Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้หน่วยที่ 11 วงจรขยายแบบต่างๆ

ใบความรู้หน่วยที่ 11 วงจรขยายแบบต่างๆ

Published by pongthanakom, 2017-07-16 22:39:33

Description: ใบความรู้หน่วยที่ 11 วงจรขยายแบบต่างๆ

Search

Read the Text Version

บทที่ 11 วงจรขยายแบบต่างๆ11.1 บทนา การขยายสัญญาณเสียงให้มีกาลังแรงสูงขึ้น หรือให้ได้สัญญาณเสียงที่มีความแรงมากข้ึน ซึ่งจะมีผลทาให้ได้สัญญาณเสียงที่มีความดังมากขึ้น แต่ต้องคานึงถึงในเรื่องของวงจรขยายเป็นส่วนสาคัญด้วย หากจัดวงจรขยายไม่เหมาะสมแล้ว จะทาให้สัญญาณเกิดความผิดเพี้ยน (Distortion) เป็นผลทาให้เสียงท่ีออกมามีความผิดเพี้ยนท้ังน้ีเนื่องจากทรานซิสเตอร์ท่ีนามาใช้ในการขยายสัญญาณเสียง มีจุดทางาน (Operating Point) เฉพาะซึ่งเป็นส่วนสาคัญมากทีต่ ้องพจิ ารณา11.2 ดซี โี หลดไลน์ (DC Load Line) ดีซีโหลดไลน์ (DC Load Line) คือกราฟท่ีแสดงจุดทางานของทรานซิสเตอร์ โดยมีลักษณะดังแสดงตามรูปที่ 11.1 รูปท่ี 11.1 ดซี โี หลดไลน์ จากรูปที่ 11.1 แสดงเสน้ ดีซโี หลดไลน์ท่ีแสดงจุดการทางานของทรานซสิ เตอร์ จุดท่ีสาคญั คือจดุ อม่ิ ตวั ของทรานซิสเตอร์ (Saturation Point) และจุดคัตออฟ (Cutoff) ดังไดก้ ล่าวมาแล้วในบทท่ี 6 แตใ่ นส่วนท่ตี ้องพจิ ารณาในรปู ท่ี 11.1 คอื สว่ นของเสน้ ดซี โี หลดไลน์ ซึ่งจะแสดงจุดทางานของทรานซิสเตอร์บนเสน้ ดีซโี หลดไลนน์ ี้และเรยี กจดุ ทางาน (Operating Point) นว้ี ่าจุด Q (Quiescent Point) โดยที่จุด Q จะถูกวางท่ตี าแหนง่ ใดก็ได้บนเสน้ ดีซโี หลดไลน์ แตจ่ ะใหผ้ ลการทางานของทรานซิสเตอร์ท่ีแตกตา่ งกนั ไป และจะสง่ ผลถงึ การขยายสญั ญาณ ท่ีมีลักษณะแตกต่างกนั ไป

ดังน้ันเสน้ ดีซีโหลดไลน์ จึงเป็นเสน้ ท่ีแสดงจุดการทางานของทรานซสิ เตอร์ โดยกาหนดจากคา่ แรงดันและกระแสท่ีจ่ายให้กบั ทรานซิสเตอร์ ซ่งึ หมายถงึ การไบแอสให้กับทรานซสิ เตอรอ์ ยา่ งเหมาะสม จึงจะสามารถนาไปใช้ในวงจรขยายสัญญาณเพื่อให้ไดส้ ัญญาณท่ีมีความแรงสงู ข้ึน และสญั ญาณไม่เกดิ ความผิดเพ้ยี น11.3 วงจรทรานซสิ เตอรแ์ ละเสน้ ดซี ีโหลดไลน์ จากรูปที่ 11.1 ในวงจรทรานซิสเตอร์ที่ใช้ขยายสัญญาณแบบ คอมมอนอีมติ เตอรส์ ามารถหาความสัมพันธ์กบั กราฟแสดงคุณสมบัติการทางานของทรานซสิ เตอร์และเส้นดีซีโหลดไลนไ์ ด้ดงั น้ี จากการคานวณในเบื้องต้น ทาให้ทรานว่าการจัดไบแอสทรานซิสเตอร์ ที่ทาให้ค่าแรงดัน VCE มีค่าสูงจะทาให้ทรานซิสเตอร์อยู่ในสภาวะ คัตออฟ และการจัดไบแอสทรานซิสเตอร์ ท่ีทาให้ค่ากระแสของ IC มีค่าสูงทรานซิสเตอรจ์ ะอยใู่ นสภาวะอิ่มตัว (Saturation) ดงั น้นั หากต้องการให้ทรานซิสเตอร์ ทาการขยายสญั ญาณโดยไม่เกดิ ความผดิ เพี้ยน ต้องจดั ไบแอสทรานซิสเตอร์ ให้อย่ใู นช่วงแอคตีฟ (Active) จากกราฟในรูปที่ 11.1 จะพบว่าจุดที่อยู่ก่ึงกลางของเส้นดีซีโหลดไลน์ คือจุดทางานของทรานซิสเตอร์ (Operating Point) หรือจุด Q ซ่ึงจะทาให้ทรานซิสเตอร์สามารถขยายสญั ญาณได้อย่างสมบรู ณโ์ ดยไมม่ ีการผดิ เพ้ียน11.4 การแบ่งคลาสของการขยายสญั ญาณเสียง วงจรขยายสญั ญาณเสยี ง ถกู จัดแบ่งออกเป็นชนิดตา่ งๆ ซึ่งเรยี กวา่ คลาส (Class) เหตุท่ีมกี ารแบง่ ออกเป็นคลาสนนั้ เพราะการจดั วงจรขยายจะถกู จัดไปตามจุดการทางาน (Operating Point) ของทรานซิสเตอร์ โดยแบ่งออกเปน็ คลาสตา่ งๆ ดงั น้ี 1. วงจรขยายคลาสเอ (Class A Amplifier) 2. วงจรขยายคลาสบี (Class B Amplifier) 3. วงจรขยายคลาสเอบี (Class AB Amplifier) 4. วงจรขยายคลาสซี (Class C Amplifier) 5. วงจรขยายคลาสดี (Class D Amplifier) 11.4.1 วงจรขยายคลาสเอ (Class A Amplifier)

วงจรขยายคลาสเอ ถูกออกแบบให้มีจุดทางาน หรือจุด Q อยู่ในช่วงแอ็กตีฟ (Active) โดยเลือกจุด Q อยู่ท่ีตาแหนง่ กึง่ กลางของเสน้ ดีซีโหลดไลน์ ทาใหท้ รานซิสเตอรม์ ีการขยายสัญญาณในเฟสบวก และสัญญาณในเฟสลบ มกี ารขยายเท่ากัน มผี ลทาใหส้ ญั ญาณไม่เกิดความผดิ เพ้ียน (Distortion) ดังแสดงตามรปู ที่ 11.2 รูปที่ 11.2 จุดทางานของคลาสเอ จากรูปที่ 11.2 จะพบว่าสัญญาณทางอินพุต และสัญญาณทางเอาต์พุตมีรูปร่างท่ีเหมือนกัน ซึ่งหมายถึงสัญญาณทางเอาต์พุตท่ีได้น้ันไม่เกิดความผิดเพี้ยน วงจรขยายในคลาสเอมีอัตราการขยายค่อนข้างต่ามีประสทิ ธิภาพ (Efficiency) การขยายประมาณ 25-50% จึงต้องหลีกเล่ียงการป้อนสัญญาณทางอินพตุ ทีม่ คี วามแรงมาก ซ่ึงจะมผี ลทาให้สัญญาณทางเอาต์พุตเกิดความผิดเพย้ี นได้ การจัดวงจรขยายในคลาสเอน้ีเป็นช่วงที่ทาให้เกิดกระแสคอลเลคเตอร์ไหลในวงจรตลอดเวลา แม้จะไม่มีสัญญาณทางอินพุตป้อนเข้ามาก็ตาม จึงเป็นข้อเสียอย่างหนึ่งของวงจรขยายในคลาสเอ คือเกิดความร้อนสูงมากแต่ในส่วนข้อดีจะให้สัญญาณท่ีไม่เกิดความผิดเพ้ียน จึงทาให้ได้คุณภาพเสียงที่ดี ดังแสดงวงจรตัวอย่างในรูปท่ี11.3

รูปที่ 11.3 วงจรขยายคลาสเอ 11.4.2 วงจรขยายคลาสบี (Class B Amplifier) วงจรขยายคลาสบี ถูกออกแบบให้จุดทางานหรือจุด Q อยู่ท่ีจุดคัตออฟ (Cutoff) พอดี ทาให้ทรานซสิ เตอร์มีการขยายสัญญาณเพียงเฟสเดียวเท่าน้ัน มีผลทาให้สัญญาณเกิดความผิดเพ้ียน (Distortion) อย่างมาก ดังแสดงตามรปู ที่ 11.4 รูปที่ 11.4 จดุ ทางานของคลาสบี จากรูปที่ 11.4 จะพบว่าสัญญาณทางอินพุตที่ป้อนเข้าไปแล้วมีผลทาให้สัญญาณเอาต์พุตมีรูปสัญญาณท่ีถูกขยายเพียงเฟสเดียว ส่วนสัญญาณอีกเฟสหน่ึงน้ันจะไม่ถูกขยายออกมา นั่นคือความผิดเพ้ียนที่เกิดข้ึน แต่สญั ญาณทางเอาต์พุตสามารถขยายสัญญาณได้ค่อนขา้ งสูง ซ่ึงมีประสิทธภิ าพ (Efficiency) การขยายประมาณ 75-78.5% ซ่ึงสามารถนาไปจัดทาเป็นวงจรขยายกาลัง (Power Amplifier) ได้ ส่วนปัญหาในการขยายสัญญาณได้เพยี งเฟสเดียวนนั้ สามารถแก้ไขได้ โดยจดั วงจรขยายเป็นแบบ พุช-พูล (Push-Pull Amplifier) วงจรขยายแบบพชุ -พลู (Push-Pull Amplifier) จากปัญหาของการเกดิ ความผิดเพ้ยี นในการขยายสัญญาณไดเ้ พยี งเฟสเดียวในวงจรขยายคลาสบีสามารถแกไ้ ขปัญหา โดยใชว้ งจรขยยแบบพุช-พูล ดังแสดงบลอ็ กไดอะแกรมตามรูปท่ี 11.5

รปู ที่ 11.5 บลอ็ กไดอะแกรมการขยายแบบพชุ -พูล จากรูปที่ 11.5 สัญญาณทางอินพุตท่ีป้อนเข้าสู่วงจรขยาย ถูกแยกเฟสบวกและเฟสลบของสัญญาณป้อนเข้าสู่วงจรขยายสัญญาณที่จัดแยกไว้เฉพาะในการขยายสัญญาณของเฟสบวกและเฟสลบ โดยแต่ละวงจรจะทาการขยายสัญญาณในคร่ึงไซเกิลบวก และครึ่งไซเกิลลบ แล้วนาสัญญาณทถี่ ูกขยายแต่ละครึ่งไซเกิลมาต่อรวมกันทางเอาตพ์ ตุ แลว้ สง่ ออกไปยังโหลดท่ลี าโพง รปู ที่ 11.6 วงจรขยายแบบพุช-พูล จากรปู ท่ี 11.6 แสดงวงจรขยายแบบคลาสบีพุช-พูล (Class B Push-Pull Amplifier) สญั ญาณทางอินพุตจะถูกกลบั เฟสโดยเฟสสปลิตทรานสฟอร์เมอร์ (Phase Splitting Transformer)โดยมสี ัญญาณในเฟสบวกสง่ ไปทาการขยายโดยทรานซิสเตอร์ Q1 ส่วนสญั ญาณในเฟสลบส่งไปทาการขยายโดยทรานซิสเตอร์ Q2 สญั ญาณจาก Q1และ Q2 ทีถ่ ูกขยายแล้ว จะส่งไปให้กับเอาต์พุตทรานสฟอร์เมอร์(Output Transformer) และได้สัญญาณทงั้ เฟสบวกและเฟสลบมาต่อรวมกันทีเ่ อาต์พุตทรานสฟอรเ์ มอร์ครบเฟสของสัญญาณเพื่อส่งใหก้ ับโหลดที่ลาโพง ผลจากการใช้วงจรขยายเป็นแบบ พชุ -พูล สามารถชว่ ยให้ขยายสัญญาณได้ครบทั้งเฟสบวกและเฟสลบเป็นการแก้ปัญหาการเกิดความผิดเพ้ยี นของการขยายสัญญาณได้เพยี งเฟสเดียวไดส้ าเรจ็ แต่ยงั พบกบั ปัญหาสัญญาณทางเอาต์พุต ในสญั ญาณช่วงรอยต่อระหวา่ งเฟสบวกกับเฟสลบ มีรอยต่อของสัญญาณเกิดความผิดเพยี้ นขนึ้ เรยี กวา่ ครอสโอเวอรด์ ิสทรอชนั่ (Crossover Distortion) ดงั แสดงตามรูปที่ 11.7

รูปท่ี 11.7 ครอสโอเวอร์ดสิ ทรอช่นั วงจรขยายคลาสบีแบบ พชุ -พูล จะถกู นาไปใชใ้ นวงจรขยายกาลงั (Power Amplifier) และมีการจดัวงจรขยายพุช-พูลในแบบต่างๆ เพอื่ แกป้ ญั หาครอสโอเวอร์ดสิ ทรอชน่ั ดังวงจรตัวอย่างตามรปู ท่ี 11.8 รูปท่ี 11.8 วงจรขยายคลาสมีแบบพชุ -พูล 11.4.3 วงจรขยายคลาสเอบี (Class AB Amplifier) วงจรขยายคลาสเอบี ถูกออกแบบให้จุดทางาน (Operating Point) หรือจุด Q (Q Point) อยู่ระหว่างคลาสเอ กับ คลาสบี ซ่ึงอยู่สูงกว่าจุดคัตออฟเล็กน้อย เป็นผลทาให้ทรานซิสเตอร์ขยายสัญญาณในเฟสใดเฟสหน่ึงได้เต็มเฟส ส่วนอีกเฟสหนึ่งจะถูกขยายได้ไม่เต็มเฟสมีผลทาให้สัญญาณเกิดความผิดเพี้ยน (Distortion)เกดิ ข้นึ ดงั แสดงตามรปู ท่ี 11.9

รูปท่ี 11.9 จุดทางานของคลาสเอบี จากรูปท่ี 11.9 จะพบว่าสัญญาณทางอินพุตที่ป้อนเข้าไปแล้วมีผลทาให้สัญญาณเอาต์พุต ถูกขยายได้เต็มเพียงเฟสเดียวเท่านนั้ ส่วนสัญญาณอีกเฟสหน่ึงนั้นถกู ขยายสัญญาณไดไ้ ม่เต็มเฟส (สัญญาณถกู คลิปไปในบางส่วน)น่ันคอื ความผดิ เพ้ียนทเ่ี กิดขน้ึ แตส่ ัญญาณทางเอาต์พุตสามารถขยายสญั ญาณไดม้ ีความแรงค่อนขา้ งสงู เชน่ กนั ซ่งึ มีประสิทธิภาพ (Efficiency) การขยายประมาณ 65% ซ่ึงสามารถนาไปจัดทาเป็นวงจรขยายกาลัง (PowerAmplifier) ได้ ส่วนปัญหาในการขยายสัญญาณได้ไม่เต็มเฟสของสัญญาณในอีกเฟสหนึ่งน้ัน ทาการแก้ไขโดยใช้วงจรขยายสัญญาณแบบพุช-พูล (Push-Pull Amplifier) เช่นเดียวกับคลาสบี ดังแสดงวงจรตัวอย่างตามรูปที่11.10 รปู ที่ 11.10 วงจรขยายคลาสเอบีแบบ พชุ -พลู 11.4.4 วงจรขยายคลาสซี (Class C Amplifier) วงจรขยายคลาสซี ถูกออกแบบให้มีจุดทางาน(Operating Point)หรือจุด Q (Q Point) อยู่ในตาแหน่งต่ากว่าจุดคัตออฟ ทาให้ทรานซิสเตอร์มีการขยายสัญญาณได้เพียงเฟสเดียวแต่ไม่เต็มเฟส มีผลทาให้สญั ญาณเกิดความผิดเพีย้ นอย่างมาก ดังแสดงตามรูปที่ 11.11

รูปที่ 11.11 จดุ ทางานของคลาสซี จากรูป 11.11 หากพิจารณาตามรูปสัญญาณจะพบว่าสัญญาณทางอินพุตท่ีป้อนเข้าไปแล้ว มีผลทาให้สัญญาณทางเอาต์พุตมีรูปร่างสัญญาณที่ถูกขยายได้เพียงเฟสเดียวแต่ไม่เต็มเฟส เนื่องจากสัญญาณบางส่วนในเฟสเดียวกันน้ีกับสัญญาณอีกเฟสหนึง่ วางอยตู่ ่ากว่าจุดคตั ออฟ ทรานซิสเตอรจ์ ะไมท่ างานทาให้สัญญาณทางด้านเอาต์พุตถูกตัดออกไปมีผลทาให้รูปร่างของสัญญาณมีความผิดเพี้ยนอย่างมาก หากพิจารณาถึงการขยายสัญญาณวงจรขยายคลาสซีนี้มีการขยายสัญญาณได้สูงมาก ซ่ึงมีประสิทธิภาพ (Efficiency) การขยายประมาณ 90 % นั่นคือขยายสัญญาณได้กาลงั สงู ทสี่ ุดเมื่อเปรยี บเทียบกับคลาสต่าง ๆ ท่ีผา่ นมา แต่วงจรขยายในคลาสซีนจี้ ะไม่นาไปใช้กับวงจรขยายสัญญาณเสียงเน่ืองจากเกิดความผิดเพ้ียนสูงมาก แต่มีความสามารถในการขยายสัญญาณได้สูงมากจึงนาเอาวงจรขยายคลาสซีไปใช้กับวงจรขยายท่ีเก่ียวกับความถี่วิทยุ(Radio Frequrncy : RF) หรือนาไปใช้กับวงจรเคร่อื งส่งวิทยุต่าง ๆ ดังวงจรตามรูปท่ี 11.12 รปู ที่ 11.12 วงจรขยายคลาสซี จากรปู ท่ี 11.12 เปน็ วงจรขยายแบบคลาสซี หรือวงจรจนู ความถี่วทิ ยุ (Class C Amplifier with aTuned Circuit) หรอื วงจรแทงก์ (Tunk Circuit) ทีใ่ ช้ในวงจรเคร่อื งส่งวทิ ยุ

11.4.5 วงจรขยายคลาสดี (Class D Amplifier) วงจรขยายคลาสดี เป็นวงจรขยายสัญญาณท่ีมีความแตกต่างไปจากคลาสเอคลาสบี คลาสเอบี และคลาสซี อย่างมาก ทั้งนี้เน่ืองจากวงจรขยายในคลาสดีไม่ได้นาเอาสัญญาณทางอินพุตมาขยายสัญญาณให้แรงข้ึนแล้วส่งออกทางเอาตพ์ ตุ เหมอื นกบั คลาสตา่ ง ๆ ที่กล่าวมาแล้วขา้ งตน้ โดยหลกั การทางานจะนาเอาสัญญาณทางอนิ พุตมาแปลงสัญญาณให้อยู่ในรูปส่ีเหลี่ยม (Square Wave) เสียก่อน แล้วจึงแปลงสัญญาณกลับออกมาเป็นสญั ญาณเสียงออกทางเอาตพ์ ตุ ดังแสดงการทางานตามบล็อกไดอะแกรม ตามรูปท่ี11.13 รูปท่ี 11.13 บล็อกไดอะแกรมวงจรขยายคลาสดี จากรูปท่ี 11.13 บลอ็ กไดอะแกรมวงจรขยายคลาสดี สัญญาณเสียงป้อนเข้าทางอนิ พตุ มายงั วงจรเปรยี บเทียบ หรือวงจร (Comparator : C) เพ่ือนาไปเปรยี บเทียบกบั สญั ญาณรปู สามเหลย่ี ม (Triangle Wave) ท่ีสรา้ งจากวงจรเจนเนอเรเตอร์ ผลจากการเปรยี บเทียบสัญญาณ จะทาให้เกิดสัญญาณรูปสี่เหลี่ยม (Square Wave)ออกทางเอาต์พุตของวงจรคอมพาเรเตอร์ สัญญาณเอาต์พุตรูปสี่เหล่ียมจะมีค่าความกว้าง (Pulse Width) ของสัญญาณแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่าความแรงของสัญญาณเสียงกับค่าของสัญญาณรูปสามเหล่ียม เมื่อได้สัญญาณเอาต์พุตรูปส่ีเหล่ียมแล้วจึงส่งเข้าสู่ภาคขยายสัญญาณท่ีเป็นวงจรแบบสวิตช่ิง (Switching Controller)เพ่ือปรับรูปร่างและความแรงของสัญญาณรูปสี่เหล่ียม ให้มีความแรงสูงขึ้น แล้วจึงส่งเข้าสู่วงจรกรองความถ่ีต่า(Low-pass filter) วงจรกรองความถ่ีต่าจะทาหน้าท่ีในการแยกสัญญาณความถ่ีต่าออกมาจากสัญญาณรวม จึงได้สัญญาณทางเอาต์พุตออกมาเป็นสัญญาณความถีต่ ่า หรอื สญั ญาณเสียงตามสัญญาณเดิมทางอินพุตแล้วจึงปอ้ นเข้าสู่ลาโพง ดงั แสดงตวั อย่างวงจรขยายเสียงในคลาสดี ตามรปู ท่ี 11.14

รปู ท่ี 11.14 แสดงวงจรขยายเสยี งคลาส ดี11.5 การคัปปลิ้ง (Coupling) การคัปปล้งิ (Coupling) หมายถึง การเชื่อมต่อสัญญาณจากวงจรภาคหน่ึงไปสู่วงจรอีกภาคหนึ่ง หรือจากทรานซิสเตอร์ตัวหนง่ึ ไปยังอกี ตวั หนึ่ง และรวมทง้ั วงจรที่มีทรานซิสเตอร์หลายตัว วงจรที่มีหลายภาคการทางาน ก็มีความจาเป็นที่ต้องอาศัยการคัปปล้ิง ทั้งน้ีในการคัปปล้ิงต้องคานึงถึงในเร่ืองของ การตอบสนองความถี่(Frequency Respone) และการแมตชิง่ อมิ พีแดนซ์(Matching Impedance)ทดี่ ีด้วย การคัปปลงิ้ สามารถจดั วงจรในแบบต่างได้ดังน้ี 1. อารซ์ ี คัปปลิ้ง (RC Coupling) 2. ทรานสฟอรเ์ มอร์ คปั ปล้งิ (Transformer Coupling) 3. อิมพแี ดนซ์ คัปปล้งิ (Impedance Coupling) 4. ไดเร็ค คัปปล้ิง (Direct Coupling) 11.5.1 อารซ์ ี คปั ปลิ้ง (RC Coupling) การคัปปล้ิงโดยใช้ตัวต้านทาน และคาปาซิเตอร์หรืออาร์ซี ในการเช่ือมต่อวงจรซึ่งจะพบมากในวงจรอิเลก็ ทรอนิกสท์ ่วั ๆ ไป ดังแสดงวงจรตามรปู ที่ 11.15 รูปที่ 11.15 อารซ์ ี คปั ปลงิ้

จากรูปที่ 11.15 แสดงวงจรอาร์ซี คัปปลิ้ง ท่ีประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ Q1 และ Q2 ต่อเป็นวงจรขยายสัญญาณแบบสองภาค สญั ญาณทางอินพุตป้อนผ่านคาปาซิเตอร์ C1 เข้าสู่ทรานซิสเตอร์ Q1 และขยายสัญญาณผ่านคาปาซิเตอร์ C3 ซ่ึงทาหน้าที่เป็นคาปาซิเตอร์คัปปล้ิงในการเชื่อมต่อสัญญาณเข้าสู่ขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q2 เม่ือทรานซิสเตอร์ Q2 ขยายสัญญาณแล้ว จะส่งสัญญาณผ่านคาปาซิเตอร์ C5 เป็นสัญญาณเอาต์พุตออกไป ความสาคัญอีกประการหนึ่งของคาปาซิเตอร์ C3 นอกจากจะทาหน้าท่ีในการคัปปล้ิงแล้ว ยังทาหน้าท่ีเป็นตัวก้ันแรงดันไฟไบแอสของทรานซิสเตอร์ Q1 และ Q2 ไม่ให้ไหลไปปะปนกันอีกด้วย ส่วนตัวต้านทานR3 และ R5 ที่ต่อร่วมกับคาปาซิเตอร์ C3 จะทาหน้าท่ีจ่ายไบแอสให้กับทรานซิสเตอร์ Q1 กับ Q2 ดังนั้น R3 กับR5 และ C3 จงึ ทาหนา้ ทเ่ี ป็นอารซ์ ีคัปปลง้ิ การเช่ือมต่อวงจรแบบอารซ์ ี คัปปลง้ิ นี้ต้องเลือกใช้คาปาซิเตอร์คัปปลิ้งท่ีมีค่ามากพอเพยี งที่จะให้สัญญาณความถี่ตา่ ผ่านไปได้ มฉิ ะนั้นวงจรจะให้ผลการตอบสนองความถ่ีต่าได้ไม่ดี จึงเป็นข้อเสียของวงจรที่ใช้อาร์ซี คัปปลง้ิ 11.5.2 ทรานสฟอร์เมอร์ คปั ปล้ิง (Transformer Coupling) การคัปปล้ิงโดยใช้ทรานสฟอร์เมอร์ หรือหม้อแปลงในการเช่ือมต่อวงจรโดยอาศัยการเหน่ียวนา(Induce) ของตวั ทรานสฟอรเ์ มอร์ ดังแสดงวงจรตามรปู ที่ 11.16 รูปท่ี 11.16 วงจรทรานสฟอร์เมอร์คปั ปลิ้ง จากรูปที่ 11.16 แสดงวงจรทรานสฟอร์เมอร์คัปปลิ้ง ท่ีประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ Q1 และ Q2 ต่อเป็นวงจรขยายแบบสองภาค สัญญาณทางอินพุตปอ้ นผ่านคาปาซิเตอร์ C1 เข้าสู่ทรานซิสเตอร์ Q1 และขยายสัญญาณผ่านทรานสฟอร์เมอร์ T1 ซึ่งทาหน้าที่เป็นทรานสฟอร์เมอร์คัปปล้ิง เชื่อมต่อสัญญาณเข้าไปสู่ขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q2 จะทาการขยายสัญญาณส่งออกทางคาปาซิเตอร์ C5 เปน็ สัญญาณเอาต์พตุ

การจัดวงจรทรานสฟอร์เมอร์ T1 นอกจากจะทาหน้าที่เป็นตัวคัปปล้ิงแล้วยังทาหน้าที่แยกแรงดันไฟไบแอสของทรานซสิ เตอร์ Q1 และ Q2 ออกจากกันอกี ด้วย และใช้ตัวต้านทาน R5 กับ R6 เป็นตัวจดั ไบแอสให้กับทรานซสิ เตอร์ Q2 ด้วย 11.5.3 อิมพีแดนซ์ คปั ปลงิ้ (Impedance Coupling) อมิ พีแดนซ์คัปปล้ิง (Impedance Coupling) เป็นการเช่อื มต่อวงจรโดยใช้อปุ กรณ์ ท่ีเป็นขดลวดโชก้ (Choke Coil) เข้ามาตอ่ ร่วมกบั คาปาซเิ ตอร์ ดงั แสดงวงจรตามรูปที่ 11.17 รปู ท่ี 11.17 วงจรอมิ พแี ดนซ์คปั ปลิง้ จากรูปที่ 11.17 แสดงวงจรอิมพีแดนซ์ คัปปลิ้ง (Impedance Coupling) ที่ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์Q1 และ Q2 ต่อเป็นวงจรขยายสัญญาณแบบสองภาค สัญญาณทางอินพุตป้อนผ่านคาปาซิเตอร์ CI เข้าสู่ขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q1 และขยายสัญญาณผ่านคาปาซิเตอร์ C1 ซึง่ ทาหน้าท่ีเปน็ คาปาซิเตอรค์ ัปปล้งิ รว่ มกับขดลวดโช้ค L1 และตัวต้านทาน R4 รวมกันเป็นวงจรแบบอิมพีแดนซ์คัปปล้ิง สัญญาณผ่านเข้าสู่ขาเบสของทรานซิสเตอร์Q2 ต่อเป็นวงจรขยายสัญญาณแบบสองภาค สัญญาณทางอินพุตป้อนผ่านคาปาซิเตอร์ CI เข้าสู่ขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q1 และขยายสญั ญาณผ่านคาปาซเิ ตอร์ C1 ซึ่งทาหนา้ ทเ่ี ปน็ คาปาซิเตอรค์ ปั ปล้ิง รว่ มกับขดลวดโช้คL1 และตัวต้านทาน R4 รวมกันเป็นวงจรแบบอิมพีแดนซ์คัปปลิ้ง สัญญาณผ่านเจ้าสู่ขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q2แล้วขยายสัญญาณผา่ นคาปาซิเตอร์ CO เปน็ สญั ญาณออกทางเอาตพ์ ุต 11.5.4 ไดเรค็ คัปปลงิ้ (Direct Coupling) การคัปปล้ิงโดยตรงท่ีไม่ต้องใช้อุปกรณ์อ่ืนใดมาเป็นตัวเชื่อมต่อสัญญาณ ซ่ึงเป็นข้อดีของวงจรเน่ืองจากวงจรจะไม่มีผลเสยี ต่อการตอบสนองความถี่ และไม่มีผลต่อค่าอิมพีแดนซใ์ นวงจร จึงทาให้การตอบสนองความถี่ในวงจรดี อีกทั้งยังสามารถให้อัตราการขยายแรงดันมากกว่า 20 เท่าโดยไม่ต้องใช้ตัวเก็บประจุคร่อมตัวตา้ นทาน RE ท่ีทาให้มีผลเสียในเรือ่ งของอมิ พีแดนซ์ของวงจร ดงั แสดงวงจรตามรูปที่ 11.18

รปู ที่ 11.18 ไดเรค็ คัปปลิ้ง จากรูปท่ี 11.18 แสดงวงจรไดเร็ค คัปปล้ิง ท่ีประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ Q1 และ Q2 สัญญาณทางอินพุตผ่านคาปาซิเตอร C1 เข้าขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q1 และขยายสญั ญาณออกทางขาคอลเลคเตอร์ของQ1 ส่งต่อโดยตรงเข้ากับขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q2 และได้สัญญาณออกผ่านคาปาซิเตอร์ C5 ซึ่งเป็นสัญญาณทางเอาตพ์ ตุ11.6 วงจรขยายแบบคาสเคด (Case Cade Amplifier) วงจรขยายแบบคาสเคด (Case Cade Amplifier) หมายถึง การนาเอาวงจรขยายมาต่อร่วมกันหลายภาคเพื่อให้มกี ารขยายสัญญาณไดม้ ีความแรงของสัญญาณมากข้นึ การต่อวงจรขยายแบบคาสเคด สามารถทาได้ 3 แบบ คือ 1. วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งภาคแบบ อาร์-ซี คปั ปลงิ้ (R-C Coupling) 2. วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเชื่อมต่อระหว่างภาคแบบ ทรานสฟอร์เมอร์ คัปปลิ้ง (TransformerCoupling) 3. วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเช่อื มตอ่ ระหวา่ งภาคแบบ ไดเร็ค คปั ปลง้ิ (Direct Coupling) 11.6.1 วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเชื่อมต่อระหว่างภาคแบบ อาร์-ซี คปั ปล้ิง (R-C Coupling) วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเชื่อมต่อระหวางภาคแบบ อาร์-ซี คัปปลิ้ง เป็นวิธีการเช่ือมต่อวงจรจากภาคหนึ่งไปยงั อีกภาคหน่ึงโดยใช้อุปกรณ์ อาร์-ซี (R-C) ดงั แสดงวงจรตามรูปที่ 11.19

รูปท่ี 11.19 วงจรขยายแบบคาสเคดแบบ อาร์-ซี คปั ปลิง้ จากรูปที่ 11.19 เป็นวงจรคอมมอนอีมิตเตอร์ท่ีเช่ือมต่อกัน 2 ภาค(Stage) วงจรขยายภาคแรกถูกขยายสัญญาณด้วยทรานซิสเตอร์ Q1 และเชื่อมต่อวงจรจากภาคท1่ี จาก Q1 ผ่านทางคาปาซิเตอร์ C3 เพ่ือสง่ สัญญาณไปยงั ภาคที่ 2 ไปสทู่ รานซิสเตอร์ Q2 โดยที่ Q2 จะทาการขยายสัญญาณแลว้ ส่งออกผ่านทางคาปาซิเตอร์ C4 เป็นสญั ญาณทางเอาต์พตุ 11.6.2 วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเช่ือมต่อระหว่างภาคแบบ ทรานสฟอร์เมอร์คัปปล้ิง (Transformer Coupling) วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเชื่อมต่อระหว่างภาคแบบ ทรานสฟอร์เมอร์คัปปล้ิง (TransformerCoupling) เป็นวิธีการเช่ือมต่อวงจรจากภาคหนึ่งไปยังอีกภาคหนึ่งโดยใช้อุปกรณ์ หม้อแปลง (Transformer) ดังแสดงวงจรตามรูปท่ี 11.20 รปู ที่ 11.20 วงจรขยายแบบคาสเคดแบบทรานสฟอรเ์ มอร์ คปั ปล้ิง

จากรูปที่ 11.20 เป็นวงจรคอมมอนอีมิตเตอร์ที่เชื่อมต่อกัน 2 ภาค (Stage) วงจรขยายภาคแรกถูกขยายสญั ญาณดว้ ยทรานซสิ เตอร์ Q1 และเชื่อมต่อวงจรจากภาคท่ี 1 จาก Q1 ผ่านทางทรานสฟอรเ์ มอร์ T1 จากขดลวดทางเข้าแล้วเกิดการเหน่ียวนาข้ามไปยังขดลวดตรงข้ามเพื่อส่งสัญญาณไปยังภาคที่ 2 ไปสู่ทรานซิสเตอร์ Q2 และQ3 โดยท่ี Q2 กบั Q3 จะทาการขยายสัญญาณแล้วสง่ ออกผา่ นทางทรานสฟอรเ์ มอร์ T2 เปน็ สญั ญาณทางเอาต์พุต 11.6.3 วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเช่ือมต่อระหวา่ งภาคแบบ ไดเร็ค คัปปลิ้ง (Direct Coupling) วงจรขยายแบบคาสเคด โดยเชื่อมต่อระหว่างภาคแบบ ไดเร็ค คัปปล้ิง (Direct Coupling) เป็นวิธีการเชอื่ มต่อวงจรจากภาคหนึง่ ไปยังอกี ภาคหนงึ่ โดยตรง ดงั แสดงวงจรตามรูปท่ี 11.21 รูปที่ 11.21 วงจรขยายแบบคาสเคดแบบไดเร็คคัปปลงิ้ จากรูปที่ 11.21 เป็นวงจรคอมมอนอีมิตเตอร์ท่ีเชื่อมต่อกัน 2 ภาค (Stage) วงจรขยายภาคแรกถูกขยายสัญญาณด้วยทรานซิสเตอร์ Q1 และเช่ือมต่อวงจรจากภาคที่ 1 จาก Q1 ออกทางขาคอลเลคเตอร์เข้าขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q2 โดยตรง โดยท่ี Q2 ทาหน้าท่ีเป็นวงจรขยายภาคท่ี 2 และจะทาการขยายสัญญาณแล้วส่งออกผา่ นทางคาปาซิเตอร์ C6 เปน็ สัญญาณทางเอาต์พุต11.7 วงจรขยายแบบดารงิ ตัน (Darlington Amplifier) การใช้ทรานซิสเตอร์จานวน 2 ตัวโดยการนาขาคอลเลคเตอร์ (C) แต่ละตัวต่อเข้าด้วยกัน และใช้ขาอีมิตเตอร์ (E) ของทรานซิสเตอร์ตัวแรกต่อไปเข้าท่ีขาเบส (B) ของ ทรานซิสเตอร์ตัวหลัง ส่งผลให้การทางานทางเอาต์พุตอยู่ที่ทรานซิสเตอร์ตัวหลัง ส่วนสัญญาณทางอินพุตจะถูกส่งเข้าทางขาเบส (B) ของทรานซิสเตอร์ตัวแรกเรียกการต่อทรานซิสเตอร์ในลักษณะน้ีว่า การต่อทรานซิสเตอร์แบบดาริงตัน (Darlington) ดังแสดงตามรูปท่ี11.22

รปู ท่ี 11.22 ทรานซิสเตอรแ์ บบดารงิ ตัน จากรูปที่ 11.22 การทางานของทรานซิสเตอร์แบบดาริงตัน กระแสของทรานซิสเตอร์ Q1 จะส่งเป็นกระแสเบสของทรานซิสเตอร์ Q2 จึงทาให้มีอัตราการขยายสูงหรือเท่ากับอตั ราการขยายกระแสของ A1 กับอัตราการขยายกระแสของ Q2 เข้าดว้ ยกัน จึงทาให้มีอตั ราการขยายของกระแสสูงมาก ส่วนค่าอินพุตอิมพีแดนซจ์ ะมีค่าสงู และค่าเอาตพ์ ตุ อิมพแี ดนซจ์ ะมคี า่ ตา่ จากความสามารถในการให้อัตราขยายของกระแสสูงของวงจรทรานซิสเตอร์แบบดาริงตัน จึงถูกนามาใช้ในการเพิ่มกาลังการขยายของวงจรขยายสัญญาณเสียง ท่ีถูกจัดวงจรทรานซิสเตอร์ดาริงตัน แบบคอมพลีเมนทารี่ดงั แสดงวงจรตามรูปท่ี 11.23 รูปท่ี 11.23 วงจรขยายสญั ญาณเสียงแบบดาริงตัน

จากรูปที่ 11.23 แสดงวงจรขยายสัญญาณเสียงแบบดาริงตัน ท่ีประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ Q2 กับ Q3ต่อแบบดาริงตันชนิด NPN และทรานซิสเตอร์ Q4 กับ Q5 ต่อแบบดารงิ ตันชนิด PNP โดยทรานซิสเตอรท์ ง้ั สองชุด(Q2 , Q3) และ (Q4 , Q5) จัดเป็นทรานซิสเตอร์เอาต์พุตคู่แมตช์แพร์ (Match Pair) ทปี่ ระกอบกันเป็นวงจรขยายสัญญาณเสียงแบบดาริงตันคอมพลีเมนทารี่ ท่ีให้กาลังการขยายสูง ส่วนในวงจรทางด้านอินพุตที่ประกอบด้วยไดโอดจานวน 4 ตัวทาหนา้ ท่ีกาหนดไบแอสให้กับทรานซิสเตอรค์ ูแ่ มทชแ์ พร์ และต่อร่วมกับตวั ต้านทาน R1 เพอื่ ทาหน้าที่กาหนดไบแอสและชดเชยอุณหภูมิให้กับทรานซิสเตอร์คู่แมตช์แพร์ของวงจรให้มีความเหมาะสม ส่วนตัวต้านทาน R2 และ R3 ทาหน้าที่จัดไบแอสให้กับทรานซิสเตอร์ Q1 โดยที่ทรานซิสเตอร์ Q1 จะทาหน้าที่ขยายสญั ญาณทางด้านอินพตุ ทีเ่ ขา้ มาทางคาปาซเิ ตอร์ C111.8 วงจรคอมพลีเมนทาร่ี (Complementary) วงจรคอมพลีเมนทารี่เป็นการจัดวงจรขยายภาคเอาต์พุตท่ีใช้ทรานซิสเตอร์แบบคู่แมตช์-แพร์ (MatchPair)ที่ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ชนิด NPN คู่กับ ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP โดยที่ทรานซิสเตอร์ท้ังสองชนิดนี้ มีความสามารถในการทางานได้เหมอื นกันทุกประการดังแสดงตามรปู ที่ 11.24 รปู ที่ 11.24 วงจรขยายคอมพลเี มนทารี่ จากวงจรรูปท่ี 11.24 เป็นวงจรขยายสญั ญาณแบบคอมพลีเมนทารี่ ที่ใช้ทรานซิสเตอร์แบบคู่แมตช์แพร์ ท่ีประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ Q1 ชนดิ NPN และ Q2 ชนดิ PNP การทางานเมือ่ ป้อนสัญญาณในคร่ึงไซเกลิ บวกทางอินพุตผา่ นคาปาซิเตอร์ C1 เข้าสวู่ งจร จะมีผลทาให้ทรานซิสเตอร์ Q1 ซง่ึ เป็นชนดิ NPN ได้รับฟอร์เวริ ์ดไบแอส ทาให้ Q1 ทางานได้สัญญาณในเฟสบวกผ่านคาปาซิเตอร์ C2 เป็นสัญญาณเอาต์พุตท่ีลาโพง ส่วนทรานซิสเตอร์ Q2จะไดร้ บั รีเวริ ส์ ไบแสจึงอย่ใู นสภาวะคตั ออฟทาให้ Q2 ไมท่ างาน และเมือ่ สญั ญาณอนิ พุตในครึ่งไซเกิลลบ ผ่านคาปาซิเตอร์ C1 เข้าสู่วงจร จะมีผลทาให้ทรานซิสเตอร์ Q2 ซ่ึงเป็นชนิดครึ่ง PNP ได้รับฟอร์เวิร์ดไบแอส ทาให้ Q2ทางาน ได้สัญญาณในเฟสลบผ่านคาปาซิเตอร์ C2 เป็นสัญญาณเอาต์พุตท่ีลาโพง ส่วนทรานซิสเตอร์ Q1 จะได้รับรเี วริ ์สไบแอสจึงอยใู่ นสภาวะคตั ออฟ ทาให้ Q1 ไมท่ างาน ดังแสดงวงจรตัวอยา่ งตามรปู ท่ี 11.25

รูปท่ี 11.25 วงจรขยายแบบคอมพลีเมนทารี่11.9 การใชง้ านอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสใ์ นวงจรขยายสญั ญาณ ในการขยายสัญญาณนอกจากจะใช้ไบโพลาร์ทรานซิสเตอร์แล้ว วงจรขยายสัญญาณสามารถนาเอาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ เช่น เฟต (FET) มอสเฟต (MOSFET) ลิเนียร์ไอซี (Linear IC) ไอซีออปแอมป์ (IC op-amp) มาใช้ในการขยายสญั ญาณไดเ้ ชน่ 11.9.1 วงจรขยายสญั ญาณโดยใชเ้ ฟต (FET) การนาเอาฟิลด์เอฟเฟกต์ทรานซิสเตอร์ (Field Effect Transistor) หรือเฟต (FET) มาใช้ในวงจรขยายสัญญาณ โดยคุณสมบัติที่สาคัญคือ เฟตมีอินพุต อิมพีแดนซ์สูงกว่าไบโพลาร์ทรานซิสเตอร์ การจัดวงจรขยายสัญญาณโดยใชเ้ ฟต ดังแสดงวงจรตามรปู ท่ี 11.26 รูปที่ 11.26 วงจรขยายใชเ้ ฟต

จากรูปท่ี 11.26 เมื่อป้อนสัญญาณอินพุตในครึ่งไซเกิลบวกผ่านคาปาซิเตอร์ C1 เข้าทางขาเกต (G) ของเฟต จะทาใหค้ า่ แรงดันไฟ VGS มีค่าสงู ขึ้นจงึ ทาใหเ้ ฟตนากระแสมากขึ้น เป็นผลทาให้ค่าแรงดันไฟ VDS ลดตา่ ลง ได้สญั ญาณออกทางเอาต์พตุ ทมี่ เี ฟสต่างจากสัญญาณทางอนิ พุต 180 องศา เม่ือป้อนสัญญาณในคร่ึงไซลบผ่านคาปาซิเตอร์ C1 เข้าทางขาเกต (G) ของเฟต มีผลทาให้ค่าแรงดันไฟ VGS มีค่าลดต่าลง ส่งผลให้ เฟตนากระแสน้อยลงและมีคา่ แรงดนั ไฟ VDS สงู ขึ้น ได้สญั ญาณออกทางเอาต์พุตมีเฟสตา่ งจากอนิ พุต 180 องศา 11.9.2 วงจรขยายสญั ญาณโดยใช้มอสเฟต (MOSFET) วงจรขยายสญั ญาณเสยี งอีกแบบหนง่ึ ท่ีนาเอาอุปกรณ์มอสเฟตมาใช้ในภาคขยายทางเอาต์พตุ ของวงจร โดยทางานรว่ มกับไบโพลาร์ทรานซสิ เตอร์ ดังแสดงวงจรตามรูปที่ 11.27 รูปท่ี 11.27 วงจรขยายมอสเฟต จากรูปที่ 11.27 วงจรขยายสัญญาณเสียงท่ีใช้มอสเฟตทาหน้าที่ขยายกาลังทางานร่วมกับไบโพลาร์ทรานซิสเตอร์ การทางานสัญญาณทางอินพุตถูกป้อนผ่านคาปาซิเตอร์ C2 โดยใช้ทรานซิสเตอร์ Q1 กับ Q2 ที่ต่อกันแบบดาริงตัน (Darlington) ทาหน้าท่ีเป็นปรแี อมป์ขยายสัญญาณเสียงทางอินพตุ ส่วนวงจรทางดา้ นเอาต์พตุ ใช้เพาเวอร์มอสเฟต (Power MOSFET) Q3 กับ Q4 สัญญาณถกู ขยายเป็นเอาตพ์ ุตผ่านทางคาปาซิเตอร์ C4 ออกไปยงั ลาโพง 11.9.3 วงจรขยายสญั ญาณท่ีใชล้ ิเนียร์ไอซี (Linear IC) ในวงจรขยายสัญญาณเสียงที่ใช้ไอซีสาเร็จรูปท่ีเป็นประเภทลิเนียร์ไอซี จะมีความสามารถในการขยายสัญญาณเสียงได้ต้ังแต่กาลังวัตต์ต่าไปจนถึงกาลังวัตต์สูง โดยการนาไอซีสาเร็จรูปมาต่อร่วมกับอุปกรณ์ภายนอกเพิ่มเติมเพียงเล็กน้อยเท่าน้ัน จึงทาให้จัดสร้างวงจรได้ง่าย และไม่ยุ่งยากในการสร้าง วงจรจึงมีขนาดเล็กตลอดจนไอซีขยายสัญญาณเสียงสาเร็จรูปนี้มีให้เลือกใช้หลากหลายเบอร์ เป็นจานวนมาก การนาลิเนียร์ไอซีไปใช้ในงานขยายสัญญาณเสียงจะถูกนาไปใช้กับวงจรท่ัวๆ ไป เช่น เครื่องติดต่อภายใน (Intercoms) ภาคขยายสัญญาณเสียงของวิทยุเอเอ็ม-เอฟเอ็ม (AM-FM Radio) ภาคขยายเสียงของโทรทัศน์ เป็นต้น ดังแสดงวงจรขยายเสียงตามรปู ที่ 11.28

รปู ท่ี 11.28 วงจรขยายเสยี ง LM380 จากรูปที่ 11.28 แสดงวงจรขยายสัญญาณเสียงให้กาลังขยายเท่ากับ 2.5 วัตต์ (Watt) แบบโอทีแอล(OTL) ท่ใี ช้ลิเนยี รไ์ อซี เบอร์ LM380 ซง่ึ เป็นไอซีขนาด 14 ขา ไอซีสาเร็จรูปท่ีใช้สาหรับในการขยายสัญญาณเสียงมีหลากหลายเบอร์ และมีกาลังขยายตั้งแต่วัตต์ตา่ ไปถึงวัตต์ทส่ี งู มาก ดงั ตัวอยา่ งวงจรตามรปู ท่ี 11.29 รูปท่ี 11.29 วงจรขยายเสยี งไอซี TDA2030 จากรูป 11.29 แสดงวงจรขยายสัญญาณเสยี งท่ีใชไ้ อซีเบอร์ TDA2030 ที่มกี าลงั ขยายสญั ญาณ 14 วัตต์

11.9.4 วงจรขยายสญั ญาณเสียงใช้ไอซีออปแอมป์ (Op-amp) ไอซีออปแอมป์ (Op-amp) เป็นไอซีที่สามารถนามาจัดวงจรได้หลากหลายรูปแบบและสามารถจดั เป็นวงจรขยายสญั ญาณเสียงได้ โดยใช้อุปกรณ์ภายนอกตอ่ ร่วมอีกจานวนไม่มาก ไอซีออปแอมป์ท่ีนามาจัดเป็นวงจรขยายสญั ญาณเสียงมีหลากหลายเบอรใ์ หเ้ ลือกใช้ เชน่ ไอซีออป-แอมป์เบอร์ LM741 ซึ่งเป็นไอซอี อปแอมปต์ ัวหนง่ึ ท่ีมีความนิยมนามาใช้ในการขยายสัญญาณเสยี งขนาดเลก็ หรอื ปรีแอมปลิไฟร์ ดังแสดงวงจรตามรูปที่ 11.30 รูปที่ 11.30 วงจรขยายสัญญาณเสียงไอซี LM741 จากรปู ที่ 11.30 แสดงวงจรขยายสญั ญาณเสยี งโดยใชไ้ อซี LM741 ทีใ่ ชแ้ รงดนั ไฟเลย้ี งวงจรเท่ากับ 12โวลตป์ ้อนเข้าท่ีขา 7 ของไอซี และใชข้ า 4 เป็นขากราวนด์ สัญญาณอินพตุ ป้อนผ่านเขา้ ทางคาปาซเิ ตอร์ C1 ซง่ึ ทาหนา้ ท่ีเปน็ ตวั คัปปลิง้ สัญญาณผ่านตวั ตา้ นทาน R1 เขา้ ทข่ี า 3 ของไอซี LM741 การขยายสัญญาณ จะไดส้ ัญญาณทางเอาต์พุต ออกที่ขา 6 ของไอซี โดยใช้ตัวต้านทานแบบปรบั ค่าได้ VR1 เพื่อปรับความแรงของสัญญาณทางเอาต์พตุ ผ่านทางคาปาซเิ ตอร์ C3 ที่ทาหนา้ ที่เปน็ ตวั คัปปลงิ้ สญั ญาณออกทางเอาต์พตุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook