หนว่ ยที่ ๖ เร่ือง วัฒนธรรมงานทัศนศลิ ป์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๗ เร่อื ง วฒั นธรรมงานศลิ ป์ (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) รหัสวชิ า ศ ๑๔๑๐๑ รายวชิ า ทศั นศลิ ป์ ๔ ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ผสู้ อน นายฮาดี อาแวกะจิ ตำแหน่ง ครู (คศ.๑) นางสาววรรษมล บตุ รเผียน นิสิตฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู นางสาวสุกญั ญา สวุ รรณมณี นสิ ติ ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ โรงเรยี นอนุบาลสงขลา สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธกิ าร
แผนการจัดการเรยี นรู้รายคาบ รหสั วิชา ศ ๑๔๑๐๑ ช่ือวิชา ทศั นศลิ ป์ ป.๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ หนว่ ยการเรยี นรู้เร่อื ง วัฒนธรรมงานทศั นศิลป์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ เรื่อง วฒั นธรรมงานทศั นศลิ ป์ (ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ) เวลา ๑ ช่วั โมง วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน/เทคนิคการสอนที่ใช้ อภปิ ราย, บรรยาย ผสู้ อน นายฮาดี อาแวกะจิ, นางสาววรรษมล บตุ รเผยี น, นางสาวสกุ ัญญา สวุ รรณมิณี สปั ดาหท์ ่ี ๑๓ วัน ศุกร์ ท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕ รายวิชาพ้ืนฐาน มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างทศั นศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีเป็น มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล ตัวช้ีวัด ป ๔/๑ ระบแุ ละอภิปรายเก่ียวกบั งานทศั นศลิ ป์ และงานเฉลิมฉลองของวัฒนธรรมในท้องถิ่น ป ๔/๒ บรรยายเก่ียวกบั งานทศั นศิลปท์ ี่มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ สาระสำคัญ งานทัศนศิลป์ เป็นงานที่มีคุณค่าต่อคนไทยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นงานที่มีความผูกพัน เชื่อมโยง กับวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นต่าง ๆ ทุกภาคของประเทศไทย ในสมัยโบราณช่างได้ใช้วัสดุที่มีอยู่ใน ธรรมชาติ สรา้ งผลงานที่เชื่อมโยงกับขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรมในทอ้ งถ่ิน เกย่ี วขอ้ งกับเหตุการณ์งาน พธิ กี รรมท่มี ขี ้ึนในทอ้ งถน่ิ น้ัน ๆ แต่ละภาคของประเทศไทย มีวัฒนธรรม ประเพณีที่คล้ายคลึงกัน แต่จะแตกต่างกนั ในแนวทางปฏบิ ตั ิ ตามคติความเชื่อ ช่างพน้ื บา้ นของแตล่ ะท้องถิ่นได้ออกแบบผลงานให้มีความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน โดยใช้ ภูมิปัญญาผ่านทางผลงาน จนออกมาสวยงามเปน็ ทีน่ ่าช่ืนชม จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K : Knowledge) นกั เรยี นบรรยายเก่ยี วกับงานทัศนศิลปท์ ม่ี าจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ได้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P : Practice) นักเรียนวาดภาพหรือหาภาพผลงานทางทัศนศิลปข์ องไทยทไ่ี ดร้ บั จากวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A: Attitude) นกั เรยี นไดเ้ ห็นคุณคา่ ของงานทัศนศิลป์ท่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมวาดภาพหรือหาภาพผลงานทางทัศนศิลป์ของไทยท่ไี ด้รบั จากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ซื่อสัตย์สุจริต ม่งุ ม่ันในการทำงาน มีวินยั รักความเป็นไทย ใฝเ่ รยี นรู้ มีจติ สาธารณะ คุณลกั ษณะของผเู้ รยี น ตามหลกั สตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากล เปน็ เลศิ วชิ าการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคดิ ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก เอกลกั ษณ์ของโรงเรียนอนบุ าลสงขลา โรงเรยี นอนุบาลสงขลา เปน็ โรงเรยี นแห่งการเรียนรทู้ ี่ทันสมยั บุคลากรและนกั เรยี นมีคุณภาพโดย การขับเคล่ือนของเครอื ข่าย สคู่ วามพร้อมในระดบั มาตรฐานสากล ดา้ นการ อ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น การอ่าน : นักเรียนสามารถอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศเสริมประสบการณ์จากสื่อประเภทต่าง ๆ อยู่ระดับคณุ ภาพ ดี-ดีเยี่ยม . การคิดวิเคราะห์ : นักเรียนสามารถจบั ประเด็นสำคัญเปรียบเทียบเชื่อมโยงความเป็นเหตุเปน็ ผล จากเรื่อง สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเรื่องราว เหตุการณ์ของเรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นต่อเรื่องท่ี อ่านโดยมีเหตุผลสนับสนนุ อยูร่ ะดบั คุณภาพ ดี-ดีเย่ยี ม . การเขียน : สามารถถ่ายทอดความเข้าใจ ความคิดเห็น คุณค่าจากเรื่องที่อ่านโดยการเขียน สามารถถ่ายทอดความเข้าใจ ความคดิ เห็น คณุ คา่ จากเรอื่ งท่อี ่านโดยการเขยี น อยู่ระดบั คณุ ภาพ ดี-ดเี ย่ยี ม . ด้านสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ความสามารถในการส่ือสาร : นักเรียนใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อเปลยี่ นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและ สังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลือกรบั หรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร
ดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการสื่อสารทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ี มตี ่อตนเองและสงั คม อยูร่ ะดบั คุณภาพ ดี-ดเี ยยี่ ม . ความสามารถในการคิด : นักเรียนรจู้ ักคิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดอยา่ งสร้างสรรค์ คิดอย่าง มีวิจารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับ ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม อยรู่ ะดบั คณุ ภาพ ดี-ดเี ยี่ยม . ความสามารถในการแกป้ ญั หา : นกั เรียนเข้าใจความสัมพนั ธแ์ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึง ผลกระทบที่เกิดข้ึนตอ่ ตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม อยรู่ ะดับคณุ ภาพ ดี-ดีเย่ียม . ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : นักเรยี นใช้กระบวนการต่าง ๆ ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน เรียนรู้ด้วยตนเองต่อเนื่อง ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล จัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆอย่างเหมาะสม รู้จักปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม สภาพแวดล้อม และหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ท่ีสง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อน่ื อยรู่ ะดับคณุ ภาพ ดี-ดี เย่ยี ม . ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : นักเรียนรู้จักเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสมและมคี ณุ ธรรม อยูร่ ะดับคุณภาพ ดี-ดีเยี่ยม . ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. กจิ กรรมตอบคำถามผ่าน YouTube and Facebook Live การประเมนิ ผู้ประเมนิ ผบู้ ริหาร ครผู ้สู อน นักเรียน ผปู้ กครอง
สิง่ ทต่ี ้องประเมนิ วิธีการวดั ผล ประเดน็ ที่ประเมิน เกณฑก์ ารให้คะแนน สังเกตพฤติกรรม คณุ ลกั ษณะองั พงึ (A) ประเมนิ พฤติกรรม ๐ - ๔ ไมผ่ า่ น ประสงค์ ๕ - ๖ ผ่าน ๗ - ๘ ดี ๙ - ๑๐ ดีเยยี่ ม แบบประเมนิ พฤติกรรม (4) ระดับคุณภาพ (3) ไดค้ ะแนนรวมระหว่าง ๙-๑๐ คะแนน ระดับคุณภาพ ดเี ยี่ยม (2) ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๗-๘ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ดี (1) ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๕-๖ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผ่าน ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๐-๔ คะแนน ระดบั คุณภาพ ไมผ่ ่าน เกณฑ์การผา่ น ต้งั แตร่ ะดบั คุณภาพ 2 ขึน้ ไป ผ่าน เกณฑ์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ คาบที่ ๔ จำนวน ๑ ชัว่ โมง ✓ ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น (Introduction) - ครูทักทายสนทนากับนักเรียนทาง YouTube and Facebook Live ผ่านช่องโรงเรียน อนุบาลสงขลา โดยการสง่ ข้อความ ร่วมกับนกั เรยี นอย่างสนุกสนานก่อนเขา้ สู่บทเรียน - ครทู บทวนเนอ้ื หาเดมิ เมอื่ สปั ดาหท์ แี่ ลว้ เรื่อง วฒั นธรรมทางทศั นศิลป์ (ภาคกลาง) ✓ ขั้นสอน (Body) - ครนู ำเข้าสู่เนือ้ หา เรอ่ื งวฒั นธรรมงานทัศนศลิ ป์ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (ภาคอสี าน) - ครูนำภาพงานทัศนศิลป์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) เช่น งานแกะลวดลาย เทียนพรรษา และผ้าขาวม้า มาให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรียนพิจารณาว่าภาพต่าง ๆ เป็นงานทัศนศิลป์ของ ภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (ภาคอสี าน) ในวัฒนธรรมใด และครคู อยตรวจสอบความถกู ตอ้ ง - ครลู องให้นกั เรียนหาภาพวัฒนธรรมทัศนศลิ ป์ ภาคใต้ ในการเตรยี มความพรอ้ มในการเรียน คาบถดั ไป ✓ ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล (Conclusion & Assessment) - ครูและนักเรียนร่วมสรุปกิจกรรม เรื่องวัฒนธรรมงานทัศนศิลป์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอสี าน) สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. Power Point เร่อื ง วฒั นธรรมงานศลิ ป์ ๒. กระดาษ A๔ ๓. สีชอล์ก ๔. อปุ กรณเ์ คร่ืองเขียน ๕. กระดาษใชว้ าดภาพระบายสี ๖. กระดาษชำระ
ความคดิ เห็นของผู้บรหิ าร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ลงชื่อ………………………………….………..ผู้ประเมนิ ( นางภทั ร์ชนดิ ร์ ภทั รานนท์ ) รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลสงขลา บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ ๑. ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ อืน่ ๆ (K : Knowledge) (P : Practice) (A: Attitude) …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. ๒. ปัญหา/อปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ลงชอื่ …………………………………….ผ้บู นั ทกึ ลงช่ือ…………………………………….ผบู้ นั ทึก นางสาวสุกญั ญา สวุ รรณมณี นางสาววรรษมล บุตรเผยี น นสิ ิตฝกึ ประสบการณ์ วชิ าชพี ครู นสิ ติ ฝึกประสบการณ์ วชิ าชีพครู โรงเรยี นอนบุ าลสงขลา โรงเรยี นอนบุ าลสงขลา ลงชอ่ื …………………………………….ครูพีเ่ ลยี้ ง (นายฮาดี อาแวกะจิ) ครโู รงเรียนอนบุ าลสงขลา
ภาคผนวก หลงั แผนการจดั ประสบการณ์เรียนรู้
เอกสารประกอบการสอน ชุดท่ี ๑
เอกสารประกอบการสอน ชุดท่ี ๒ กจิ กรรมหาภาพวาดภาพระบายสชี อลก์ ช้นิ งานวัฒนธรรมงานศลิ ป์ ช่อื นามสกุล ช้นั เลขท่ี .
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: