Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลสำคัญของไทยทางพระพุทธศาสนาในระดับ

บุคคลสำคัญของไทยทางพระพุทธศาสนาในระดับ

Published by สงวน พวงจันทร์, 2023-08-07 05:59:52

Description: บุคคลสำคัญของไทยทางพระพุทธศาสนาในระดับ

Search

Read the Text Version

บุคคลสำคญั ของไทยทำง พระพุทธศำสนำในระดบั โลก Thailand's leading figures in Buddhism on a global scale ท่านพุทธทาสภิกขุ หลวงป่ มู นั่ ภูริทตฺโต

นำเสนอโดย พระสงวน กลฺยาโณ ๖๔๐๙๕๐๑๐๑๙ พระพงษพ์ ฒั น์ อภิปุญฺโญ ๖๔๐๙๕๐๑๐๑๗ พระสาคร ชยวุฑฺโฒ ๖๔๐๙๕๐๑๐๑๗

เสนอ ดร.ภัฏชวชั ร์ สุขเสน วชิ านีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวชิ า พระพทุ ธศาสนาในโลกปัจจุบัน รหัสวชิ า ๑๐๑ ๓๒๓ ตามหลกั สูตรปริญญาพทุ ธศาสตร์บัณฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขต สุรินทร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๖

ประวตั ิ ทำ่ นพทุ ธทำภิกขุ พระธรรมโกศาจารย์ นามเดิม เง่ือม พานิช ฉายา อินทปญฺโญ หรือรูจ้ กั ในนาม พุทธ ทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอาเภอ ไชยา จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี เกิดเม่ือปี พ.ศ. 2449 เร่ิมบวชเรียนเม่ืออายุได้ 20 ปี ท่ีวดั บา้ นเกิด จากนั้นไดเ้ ขาไดม้ าศึกษาพระ ธรรมวินัยตอ่ ท่ีกรุงเทพมหานคร

ท่านพทุ ธทาสฉันข้าวเพยี งคร้ังเดยี ว บิณฑบาตเป็ นวตั ร ใช้ผ้า ๓ ผืน ท่านเล่าว่า ...\"เราถือ ๓ ผืน แบบใช้ผ้าอาบด้วยแต่กม็ ีบาง ทเี หมือนกนั ซักสบงกต็ ้องนุ่งจวี รแทน จวี รถ้าเอามาพบั กลาง ตามยาวกเ็ ท่ากบั สบง ๒ ช้ัน นุ่งแทนสบงจนกว่าสบงจะแห้ง ๓ ผืน ต้องถืออย่างนี\"้ . ท่านพทุ ธทาสภกิ ขุ

ท่านมบี ริขารและสิ่งของจาเป็ นทใี่ ช้อยู่ไม่กอ่ี ย่างได้แก่ บาตร ตะเกยี งนา้ มัน มะพร้าวทาด้วยแก้วลอยไส้ จุดอยู่หน้าพระพทุ ธรูป หนังสือ ๒-๓ เล่ม ต่อมาเม่ือ ท่านเร่ิมเขยี นหนังสือจริงจงั ขนึ้ ท่านจงึ มกี ฏุ แิ ละตะเกยี งหลอด เป็ นตะเกยี ง นา้ มนั ขนาดเลก็ มหี ลอดแก้วยาว สาหรับผ้าห่ม มุ้งและหมอน ท่านจะใช้จวี รหรือ บางคร้ังจะใช้สังฆาฏิห่มเป็ นผ้าห่ม ส่วนหมอนท่านใช้ไม้ สองอนั วางหวั ท้ายแล้วใช้ไม้กระดานเลก็ ๆ ตอกขวางคล้ายม้ารองน่ังแต่เตยี้ ๆ เท่ากบั หมอน และใช้ผ้าสังฆาฏิ พบั ๆ รองเสียช้ันหนึ่ง ซ่ึงหมอนอย่างนีเ้ ป็ นของธรรมดา ๆ ทีช่ าวบ้านใช้กนั อยู่ ทัว่ ไป ท่านพทุ ธทาสภกิ ขุ

ท่านถือธุดงควตั รเป็ นหลกั และอยู่อย่างธรรมชาติ ท่านกล่าวไว้ว่า ...\"เป็ นอยู่ อย่างธรรมชาตเิ พ่ือให้จติ ใจเกลยี้ ง ช่วยให้จติ ใจเหมาะกบั ท่จี ะเข้าใจธรรมชาติ ง่ายขนึ้ ในแง่ของทว่ี ่าอนิจจงั ทุกขงั อนัตตา หรือในแง่ทม่ี นั จะต้องเป็ นไปอย่าง น้ัน ซ่ึงไม่ต้องดดั แปลงไม่ต้องลาบากยากเยน็ \"... นอกจากนีท้ ่านยงั กล่าวอกี ว่า ...\"มนั ไม่มแี บบอะไรทตี่ ายตวั เอาตามสบายอย่างง่ายทส่ี ุด อย่าให้มนั มปี ัญหาก็ แล้วกนั ไปจากดั ตายตวั อย่างน้ันอย่างนี้ ยง่ิ บ้าใหญ่ อย่าไปรู้ไปชี้มันมากนัก แหละด\"ี . ท่านพทุ ธทาสภกิ ขุ

รูปแบบแนวทางการปฏิบตั กิ รรมฐานตามแนวท่านพุทธทาสภกิ ขุ วธิ ีปฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐานตามแนวพทุ ธทาสภกิ ขุ มรี ายละเอยี ดตรงตาม มหาสตปิ ัฏฐานสูตร ยกเว้นไม่ได้ระบุถืง กายานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน ว่าด้วยสิ่งปฏกิ ลู ๓๒ อย่าง ธาตุ ๔(ดนิ นา้ ลม ไฟ) และ ซากศพ ในสภาพต่าง ๆ ๙ ลกั ษณะ (ป่ าช้า ๙) พทุ ธทาสภกิ ขุ นาหลกั ธรรมจากสฬายตนวภิ งั คสูตร อานาปานัสสตสิ ูตร และ ธรรมะ ๙ ตาประกอบด้วย ทุกขตา อนิจจตา อนัตตา ธัมมฏั ฐิตตา ธัมมนิยามตา อทิ ัปปัจจยตา ตถตา สุญญตา อตมั มยตา จากพระไตรปิ ฎกโดยตรง ในการอธิบายการปฏิบตั ิ วปิ ัสสนากรรมฐาน ในรูปแบบลดั ส้ัน มุ่งเน้นบรรลธุ รรมเห็นแจ้งพระนิพพาน เป็ น นิพพาน ท่านพทุ ธทาสภกิ ขุ

วธิ ีปฏิบตั วิ ปิ ัสสนาตามแนวของพทุ ธทาสภกิ ขุ ท่านพทุ ธทาสภกิ ขุ แบบชิมลาง หรือนิพพานในปัจจุบันชาตนิ ี้ พทุ ธทาสภกิ ขุ แบ่งวธิ ีปฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐาน เป็ น ๒ แนวทางคือ (๑) ฝึ กสมาธิวปิ ัสสนาตามวถิ ธี รรมชาติ แนะนาให้ ผู้ปฏิบัตวิ ปิ ัสสนา ออกจากวตั ถุนิยม ส่ิงอานวย ความสะดวกต่าง ๆ ทีส่ นองกเิ ลส ตณั หา ทฏิ ฐิ อปุ ทาน ในทางโลก อยู่ตามลาพงั วเิ วกท้งั ทางกายและ ทางจิต เพื่อง่ายต่อการเห็นแจ้งไตรลกั ษณ์ ความจริงของสภาวธรรมท้งั หลายท่ีปรากฏ (๒) ฝึ กสมาธิวปิ ัสสนา ตามรูปแบบเฉพาะ คือ อานาปานสติ ฉบบั สมบูรณ์ ๑๖ ช้ัน แนะนาให้ผู้ปฏบิ ัติ เลือกปฏิบตั ิวปิ ัสสนาตามหลกั สตปิ ัฏฐาน ๔ ได้ตามสภาวธรรมทป่ี รากฏ ไม่ว่าจะเหน็ พจิ ารณา กายใน กาย, เวทนาในเวทนา,จติ ในจติ หรือ ธรรมในธรรม ซ่ึงท้งั ๒ แนวทาง ล้วนใช้หลกั ธรรมเดยี วกนั คือ ปฏิจจสมุปบาท อริยสัจ ๔ สตปิ ัฏฐาน ๔ สัมมปั ปธาน ๔ อทิ ธิบาท ๔ อนิ ทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรค ๘ อตมั มยตา และสุญญตา หรือจติ ว่างในภาษาทพ่ี ทุ ธทาสภกิ ขุ ใช้อธิบายผลจากการปฏิบตั ิ วปิ ัสสนากรรมฐานตามแนวของพทุ ธทาสภกิ ขุ คือ วปิ ัสสนาญาณสามารถลดละตวั กขู องกู ความโง่ ความทะยานอยากต่าง ๆ ความเห็นผดิ และ ความยดึ มนั่ ถือมนั่ ในวตั ถุนิยมและสิ่งท้งั ปวง เพื่อถงึ ทสี่ ุด แห่งความพ้นทุกข์ในปัจจุบนั ชาตนิ ีไ้ ด้ในชีวติ ประจาวนั

มลู เหตุท่ียูเนสโกยกย่อง ท่านพทุ ธทาสภิกขุ ท่านพทุ ธทาสภิกขุ เพราะทา่ นไดอ้ ุทิศตนเพ่ือการเผยแพร่ แกน่ พระธรรมท่ีมีความร่วมสมยั และ ประยุกตใ์ ชไ้ ดก้ บั ทงั้ ระดบั บุคคลและสงั คม รวมถึงทา่ นยงั สง่ เสริมความเขา้ ใจอนั ดี ระหวา่ งศาสนา เพ่ือสนั ติภาพ

ประวตั หิ ลวงป่ ูมนั่ ภูริทตั โต หลวงป่ ูมน่ั ภูริทัตโต ชาติกาเนิด พระอาจารยม์ นั่ ภูริทตฺโต เดิมมีชื่อวา่ มนั่ แก่นแกว้ เกิดเม่ือวนั พฤหสั บดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2413 ตรงกบั วนั พฤหสั บดี แรม ๔ ค่า เดือนย่ี (๒) ปี มะเส็ง ณ บา้ นคาบง ตาบลสงยาง อาเภอโขง เจียม (ปัจจุบนั คืออาเภอศรีเมืองใหม่) จงั หวดั อุบลราชธานี บิดาช่ือ นายคาดว้ ง แก่นแกว้ และ มารดาช่ือ นางจนั ทร์ แก่นแกว้

บรรพชา หลวงป่ ูมนั่ ภูริทัตโต เมื่อท่านอายไุ ด้ 15 ปี ไดเ้ ขา้ บรรพชาเป็นสามเณร ณ วดั บา้ น คาบง เม่ือบวชได้ 2 ปี บิดาขอร้องใหล้ าสิกขาเพอ่ื ช่วยการงานทางบา้ น จิตท่านยงั หวนคิดถึงร่มผา้ กาสาวพสั ตร์อยเู่ นืองนิจ เพราะติดใจใน คาสง่ั ของยายวา่ เจา้ ตอ้ งบวชใหย้ าย เพราะยายกไ็ ดเ้ ล้ียงเจา้ ยากนกั ต่อมาหลวงป่ ูเสาร์ กนฺตสีโลไดเ้ ดินธุดงคม์ าปักกลดอยทู่ ี่ บา้ นคาบง พระอาจารยม์ น่ั ในขณะเป็นฆราวาสจึงเขา้ ถวายการรับใชแ้ ละมีจิต ศรัทธาในขอ้ วตั รปฏิบตั ิของหลวงป่ ูเสาร์ ต่อมาไดถ้ วายตวั เป็นศิษย์ ติดตามเดินทางเขา้ เมืองอุบลราชธานี

อปุ สมบท หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต เมื่อท่านอายไุ ด้ 23 ปี ได้เข้าพธิ ีอปุ สมบทเป็ นพระภกิ ษุ ณ วดั เลยี บ อาเภอเมือง อบุ ลราชธานี จงั หวดั อบุ ลราชธานี ในวนั ที่ 12 มถิ ุนายน พ.ศ. 2436 โดยมพี ระอริยกระวี (อ่อน ธมฺมรกฺขโิ ต) เป็ นพระอปุ ัชฌาย์ พระครูสีทา ชยเสโน เป็ นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูประจักษ์ อบุ ลคุณ (สุ่ย ญาณสโย) เป็ นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับขนาดนามเป็ นภาษามคธว่า ภูริทตฺโต แปลว่า ผู้ให้ปัญญา ภายหลงั ท่านสงสัยในผู้บวชให้และผ้าสังฆาฏิ หลงั จากน้ันเกือบปี พระครูวจิ ติ รธรรมภาณี (จนั ทร์ สิริจนฺโท) จงึ ให้ท่านทาทฬั หีกรรมทแี่ พกลางแม่นา้ มูล โดยพระอาจารย์ม้าว เทวธมฺมี เป็ นพระอปุ ัชฌาย์ พระครูวจิ ติ รธรรมภาณี (จนั ทร์ สิริจนฺโท) และพระครูวเิ วกพทุ ธกจิ (เสาร์ กนฺตสีโล) เป็ นคู่กรรมวาจาจารย์

หลกั คาสอนและข้อวตั รปฏิปทาธรรมะปฏบิ ตั ิของหลวงป่ ูมน่ั หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต ภูริทัตโต หลกั คาสอนและแนวการปฏบิ ตั ิกรรมฐานของท่านมี 2 ลกั ษณะ คือ 1) คาสอนท่ีท่านประพนั ธ์ คือขนั ธะวมิ ุติสะมังคธี รรมและบทธรรม บรรยาย 2) คาสอนที่ศิษยานุศิษย์จดบนั ทกึ ไว้ เช่น มุตโตทยั ส่วนแนวทางการ ปฏบิ ัตกิ รรมฐานของท่านจดั อยู่ในสานักปฏบิ ัตธิ รรมแบบพทุ โธ ตาม แนววธิ ีการปฏิบตั ิมหาสติปัฏฐาน

คุณค่าจากหลกั คาสอนและแนวการปฏบิ ตั กิ รรมฐาน เกดิ จากข้อวตั รปฏิบัติของท่านกล่าวคือความเคร่งครัดต่อพระ ธรรมวนิ ัย ปฏปิ ทาในการปฏบิ ตั ิกรรมฐาน ทาให้มสี านักวิปัสสนา กรรมฐานสายหลวงป่ ูมน่ั ท้งั ฝ่ ายธรรมยตุ กิ นิกายและฝ่ ายมหานิกาย เกดิ ขนึ้ มากมาย หลวงป่ ูมนั่ ภูริทตั โต

ท่านสาเร็จปฏิสัมภิทานุศาสน์ 4 อย่าง คือ อตั ถปฏิสัมภิทา - แตกฉานในอรรถ ธรรมปฏิสัมภทิ า - แตกฉานในธรรม นิรุตตปิ ฏสิ ัมภทิ า - แตกฉานในภาษา ปฏภิ าณปฏิสัมภิทา - แตกฉานในปฏิภาณ หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต

ปฏิปทาทที่ ่านยดึ มน่ั มาตลอดชีวติ น้ัน คือธุดงค์ ซ่ึงธุดงควตั รข้อ หลวงป่ ูมนั่ ภูริทตั โต สาคญั ทที่ ่านสามารถยดึ มน่ั มาตลอดจนวาระสุดท้ายของชีวติ มี 7 ประการ คือ ปังสุกลุ กิ งั คธุดงค์ - ถือนุ่งห่มผ้าบังสุกลุ ปิ ณฑปาตกิ งั คธุดงค์ - ถือภกิ ขาจารวตั ร เทีย่ วบิณฑบาตมาฉันเป็ นนิตย์ เอกปัตตกิ งั คธุดงค์ - ถือฉันในบาตร ใช้ภาชนะใบเดียวเป็ นนิตย์ เอกาสนิกงั คธุดงค์ - ถือฉันหนเดยี วเป็ นนิตย์ ขลุปัจฉาภตั ตกิ งั คธุดงค์ - ถือลงมือฉันแล้วไม่ยอมรับเพมิ่ เตจวี ริตงั คธุดงค์ - ถือใช้ผ้าไตรจวี ร 3 ผืน อารัญญกิ งั คะ – ถือละเว้นการอยู่ในเสนาสนะใกล้บ้าน

รูปแบบแนวทางการปฏิบัตกิ รรมฐานตามแนวทางหลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต แนวการปฏบิ ัตกิ รรมฐานของท่านมี 2 ลกั ษณะ คือ 1)คาสอน ทที่ ่านประพนั ธ์ คือขนั ธะวมิ ุตสิ ะมังคธี รรมและบทธรรมบรรยาย 2)คาสอน ท่ีศิษยานุศิษย์จดบนั ทกึ ไว้ เช่นมุตโตทัยส่วนแนวทางการปฏิบัติกรรมฐานของ ท่านจดั อยู่ในสานักปฏบิ ัตธิ รรมแบบพทุ โธตามแนววธิ ีการปฏบิ ัตมิ หาสติปัฏ ฐาน ฃงึ่ แนวการปฏิบตั ิกรรมฐานของท่านทีม่ ตี ่อสังคมไทย แบ่งเป็ น 2 ด้าน ใหญ่ๆ คือ 1) อทิ ธิพลต่อคณะสงฆ์ท้งั ฝ่ ายธรรมยุตแิ ละมหานิกาย 2) อทิ ธิพลต่อ พทุ ธศาสนิกชนท้งั ในและต่างประเทศ

คุณค่าจากหลกั คาสอนและแนวการปฏบิ ัตกิ รรมฐาน เกดิ จากข้อวตั รปฏิบตั ขิ องท่านกล่าวคือความเคร่งครัดต่อ พระธรรมวินัย ปฏิปทาในการปฏบิ ัติกรรมฐาน ทาให้มี สานักวปิ ัสสนากรรมฐานสายหลวงป่ ูมน่ั ท้งั ฝ่ าย ธรรมยุตกิ นิกายและฝ่ ายมหานิกายเกดิ ขนึ้ มากมาย หลวงป่ ูมนั่ ภูริทตั โต

มูลเหตุทยี่ ูเนสโกยกย่องหลวงป่ ูมนั่ ภูริทัตโต พระอาจารย์มนั่ ภูริทตั โต เป็ นพระภกิ ษุฝ่ ายธรรมยุตกิ นิกาย ชาวจงั หวดั อุบลราชธานี บูรพาจารย์สายพระป่ าในประเทศไทย ปฏิบตั ติ นตามแนวทางคาสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือ ธุดงควตั รด้วยจริยวตั รปฏปิ ทางดงาม พระอาจารย์มนั่ เป็ นบุคคล สาคญั ผู้มผี ลงานดเี ด่นระดบั โลกสาขาสันตภิ าพ หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต

พระอาจารยม์ น่ั ภูริทตฺโต เป็นพระมหาเถระในพระธรรมวนิ ยั ของสมเดจ็ พระ หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต สมั มาสมั พทุ ธเจา้ เป็นอุดมบณั ฑิต ณ ปัจจุบนั สมยั เป็นปูชนียาจารยผ์ ยู้ ง่ิ ใหญ่ของ คณะสงฆไ์ ทย เป็นพระวปิ ัสสนาจารยใ์ หญ่แห่งวงศก์ รรมฐาน เพยี บพร้อมดว้ ย ปรีชาญาณแห่งไตรสิกขา บริสุทธ์ิบริบูรณ์ดว้ ยศีลาจารวตั ร สง่างามดว้ ยเนกขมั ม ปฏิบตั ิ เป็นเนติแบบแผนอนั โสภณของหมู่สงฆ์ ดารงสมณคุณอดุลยกิตติประวตั ิ มนั่ คงในอจลพรหมจริยาภิรัต มิหวน่ั ไหวต่อโลกามิส อุทิศสรรพกาลงั เพอื่ สงั่ สอน การปฏิบตั ิสมถภาวนา และวปิ ัสสนาภาวนา กระทงั่ ขยายอาณาแพร่หลายไปสู่ มหาชนทวั่ โลกในปัจจุบนั มิจากดั แต่ภายในประเทศ หากแผเ่ ผยขอบเขตแห่งคุณา นุคุณ ไปค้าจุนความสงบร่มเยน็ ถึงไพรัชทวปี มีอเมริกา ยโุ รป ออสเตรเลีย ตลอด ทวั่ ไปในภูมิภาคเอเชีย วางแนวทางในการปฏิบตั ิสมถะและวปิ ัสสนาตาม หลกั ธรรมคาสอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ แก่สมณะและพระอาจารย์ มนั่ เป็นบุคคลสาคญั ผมู้ ีผลงานดีเด่นระดบั โลกสาขาสนั ติภาพ ดงั ต่อไปน้ี พระ อาจารยม์ นั่ ภูริทตั โต เป็นพระมหาเถระในพระธรรมวนิ ยั ของสมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ เป็นอดุ มบณั ฑิต ณ ปัจจุบนั สมยั เป็นปูชนียาจารยผ์ ยู้ งิ่ ใหญ่ของคณะสงฆ์ ไทย

นำเสนอโดย พระสงวน กลฺยาโณ ๖๔๐๙๕๐๑๐๑๙ พระพงษพ์ ฒั น์ อภิปุญฺโญ ๖๔๐๙๕๐๑๐๑๗ พระสาคร ชยวุฑฺโฒ ๖๔๐๙๕๐๑๐๑๗

จบบริบูรณ์

จบบริบูรณ์

จบบริบูรณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook