแต่ละคร้งั ด้วย 3. งานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง (วิมพ์วิภา ถาสกุล, 2550) ทำการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาการใช้กิจกรรมตามทฤษฎีเผชิญ ความจริงเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 10 คน ถูกเลือกมาแบบสุ่มอย่างง่าย เพื่อเข้าร่วม กิจกรรมกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงจำนวน 10 กิจกรรม เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบทดสอบพฤติกรรมกล้า แสดงออกประเมินก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม และกิจกรรมตามทฤษฎีเผชิญความจรงิ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาค่า t – test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม นักเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมกล้าแสดงออกสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดบั 0.05
12 (D’Zurilla&Goldfried ,1971) ได้ทำการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์คือมุ่งระบุลำดับเวลาความคิด ของคนที่มีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมสูง กับคนที่มีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ต่ำ พบว่าคนที่มีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมสูงมีทักษะการแก้ปัญหา มีการเตรียมปัญหา มีการ กำหนด มีการสร้างรูปแบบทักษะการแก้ปญั หา และมั่นใจตนเองในการมีความสามารถทีจ่ ะให้คำตอบสูงกวา่ ผู้ท่มี ี พฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมตำ่ (รศั มี เช้ือเจ็ดตน, 2539) ศึกษาพฤติกรรมกลา้ แสดงออกของเด็กปฐมวยั โดยใชบ้ ทบาทสมมุติและ เปรียบเทยี บพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมของเด็กปฐมวัยท่ีรบั การฝึก โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติ และไม่ได้รับการฝึกโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติ จำนวน 46 คน พบว่านักเรียนที่ได้รับการฝึกโดยใช้กิจกรรม บทบาทสมมุติมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในด้านการพูดมากกว่าการกระทำและการคิดและมี พฤตกิ รรมกล้าแสดงออกเพิ่มข้นึ หลังได้รับการฝึกโดยใชก้ จิ กรรมบทบาทสมมุติ
13 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินการศกึ ษาค้นคว้า วิธีการดำเนินการวจิ ัยแบ่งเป็น 2 ส่วน คอื 1. การศกึ ษาเอกสาร (Document study) เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทฤษฎี แนวคิด และผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับ พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ในด้านแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่ม เพื่อหาข้อสรุปถึงวิธีการแก้ปัญหาขาดความการกล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสมของนักศึกษาในชั้นเรียน รายวิชานาฏศลิ ป์ และนำไปสร้างเคร่ืองมือที่ใชว้ ัดพฤติกรรมการกล้าแสดงออก อย่างเหมาะสมของนักเรียนในชน้ั เรียน โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม 2. การวจิ ยั เชิงสำรวจ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อ สำรวจพฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมของนักศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตำบลหาดคำภาค การศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 จำนวน 23 คน นักศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามถึงพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการ กลุ่ม เป็นเคร่อื งมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยมีแนวทางในการสรา้ งแบบสอบถาม ดงั น้ี 1. เกณฑ์ในการวัดแบบสอบถาม ใช้วิธีการสร้างแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประเมินค่า (Rating scale) โดยเกณฑ์ในการให้ คะแนนแบ่งออกเปน็ 5 ระดบั ดงั นี้ ตารางท่ี 1 คา่ พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม และระดับคะแนน ระดับความรสู้ กึ เห็นคุณคา่ ในตนเอง ระดับคะแนน ทุกครั้ง 5 บอ่ ยคร้ัง 4 บางครง้ั 3 นาน ๆ ครงั้ 2 แทบไม่เคย 1 เกณฑ์ในการแปลความหมายของคะแนน ผู้วิจัยได้แปลระดบั ของพฤตกิ รรม โดยใชค้ ่าเฉล่ยี ของคะแนนเป็นตัวช้ีวัด โดยกำหนดช่วงในการวดั เป็น 5 ระดับ โดยกำหนดช่วงคะแนนในแต่ละระดบั จากสูตรการคำนวณ ดงั น้ี คะแนนสงู สดุ – คะแนนต่ำสดุ = 5– 1 = 0.8 จำนวนระดบั 5 จากสูตรการคำนวณ ได้แปรค่าระดบั ความหมายของพฤติกรรมออกเปน็ 5 ระดบั ดงั ตารางท่ี 2
14 ตารางที่ 2 การแปรความหมายระดับความร้สู ึกเหน็ คุณคา่ ในตนเอง ระดบั ความคิดเห็น ระดบั คะแนน ทกุ คร้ัง 4.21 - 5.00 บ่อยคร้ัง 3.41 – 4.20 บางครง้ั 2.61 – 3.40 นาน ๆ ครั้ง 1.81 – 2.60 แทบไมเ่ คย 1.00 – 1.80 2. การสรา้ งเคร่ืองมอื สร้างเครื่องมือโดยการศึกษาเอกสาร งานวิจัย และทฤษฎีที่เกี่ยวกับแนวคิดพฤติกรรมการ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และกระบวนการกลุ่ม ในการสรา้ งแบบสอบถาม ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยใน ครัง้ นี้ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพือ่ ศึกษาค้นคว้าครั้งน้ี ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล จากประชากรกลุม่ ตวั อย่าง 2q คน โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คือ ส่วนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป เปน็ แบบสอบถามถงึ รายละเอียดตา่ ง ๆ เก่ียวกับผ้ตู อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ ช้ันปีการศึกษา สว่ นที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกบั พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม และกระบวนการกลุ่ม ไดแ้ ก่ 1. ดา้ นการพูด 2. ดา้ นการกระทำ 3. ด้านการแสดงความคดิ เหน็ สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 1. ประชากร ในการศึกษาค้นคว้านักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ จำนวน ทง้ั หมด 22 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาค้นคว้าเป็นนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ จำนวนทง้ั หมด 22 คน สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิจัย สถติ ิที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ข้อมูลข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมโดยใช้กระบวนการกลุ่ม โดยเป็นคำถามแสดง ระดบั ความคดิ เหน็ 5 ระดบั วิเคราะหด์ ว้ ยค่าเฉลี่ย (Mean) และวิเคราะห์ด้วยอตั ราร้อยละ (Percentage)
15 การเก็บรวมรวมขอ้ มลู การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูล พฤติกรรมนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบล หาดคำ ขาดการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ันเรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม โดยมีวิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดังน้ี 1. แจ้งการศึกษาการทำวจิ ัยให้กับนักเรียนในชัน้ เรียนทราบ 2. ดำเนินการเก็บขอ้ มลู และรวบรวมข้อมูลจากนกั เรียน 3. ตรวจแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา คัดเลือกเฉพาะแบบสอบถามที่สมบูรณ์ไว้เพื่อทำการ วิเคราะหข์ ้อมูลต่อไป
16 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและผลการวิเคราะหข์ ้อมูล จากการศึกษาข้อมูลการวิจัยในชัน้ เรียนเร่ือง การแกป้ ญั หานักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี1ที่มีพฤติกรรมขาด ความกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชั้นเรียน รายวชิ านาฏศิลป์ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผูว้ ิจยั ได้ดำเนินการวิจัย เชิงสำรวจ โดยใช้ นักศึกษาร ะดั บมัธ ยม ศึ กษ าต อน ต้น กศน.ตำบลหา ดคำจ ำนวน 2 3 คน เป็นชาย 15 คน เป็นหญิง 18 คน ใช้แบบสอบถาม 22 ชุด และได้จำนวนแบบสอบถามคืนกลับ 23 ชุด ครบทุกคน คิดเป็นร้อยละร้อย การวิจัยครั้งนี้กระทำขึ้นหลังจากการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ กลุม่ กบั นักศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตำบลหาดคำ ท้งั หมดเปน็ ทีเ่ รยี บรอ้ ยของภาคเรียนที่ 2/2564 โดยผู้วจิ ยั ไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลเป็นภาพรวมท้ังนักเรียนชายและหญิง จำแนกออกเป็น 3 ด้านคือ ด้านการพูด ด้าน การกระทำ ดา้ นการแสดงความคิดเหน็ ดังน้ี ตาราง 1 ด้านการพดู ระดบั พฤติกรรม ระดบั หวั ขอ้ 5 4 3 2 1 x พฤติ กรรม 1. คณุ พร้อมทจ่ี ะชมเชยหรือยกยอ่ งสรรเสรญิ เพอื่ น 14 4 1 1 2 4.1 บอ่ ย 3 ครั้ง 2. คณุ พรอ้ มทีจ่ ะขอร้องให้เพ่อื นช่วยทำอะไรใหค้ ุณ 15 6 1 - - 4.6 ทุก 0 ครง้ั 3. ถ้าเพ่ือนของคณุ แตง่ กายด้วยชดุ ใหม่ ซ่ึงคณุ เห็นว่า 14 6 1 1 - 4.6 ทุก สวย คณุ จะบอกเขา ให้ทราบว่าเขาแต่งกายสวย 0 ครั้ง 4. ถ้าเพอ่ื นขอร้องให้คณุ ทำในสง่ิ ทคี่ ณุ คิดวา่ เปน็ การ 12 7 2 1 - 4.6 ทกุ ขอร้องท่ีไมม่ ีเหตผุ ล สมควร คณุ กล้าท่จี ะบอกปฏเิ สธ 0 ครั้ง 5. ถา้ เพ่ือนทำอะไรเพ่ือคุณ คณุ จะบอกใหเ้ ขาทราบว่า 13 7 1 1 - 4.6 ทกุ คณุ ซาบซึ้งเพยี งใด 0 ครั้ง 6. เมือ่ มีใครแสดงความไม่ยตุ ิธรรมต่อคุณ คุณกลา้ ที่จะ 14 5 1 2 - 4.7 ทุก พดู บางสง่ิ ท่ีเกี่ยวกบั เรื่องน้ันกบั เขา 6 ครั้ง 7. คุณกลา้ ที่จะถามปัญหาในชัน้ เรียน 15 2 3 2 - 4.2 ทุก 6 ครง้ั 8. คณุ สามารถส่อื สารกบั เพื่อนของคณุ ได้อยา่ งเปิดเผย 13 7 1 1 - 4.5 ทกุ ตรงไปตรงมา 0 ครง้ั 9. เมอื่ อาจารยใ์ ห้คุณออกมาพดู หน้าชัน้ เรียน คณุ กลา้ 11 6 3 1 1 4.3 ทุก ที่จะพูดเสยี งได้อย่างปกติ ไม่ เบาหรือพดู เร็วเกินไป 0 ครัง้
17 10. คณุ สามารถพูดเร่ืองเกยี่ วกับตัวคุณเองให้เพ่อื นฟงั 12 4 4 31 1 4.1 บอ่ ย ไดอ้ ย่างไม่ขวยเขิน 6 ครั้ง เฉลย่ี 19. 7.0 1.9 1.2 0.5 4.4 ทกุ 40 0 0 0 5 ครั้ง ร้อยละ 64. 23. 6.3 4.0 1.6 66 33 3 0 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตารางที่ 1 ด้านการพูด พบว่าหลังจากใช้กระบวนการกลุ่ม นักเรียนมีพฤติกรรม กล้าที่จะพูดในระดับทุกครั้ง ที่ 4.45 โดยในหัวข้อ เมื่อมีใครแสดงความไม่ยุตธิ รรมต่อคุณ คุณกล้าที่จะพูดบางสงิ่ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นกับเขา นักเรียนกล้าพูดมากที่สุดในระดับ ทุกครั้ง ที่ 4.76 และในหัวข้อคุณพร้อมที่จะชมเชย หรือยกย่องสรรเสริญเพื่อน นักเรียนกล้าพูดในระดับ บ่อยครั้ง ที่ 4.13 โดยภาพรวมนักเรียนกล้ าพูดที่ ร้อยละ 64.66 และไมก่ ล้าท่ีจะพูดรอ้ ยละ 1.66 ตาราง 2 ดา้ นการกระทำ หัวขอ้ ระดับพฤตกิ รรม x ระดบั 54321 พฤติ กรรม 1. ขณะที่คุณกำลงั เรียนและเพือ่ นร่วมห้องของคุณสง่ 15 5 1 1 - 4.6 ทกุ เสียงดังมากเกินไป 0 ครง้ั คุณจะขอร้องให้เขาหยดุ ทำเสยี งดงั 2. คุณเข้ารว่ มสังคมกับเพอื่ น โดยไมก่ ลวั วา่ จะทำหรือ 16 2 2 1 1 4.3 ทุก พูดในสง่ิ ทผ่ี ดิ ๆ 0 ครงั้ 3. เมอ่ื คุณทำงานรว่ มกบั เพ่ือน คุณจะร้สู กึ มีความ 12 2 5 2 1 4.3 ทุก เช่อื ม่ันในการคดิ หรือการกระทำของตนเอง 3 ครั้ง 4. เมอื่ มีการทำงานร่วมกบั เพ่ือน คณุ จะมีความ 13 6 2 1 1 4.3 ทกุ กระตือรือรน้ โดยไม่ตอ้ งใหเ้ พื่อนคอยเตือน 6 ครั้ง 5. คณุ รู้สึกภูมใิ จที่เพ่ือนร่วมห้องยอมรบั ความสามารถ 12 6 1 - 4.6 ทกุ และข้อจำกัด ของคุณ 3 ครง้ั 6. คณุ สามารถแสดงความรสู้ ึกยอมรบั และนบั ถือ เม่ือ 14 4 2 2 - 4.7 ทกุ เพือ่ นของคณุ ทำงานประสบความสำเร็จไดอ้ ย่างไมข่ วย 0 ครั้ง เขนิ 7. เมอ่ื มใี ครพดู อะไรกับคุณ คุณกล้าสบตาผู้สนทนา 17 8 2 2 1 4.2 ทกุ 6 ครงั้
18 8. การกล้าทักทายผอู้ ่ืนกอ่ น เปน็ เร่ืองท่ีคุณทำได้อยา่ ง 11 8 2 1 - 4.5 ทกุ ลำบากใจ 0 ครง้ั 9. คุณกลา้ ทีจ่ ะเป็นผ้นู ำกล่มุ ในการอภปิ ราย 12 6 2 2 - 4.2 ทุก 6 ครงั้ 10. การไดท้ ำงานกับเพ่ือน ทำใหป้ ฏิสมั พนั ธ์ด้าน 13 5 2 2 - 4.5 ทกุ ความรสู้ กึ ความคิดและการกระทำ กับเพ่ือนมีการ 0 ครั้ง พฒั นาขนึ้ เฉลี่ย 19. 7.4 1.8 1.2 0.5 4.4 ทกุ 10 0 0 0 4 ครั้ง ร้อยละ 63. 24. 6.0 4.0 1.6 66 66 0 0 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตารางที่ 2 ด้านการกระทำ พบว่าหลังจากใช้กระบวนการกลุ่ม นักเรียนมี พฤติกรรมกล้าที่จะกระทำในระดับทุกครั้ง ที่ 4.44 โดยในหัวข้อ คุณสามารถแสดงความรู้สึกยอมรับและนับถือ เม่อื เพ่ือนของคุณทำงานประสบความสำเรจ็ ได้อย่างไม่ขวยเขิน นักเรียนกล้าท่ีจะแสดงออก มากที่สุดในระดับ ทุก ครั้ง ที่ 4.70 โดยภาพรวมนักเรียนกล้าที่จะกระทำการแสดงออกที่ ร้อยละ 63.66 และไม้กล้าที่จะกระทำการ แสดงออก ทีร่ อ้ ยละ 1.66 ตาราง 3 ดา้ นการแสดงความคดิ เหน็ ระดบั พฤติกรรม ระดบั หัวขอ้ 54321 พฤติ กรรม 1. คุณชอบแสดงความคดิ เห็น 12 6 1 2 1 4.1 บ่อย 3 ครั้ง 2. เมื่อมีการอภิปรายในชนั้ เรียน คณุ จะแสดงความ 15 3 2 2 - 4.2 บ่อย 0 ครั้ง คดิ เหน็ ของคุณอย่างอิสระ 4.4 ทุก 0 ครั้ง 3. คณุ กลา้ แสดงความรสู้ ึกไม่สบายใจ หรอื ไมเ่ ห็นด้วย 10 8 2 2 - 4.3 ทุก 3 ครั้ง กบั บุคคลอ่ืน 4.5 ทกุ 3 ครงั้ 4. คณุ มีความม่ันคงในข้อคดิ เห็นของคณุ แมเ้ พื่อนใน 9 8 3 2 - กลุ่มจะไม่เหน็ ด้วย 5. การทำงานเปน็ กลุ่มทำให้คณุ รู้สกึ มีความคดิ 14 4 2 2 - สร้างสรรค์
19 6. เมื่อร่วมกันอภปิ รายกล่มุ ในชนั้ เรยี น คุณกลา้ 11 7 2 1 - 4.4 ทกุ วิพากษ์วิจารณ์ความคิดเหน็ ของคนอ่นื 3 ครั้ง 7. ขณะที่คุณกำลงั เข้าอภปิ รายกลุม่ อาจารย์ได้พูดสง่ิ ท่ี 16 2 2 1 1 4.2 ทกุ คณุ คดิ วา่ ไมเ่ ป็นความจรงิ คุณจะท้วงต่ออาจารย์ 3 คร้ัง 8. การได้ร่วมทำงานหรอื แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ กับ 14 5 2 1 - 4.6 ทุก เพอื่ นทำใหค้ ุณมีความเข้าใจในเนือ้ หาท่ีเรยี น 0 ครัง้ เฉลีย่ 17. 7.8 2.1 1.8 0.3 4.3 ทุก 75 7 2 7 7 5 ครงั้ รอ้ ยละ 59. 26. 7.0 6.2 1.2 16 23 6 3 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตารางท่ี 3 ด้านการแสดงความคิดเห็น พบวา่ หลงั จากใช้กระบวนการกลุม่ นกั เรยี นมีพฤติกรรมกล้าทจ่ี ะแสดงความคิดเหน็ ในระดับทุกคร้งั ท่ี 4.35 โดยในหวั ข้อ การได้ร่วมทำงานหรอื แลกเปล่ียนความคิดเห็นกบั เพือ่ นทำให้คุณมีความเข้าใจในเนื้อหาท่เี รียนนักเรียนกล้าที่จะแสดงออกดา้ นการแสดง ความคิดเหน็ มากทส่ี ุดในระดบั ทกุ ครัง้ ที่ 4.60 และในหัวขอ้ คณุ ชอบแสดงความคดิ เห็น น้อยท่สี ดุ ในระดับ บ่อยครง้ั ท่ี 4.13 โดยภาพรวมนักเรียนกลา้ ทจ่ี ะแสดงความคดิ เหน็ ท่ี ร้อยละ 59.16 และไม้กลา้ ท่ีจะแสดงความ คดิ เห็น ที่ร้อยละ 1.23
20 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ จากการศึกษาขอ้ มลู การวจิ ัยในชัน้ เรยี นเร่ือง การแกป้ ัญหานักศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลหาดคำ ทีม่ พี ฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในชนั้ เรยี นโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผู้วจิ ัยไดด้ ำเนนิ การวจิ ยั เชิงสำรวจ นกั ศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตำบลหาดคำ จำนวนประชากรทัง้ หมด23 คน โดยมี วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาการใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการแก้ปัญหานักเรยี นเรียนนักศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษา ตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ มีพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชน้ั เรยี น 2. เพื่อเปรียบเทียบผลของกระบวนการกลุม่ ที่มีตอ่ พฤติกรรมขาดความกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชนั้ เรยี น ก่อนการใช้กระบวนการกลมุ่ และหลงั การใช้กระบวนการกลมุ่ โดยใชเ้ คร่อื งมือ แบบสอบถามความคิดเห็นระดับ พฤติกรรม ของผ้เู รียนหลงั จากการจดั กระบวนการเรยี นรู้ด้วยวธิ กี ระบวนการกลุม่ และใช้สถติ ิคา่ เฉล่ยี กับร้อยละ ในการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการวจิ ัย การแก้ปัญหานกั ศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลหาดคำ ที่มีพฤติกรรมขาดความกล้า แสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ันเรียนรายวชิ านาฏศิลป์โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. ผลการจัดการเรียนรดู้ ้วยกระบวนการกลุ่มนักเรยี นมคี วามกล้าแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมใน การเรยี นรู้ท้งั 3 ดา้ น คือ ด้านการพดู ระดบั พฤติกรรม ท่ี 4.45 ระดบั ทุกคร้ัง ดา้ นการกระทำ ระดับพฤตกิ รรม ที่ 4.44 ระดบั ทุกคร้งั และด้านการแสดงความคิดเหน็ ระดบั พฤติกรรม ท่ี 4.35 2.ผลการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการกลุ่มนักเรยี นมีความกลา้ แสดงพฤติกรรมอยา่ งเหมาะสมในการ เรียนรเู้ ปรยี บเทียบก่อนการใช้กระบวนการกลมุ่ ทัง้ 3 ดา้ น พบวา่ ด้านการพูด นักเรียนมีระดับพฤติกรรมดขี ้นึ ที่ ร้อยละ 64.66 ดา้ นการกระทำ ท่รี อ้ ยละ 63.66 ด้านการแสดงความคิดเหน็ ท่ีร้อยละ 59.16 อภิปรายผล การวิจยั ครงั้ นเี้ ป็นการแก้ปัญหานักศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ ท่ีมีพฤติกรรมขาด ความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียนรายวิชานาฏศิลป์โดยใช้กระบวนการกลุ่ม นักศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในการเรียนรู้ ซึ่ง ศกึ ษาโดยการสงั เกตและสอบถามนักเรยี นพบวา่ สาเหตุของการท่ีทำใหน้ ักเรียนไม่กล้าแสดงออกในช้ันเรียนนั้นเกิด จากความขาดความม่ันใจในการตอบคำถาม นักเรียนไม่กลา้ แสดงความคิดเหน็ ดว้ ยกลัวว่าความคิดเห็นน้ันจะผิด หรือถูก ตรงประเด็นที่จะแสดงความคิดเห็นหรือไม่ อีกทั้งยังขาดความรู้ทีจ่ ะแสดงออก รวมทั้งความประหม่าใน การพดู กลัวจะถูกเพื่อนและครูหยอกล้อหรือตำหนิ ผ้วู ิจัยได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาดงั กล่าวโดยจัดการเรียนรู้โดย กระบวนการกลุ่ม ให้มีการฝึกปฏิบัติการพูด การกระทำ และการแสดงความคิดเห็นร่วมกันภายในกลุ่ม เพ่ือ พัฒนาให้นักเรียนกล้าที่จะแสดงออก โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา และมีการจัดให้นักเรียนได้มีการแสดงออกให้มาก ยิ่งข้ึนในโอกาสท่ีมีเวลาว่าง เพอื่ ให้นักเรยี นปรับตวั ในความม่ันใจในการแสดงออกทางศลิ ปวัฒนธรรม โดยมีผู้วิจัย เป็นผู้ถ่ายทอดและร่วมฝึกปฏิบัติ นอกเหนือจากการสอนในชั้นเรียน จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้ร่วมปฏิบัติ
21 กิจกรรมพบว่า นักเรียนมีพัฒนาการ มีความมั่นใจในการแสดงออกที่เหมาะสมยิ่งขึ้น นอกจากนี้เป็นการสร้าง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งครูผสู้ อนกับผู้เรยี นได้เป็นอย่างดี ทำใหผ้ ู้เรยี นมที ศั นคติที่ดี มคี วามมุง่ มั่นในการพัฒนาตนเอง เพือ่ เปน็ ศิลปนิ ผู้อนุรกั ษ์ อนั เป็นศิลปวฒั นธรรมของชาตติ อ่ ไป ประโยชนข์ องการวจิ ัย 1. นักเรียนมีวินัยในการเรยี น เห็นความสำคัญของการแสดงออก การฝึกฝนและการพัฒนาตนเองเพ่ือ ความกล้าแสดงออกอย่างมนั่ ใจ 2. กอ่ ให้เกิดการพัฒนาทักษะทางการเรยี นการสอน 3. สามารถแสดงออกได้อย่างเหมาะสม ตามเวลา โอกาส และสถานที่ 4. ไดร้ ับความสามัคคใี นกลมุ่ ของการทำงานร่วมกัน
22 ภาคผนวก
23 แบบสอบถามเพื่อการวจิ ยั เร่อื ง การแกป้ ญั หานักศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตำบลหาดคำ ทมี่ ีพฤตกิ รรมขาดความกล้า แสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชัน้ เรียน โดยใช้กระบวนการกลมุ่ คำชแี้ จง : แบบสอบถามนี้จัดทำขึ้นเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการทำวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการแก้ปัญหานักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลหาดคำ ที่มีพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมขาดการกล้าแสดงออกอย่ างเหมาะสมในชั้นเรียน โดยใชก้ ระบวนการกล่มุ โดยแบง่ ข้อคำถามออกเปน็ 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1ขอ้ มูลทวั่ ไป ตอนที่ 2 การศกึ ษาพฤติกรรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในชนั้ เรยี น โดยใชก้ ระบวนการกลุม่ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยขอความร่วมมือท่านตอบแบบสอบถามให้ครบทุกข้อตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ต่อโรงเรียน และข้อมูลดังกล่าวไม่มีผลกระทบใด ๆ ตอ่ นกั เรยี น ผ้วู ิจัยขอขอบคุณในความรว่ มมือมา ณ โอกาสนี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป หญงิ 1. เพศ ชาย ตอนที่ 2 การศกึ ษาพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในช้นั เรียน โดยใช้ กระบวนการกลุ่ม โปรดตอบทุก ๆ ขอ้ ลงในกระดาษคำตอบและในกรณีทส่ี ถานการณ์น้ันไมไ่ ด้ไดเ้ กิดขนึ้ กับท่าน ใหท้ ่าน สมมตวิ ่าถ้าสถานการณน์ นั้ เกิดขึ้นกับท่าน ทา่ นจะมีความรู้สกึ หรอื ปฏิบัติอย่างไร พฤตกิ รรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ันเรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม (ดา้ นการพดู ) หัวข้อ ระดบั พฤตกิ รรม 1 5432 1. คณุ พร้อมทีจ่ ะชมเชยหรอื ยกยอ่ งสรรเสรญิ เพ่ือน 2. คณุ พรอ้ มท่ีจะขอรอ้ งให้เพอื่ นช่วยทำอะไรใหค้ ุณ 3. ถา้ เพ่อื นของคุณแต่งกายด้วยชุดใหม่ ซึ่งคุณเหน็ วา่ สวย คณุ จะบอกเขา ใหท้ ราบว่าเขาแต่งกายสวย 4. ถ้าเพอ่ื นขอร้องให้คณุ ทำในสิ่งท่คี ณุ คิดวา่ เป็นการขอร้องที่ไม่มีเหตผุ ล สมควร คุณกล้าทจี่ ะบอกปฏิเสธ
24 5. ถ้าเพือ่ นทำอะไรเพ่ือคุณ คุณจะบอกให้เขาทราบว่าคุณซาบซ้ึงเพยี งใด 6. เมอ่ื มีใครแสดงความไม่ยุติธรรมต่อคณุ คุณกลา้ ท่ีจะพดู บางส่ิง ท่ีเกย่ี วกับเร่ืองนนั้ กบั เขา 7. คณุ กล้าทจี่ ะถามปัญหาในชั้นเรียน 8. คณุ สามารถส่อื สารกับเพือ่ นของคุณไดอ้ ยา่ งเปิดเผยตรงไปตรงมา 9. เมือ่ อาจารย์ให้คณุ ออกมาพดู หนา้ ชั้นเรียน คุณกล้าที่จะพดู เสียงได้อยา่ ง ปกติ ไม่ เบาหรือพูดเรว็ เกินไป 10. คณุ สามารถพดู เร่ืองเก่ยี วกบั ตวั คุณเองให้เพือ่ นฟงั ไดอ้ ย่างไม่ขวยเขิน พฤตกิ รรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในช้นั เรยี น โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม (ดา้ นการกระทำ) หวั ข้อ ระดับพฤตกิ รรม 1 5432 1. ขณะที่คณุ กำลงั เรียนและเพื่อรว่ มห้องของคุณสง่ เสยี งดงั มากเกินไป คุณจะขอร้องให้เขาหยดุ ทำเสียงดงั 2. คุณเขา้ รว่ มสงั คมกับเพอ่ื น โดยไมก่ ลัววา่ จะทำหรือพดู ในสิ่งท่ผี ิด ๆ 3. เมอ่ื คุณทำงานร่วมกบั เพื่อน คุณจะร้สู ึกมีความเชื่อม่ันในการคิดหรือการ กระทำของตนเอง 4. เมื่อมีการทำงานรว่ มกับเพ่ือน คณุ จะมีความกระตอื รือร้น โดยไมต่ ้องให้ เพื่อนคอยเตือน 5. คุณรสู้ กึ ภูมใิ จทีเ่ พ่ือนร่วมห้องยอมรับความสามารถและข้อจำกัด ของคุณ 6. คุณสามารถแสดงความรสู้ ึกยอมรับและนับถอื เม่ือเพือ่ นของคณุ ทำงาน ประสบความสำเรจ็ ได้อยา่ งไม่ขวยเขิน 7. เม่อื มใี ครพดู อะไรกบั คณุ คุณกล้าสบตาผสู้ นทนา 8. การกลา้ ทกั ทายผู้อ่ืนก่อน เป็นเรอื่ งที่คุณทำได้อย่างลำบากใจ 9. คุณกลา้ ทจี่ ะเปน็ ผนู้ ำกลมุ่ ในการอภิปราย 10. การได้ทำงานกับเพื่อน ทำให้ปฏิสมั พันธด์ า้ นความรูส้ ึก ความคดิ และการ กระทำ กบั เพ่ือนมีการพฒั นาข้นึ
25 พฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชนั้ เรยี น โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม (ด้านการแสดงความคิดเห็น) หัวข้อ 5 ระดับความคิดเหน็ 1 432 1. คุณชอบแสดงความคดิ เห็น 2. เม่อื มีการอภปิ รายในชั้นเรียน คุณจะแสดงความคิดเห็นของคณุ อย่าง อสิ ระ 3. คุณกลา้ แสดงความรู้สกึ ไม่สบายใจ หรือไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั บคุ คลอ่ืน 4. คณุ มีความมั่นคงในขอ้ คดิ เหน็ ของคณุ แม้เพ่ือนในกลุ่มจะไม่เหน็ ด้วย 5. การทำงานเป็นกลุ่มทำให้คณุ ร้สู กึ มีความคิดสรา้ งสรรค์ 6. เมือ่ ร่วมกันอภิปรายกลมุ่ ในชัน้ เรยี น คณุ กลา้ วพิ ากษ์วิจารณ์ความคิดเห็น ของคนอ่ืน 7. ขณะท่ีคุณกำลังเข้าอภิปรายกลมุ่ อาจารย์ได้พูดส่งิ ท่ีคุณคดิ วา่ ไม่เปน็ ความจริง คณุ จะทว้ งต่ออาจารย์ 8. การไดร้ ว่ มทำงานหรือแลกเปล่ียนความคดิ เห็นกบั เพื่อนทำใหค้ ณุ มีความ เขา้ ใจในเน้ือหาท่เี รยี น ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………
26 บรรณานกุ รม กรมวชิ าการ. (2544). หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน. พิมพค์ รัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : กระทรวงฯ. . (2545). แนวทางการจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : กรมฯ. . (2545). หลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ : กรมฯ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2544). หลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : กระทรวงฯ. คมเพชร ฉตั รศุภกิล. (2530). กจิ กรรมกลมุ่ ในโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. จรูญศรี วรี ะวานชิ . การสอนและการจัดการแสดง. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา, 2526. จำเนยี ร ศลิ ปะวานิช. (2556). หลกั และวธิ สี อน. กรุงเทพฯ : เจรญิ ร่งุ เรอื งการพิมพ.์ ชะลูด น่ิมเสมอ. องค์ประกอบศิลป.์ กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ , 2542. ชาญณรงค์ พรรงุ่ โรจน.์ การวิจัยทางศลิ ปะ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543.
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: