รายงานวชิ า พระพทุ ธศาสนาในปัจจุบนั เสนอ อาจารย์ ดร.ภชั วชั สุขเสน เรื่องบุคคลสาคญั ของไทยทางพระพทุ ธศาสนาระดบั โลก พทุ ธทาสภิกขุ หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต โดย กลุ่ม๔ พระ สาคร พระ พงษพ์ ฒั น์ อภิปญุ โณ พระ สงวน กลั ยาโณ ประวตั ิ ท่านพทุ ธทาสภิกขุ พระธรรมโกศาจารย์ นามเดิม เง่ือม พานิช ฉายา อินทปญฺโญ หรือ รู้จกั ในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายไุ ด้ 20 ปี ท่ีวดั บา้ นเกิด จากน้นั ไดเ้ ขาไดม้ า ศึกษาพระธรรมวนิ ยั ต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบไดเ้ ปรียญธรรม 3
ประโยค แต่แลว้ ทา่ นพทุ ธทาสภิกขกุ ็พบวา่ สงั คมพระพทุ ธศาสนาแบบที่ เป็นอยใู่ นขณะน้นั แปดเป้ื อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทาใหเ้ ขา้ ถึง หวั ใจของศาสนาพทุ ธไดเ้ ลย ท่านจึงตดั สินใจหนั หลงั กลบั มาปฏิบตั ิ ธรรมที่อาเภอไชยา ซ่ึงเป็นภูมิลาเนาเดิมของท่านอีกคร้ัง พร้อมปวารณา ตนเองเป็น พทุ ธทาส เน่ืองจากตอ้ งการถวายตวั รับใชพ้ ระพทุ ธศาสนา ใหถ้ ึงท่ีสุด หลกั คาสอนและขอ้ วตั รปฏิปทาธรรมะปฏิบตั ิของท่านพทุ ธทาส สาหรับธรรมะท่ีท่านพทุ ธทาสใชม้ ากท่ีสุดในชีวติ ของท่านคือ การ พินิจพจิ ารณาสติสมั ปชญั ญะ ใคร่ครวญโดยโยนิโสมนสิการ ท่านกล่าว ไวว้ า่ ...\"ไดร้ ับประโยชนม์ ากที่สุดเป็นการเพม่ิ พนู ความรู้หรือปัญญาอนั ลึกซ้ึงมนั กม็ าจากโยนิโสมนสิการ ไม่วา่ เรื่องบา้ นเร่ืองโลกเร่ืองธรรม การรับเขา้ มาโดยวธิ ีใดกต็ าม เช่น ฟังจากผอู้ ื่น อ่านจากหนงั สือหรือจาก อะไรกต็ ามท่ีเรียกวา่ นอกตวั เรา ฟังเขา้ มาพอถึงแลว้ กโ็ ยนิโสมนสิการ เกบ็ ไวเ้ ป็นความรู้เป็นสมบตั ิพอจะทาอะไร จะลงมือทาอะไรกโ็ ยนิโส มนสิการ ในสิ่งท่ีจะทาใหด้ ีที่สุดมนั กผ็ ดิ พลาดนอ้ ยท่ีสุดเรียกวา่ ไม่ค่อย จะผดิ พลาดเลยเท่าท่ีจาไดใ้ นความรู้สึก เพราะเราเป็นคนโยนิโส มนสิการตลอดเวลา และรู้สึกวา่ ฉลาดข้ึนมากเ็ พราะเหตุน้ีถา้ จะเรียกวา่ ฉลาดนะ\"... ท่านพทุ ธทาสฉนั ขา้ วเพียงคร้ังเดียว บิณฑบาตเป็นวตั ร ใช้ ผา้ ๓ ผนื ท่านเล่าวา่ ...\"เราถือ ๓ ผนื แบบใชผ้ า้ อาบดว้ ยแต่กม็ ีบางที
เหมือนกนั ซกั สบงกต็ อ้ งนุ่งจีวรแทน จีวรถา้ เอามาพบั กลางตามยาวก็ เท่ากบั สบง ๒ ช้นั นุ่งแทนสบงจนกวา่ สบงจะแหง้ ๓ ผนื ตอ้ งถืออยา่ ง น้ี\"... ในระยะแรกที่ท่านพทุ ธทาสยา้ ยเขา้ มาท่ีสวนโมกขพลาราม (สวน โมกข-์ ไชยา) ท่านมีบริขารและสิ่งของจาเป็นที่ใชอ้ ยไู่ ม่ก่ีอยา่ งไดแ้ ก่ บาตร ตะเกียงน้ามนั มะพร้าวทาดว้ ยแกว้ ลอยไส้ จุดอยหู่ นา้ พระพทุ ธรูป หนงั สือ ๒-๓ เล่ม ต่อมาเม่ือท่านเร่ิมเขียนหนงั สือจริงจงั ข้ึน ท่านจึงมีกฏุ ิ และตะเกียงหลอด เป็นตะเกียงน้ามนั ขนาดเลก็ มีหลอดแกว้ ยาว สาหรับ ผา้ ห่ม มุง้ และหมอน ท่านจะใชจ้ ีวรหรือบางคร้ังจะใชส้ งั ฆาฏิห่มเป็นผา้ ห่ม ส่วนหมอนท่านใชไ้ มส้ องอนั วางหวั ทา้ ยแลว้ ใชไ้ มก้ ระดานเลก็ ๆ ตอกขวางคลา้ ยมา้ รองนงั่ แต่เต้ีย ๆ เท่ากบั หมอน และใชผ้ า้ สงั ฆาฏิพบั ๆ รองเสียช้นั หน่ึง ซ่ึงหมอนอยา่ งน้ีเป็นของธรรมดา ๆ ที่ชาวบา้ นใชก้ นั อยู่ ทว่ั ไป สาหรับมุง้ ท่านไม่ไดใ้ ช้ แต่จะใชใ้ นยามที่ไม่สบาย ตามปกติจะ ใหต้ ากวย ลูกศิษย์ สุมไฟกนั ยงุ ใหเ้ ท่าน้นั ท่านถือธุดงควตั รเป็นหลกั และอยอู่ ยา่ งธรรมชาติ ท่านกล่าวไวว้ า่ ...\"เป็นอยอู่ ยา่ งธรรมชาติเพ่อื ให้ จิตใจเกล้ียง ช่วยใหจ้ ิตใจเหมาะกบั ที่จะเขา้ ใจธรรมชาติง่ายข้ึน ในแง่ ของที่วา่ อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา หรือในแง่ท่ีมนั จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งน้นั ซ่ึงไม่ตอ้ งดดั แปลงไม่ตอ้ งลาบากยากเยน็ \"... นอกจากน้ีท่านยงั กล่าวอีก วา่ ...\"มนั ไม่มีแบบอะไรที่ตายตวั เอาตามสบายอยา่ งง่ายที่สุด อยา่ ใหม้ นั มีปัญหากแ็ ลว้ กนั ไปจากดั ตายตวั อยา่ งน้นั อยา่ งน้ี ยงิ่ บา้ ใหญ่ อยา่ ไปรู้ไป ช้ีมนั มากนกั แหละดี\"....
รูปแบบแนวทางการปฏิบตั ิกรรมฐานตามแนวท่านพทุ ธทาสภิกขุ วิธีปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานตามแนวพุทธทาสภิกขุ มีรายละเอียด ตรงตามมหาสติปัฏฐานสูตร ยกเวน้ ไม่ไดร้ ะบุถืง กายานุปัสสนาสติปัฏ ฐาน วา่ ดว้ ยส่ิงปฏิกลู ๓๒ อยา่ ง ธาตุ ๔(ดิน น้า ลม ไฟ) และ ซากศพ ใน สภาพต่าง ๆ ๙ ลกั ษณะ (ป่ าชา้ ๙) พทุ ธทาสภิกขุ นาหลกั ธรรม จากสฬายตนวิภงั คสูตร อานาปานสั สติสูตร และ ธรรมะ ๙ ตา ประกอบดว้ ย ทุกขตา อนิจจตา อนตั ตา ธมั มฏั ฐิตตา ธมั มนิยามตา อิ ทปั ปัจจยตา ตถตา สุญญตา อตมั มยตา จากพระไตรปิ ฎกโดยตรง ในการ อธิบายการปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน ในรูปแบบลดั ส้นั มุ่งเนน้ บรรลุ ธรรมเห็นแจง้ พระนิพพาน เป็นนิพพาน วิธีปฏิบตั ิวิปัสสนาตามแนวของพุทธทาสภิกขุ แบบชิมลาง หรือนิพพานในปัจจุบนั ชาติน้ี พทุ ธทาสภิกขุ แบ่งวธิ ี ปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน เป็น ๒ แนวทางคือ (๑) ฝึกสมาธิวปิ ัสสนาตามวถิ ีธรรมชาติ แนะนาให้ ผปู้ ฏิบตั ิ วิปัสสนา ออกจากวตั ถุนิยม ส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่สนองกิเลส ตณั หา ทิฏฐิ อุปทาน ในทางโลก อยตู่ ามลาพงั วเิ วกท้งั ทางกายและทาง จิต เพ่อื ง่ายต่อการเห็นแจง้ ไตรลกั ษณ์ ความจริงของสภาวธรรมท้งั หลาย ท่ีปรากฏ
(๒) ฝึกสมาธิวิปัสสนา ตามรูปแบบเฉพาะ คือ อานาปานสติ ฉบบั สมบูรณ์ ๑๖ ช้นั แนะนาใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิ เลือกปฏิบตั ิวิปัสสนาตามหลกั สติ ปัฏฐาน ๔ ไดต้ ามสภาวธรรมท่ีปรากฏ ไม่วา่ จะเห็น พจิ ารณา กายในกาย , เวทนาในเวทนา,จิตในจิต หรือ ธรรมในธรรม ซ่ึงท้งั ๒ แนวทาง ลว้ น ใชห้ ลกั ธรรมเดียวกนั คือ ปฏิจจสมุปบาท อริยสจั ๔สติปัฏฐาน ๔ สัมมปั ปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรค ๘ อตมั มยตา และสุญญตา หรือจิตวา่ งในภาษาที่พทุ ธทาสภิกขุ ใช้ อธิบายผลจากการปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐานตามแนวของพุทธทาสภิกขุ คือ วิปัสสนาญาณสามารถลดละตวั กขู องกู ความโง่ ความทะยานอยาก ต่าง ๆ ความเห็นผดิ และ ความยดึ มนั่ ถือมน่ั ในวตั ถุนิยมและสิ่งท้งั ปวง เพือ่ ถึงท่ีสุดแห่งความพน้ ทุกขใ์ นปัจจุบนั ชาติน้ีไดใ้ นชีวติ ประจาวนั มูลเหตุที่ยเู นสโกยกยอ่ งท่านพทุ ธทาสภิกขุ เพราะท่านไดอ้ ุทิศตนเพอื่ การเผยแพร่แก่นพระธรรมท่ีมีความร่วม สมยั และประยกุ ตใ์ ชไ้ ดก้ บั ท้งั ระดบั บบุคลและสงั คม รวมถึงท่านยงั ส่งเสริมความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งศาสนา เพ่ือสนั ติภาพ
ประวตั ิหลวงป่ ูมั่น ภูริทัตโต ชาติกาเนิด พระอาจารยม์ น่ั ภูริทตฺโต เดิมมีช่ือวา่ มนั่ แก่นแกว้ เกิดเม่ือวนั พฤหสั บดี ท่ี 20 มกราคม พ.ศ. 2413 ตรงกบั วนั พฤหสั บดี แรม ๔ ค่า เดือนย(ี่ ๒) ปี มะเส็ง ณ บา้ นคาบง ตาบลสงยาง อาเภอโขงเจียม (ปัจจุบนั คืออาเภอศรี เมืองใหม่) จงั หวดั อุบลราชธานี บิดาชื่อ นายคาดว้ ง แก่นแกว้ และ มารดาชื่อ นางจนั ทร์ แก่นแกว้ บรรพชา เม่ือท่านอายไุ ด้ 15 ปี ไดเ้ ขา้ บรรพชาเป็นสามเณร ณ วดั บา้ นคาบง เม่ือบวชได้ 2 ปี บิดาขอร้องใหล้ าสิกขาเพ่ือช่วยการงานทางบา้ น จิตท่าน ยงั หวนคิดถึงร่มผา้ กาสาวพสั ตร์อยเู่ นืองนิจ เพราะติดใจในคาสงั่ ของยาย วา่ เจา้ ตอ้ งบวชใหย้ าย เพราะยายกไ็ ดเ้ ล้ียงเจา้ ยากนกั ต่อมาหลวงป่ ูเสาร์ กนฺตสีโลไดเ้ ดินธุดงคม์ าปักกลดอยทู่ ่ี บา้ นคาบง พระอาจารยม์ น่ั ในขณะ เป็นฆราวาสจึงเขา้ ถวายการรับใชแ้ ละมีจิตศรัทธาในขอ้ วตั รปฏิบตั ิของ หลวงป่ ูเสาร์ ต่อมาไดถ้ วายตวั เป็นศิษยต์ ิดตามเดินทางเขา้ เมือง อบุ ลราชธานี อปุ สมบท
เมื่อท่านอายไุ ด้ 23 ปี ไดเ้ ขา้ พิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วดั เลียบ อาเภอเมืองอบุ ลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี ในวนั ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2436 โดยมีพระอริยกระวี (อ่อน ธมฺมรกฺขิโต) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครู สีทา ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูประจกั ษอ์ ุบลคุณ (สุ่ย ญาณสโย) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ไดร้ ับขนาดนามเป็นภาษามคธวา่ ภู ริทตฺโต แปลวา่ ผใู้ หป้ ัญญา ภายหลงั ท่านสงสยั ในผบู้ วชใหแ้ ละผา้ สงั ฆาฏิ หลงั จากน้นั เกือบปี พระครูวจิ ิตรธรรมภาณี (จนั ทร์ สิริจนฺโท) จึงใหท้ ่านทาทฬั หีกรรมที่แพ กลางแม่น้ามูล โดยพระอาจารยม์ า้ ว เทวธมฺมี เป็นพระอปุ ัชฌาย์ พระครู วิจิตรธรรมภาณี (จนั ทร์ สิริจนฺโท) และพระครูวิเวกพทุ ธกิจ (เสาร์ กนฺต สีโล) เป็นคูก่ รรมวาจาจารย์ หลกั คาสอนและขอ้ วตั รปฏิปทาธรรมะปฏิบตั ิของหลวงป่ ูมนั่ ภรู ิทตั โต หลกั คาสอนและแนวการปฏิบตั ิกรรมฐานของท่านมี 2 ลกั ษณะ คือ 1) คาสอนท่ีท่านประพนั ธ์ คือขนั ธะวิมุติสะมงั คีธรรมและบทธรรมบรรยาย 2) คาสอนที่ศิษยานุศิษยจ์ ดบนั ทึกไว้ เช่น มตุ โตทยั ส่วนแนวทางการปฏิบตั ิ กรรมฐานของทา่ นจดั อยใู่ นสานกั ปฏิบตั ิธรรมแบบพทุ โธ ตามแนววิธีการ ปฏิบตั ิมหาสติปัฏฐาน คุณคา่ จากหลกั คาสอนและแนวการปฏิบตั ิกรรมฐาน เกิดจากขอ้ วตั รปฏิบตั ิ ของท่านกล่าวคือความเคร่งครัดต่อพระธรรมวนิ ยั ปฏิปทาในการปฏิบตั ิ
กรรมฐาน ทาใหม้ ีสานกั วปิ ัสสนากรรมฐานสายหลวงป่ ูมน่ั ท้งั ฝ่ าย ธรรมยตุ ิกนิกายและฝ่ ายมหานิกายเกิดข้ึนมากมาย ท่านสาเร็จปฏิสมั ภิทานุศาสน์ 4 อยา่ ง คือ อตั ถปฏิสมั ภิทา - แตกฉานในอรรถ ธรรมปฏิสัมภิทา - แตกฉานในธรรม นิรุตติปฏิสัมภิทา - แตกฉานในภาษา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา - แตกฉานในปฏิภาณ โดยปฏิปทาที่ท่านยดึ มน่ั มาตลอดชีวติ น้นั คือธุดงค์ ซ่ึงธุดงควตั รขอ้ สาคญั ท่ีท่านสามารถยดึ มนั่ มาตลอดจนวาระสุดทา้ ยของชีวิต มี 7 ประการ คือ ปังสุกลุ ิกงั คธุดงค์ - ถือนุ่งห่มผา้ บงั สุกลุ ปิ ณฑปาติกงั คธุดงค์ - ถือภิกขาจารวตั ร เท่ียวบิณฑบาตมาฉนั เป็นนิตย์ เอกปัตติกงั คธุดงค์ - ถือฉนั ในบาตร ใชภ้ าชนะใบเดียวเป็นนิตย์ เอกาสนิกงั คธุดงค์ - ถือฉนั หนเดียวเป็นนิตย์ ขลุปัจฉาภตั ติกงั คธุดงค์ - ถือลงมือฉนั แลว้ ไม่ยอมรับเพิม่ เตจีวริตงั คธุดงค์ - ถือใชผ้ า้ ไตรจีวร 3 ผนื อารัญญิกงั คะ – ถือละเวน้ การอยใู่ นเสนาสนะใกลบ้ า้ น รูปแบบแนวทางการปฏิบตั ิกรรมฐานตามแนวทางหลวงป่ ูมนั่ ภูริทตั โต
แนวการปฏิบตั ิกรรมฐานของท่านมี 2 ลกั ษณะ คือ 1)คาสอนท่ี ท่านประพนั ธ์ คือขนั ธะวมิ ุติสะมงั คีธรรมและบทธรรมบรรยาย 2)คา สอนท่ีศิษยานุศิษยจ์ ดบนั ทึกไว้ เช่นมุตโตทยั ส่วนแนวทางการปฏิบตั ิ กรรมฐานของท่านจดั อยใู่ นสานกั ปฏิบตั ิธรรมแบบพทุ โธตามแนว วิธีการปฏิบตั ิมหาสติปัฏฐาน ฃ่ึงแนวการปฏิบตั ิกรรมฐานของท่านท่ีมี ต่อสงั คมไทย แบ่งเป็น 2 ดา้ นใหญ่ๆ คือ 1) อิทธิพลต่อคณะสงฆท์ ้งั ฝ่ าย ธรรมยตุ ิและมหานิกาย 2) อิทธิพลต่อพทุ ธศาสนิกชนท้งั ในและ ต่างประเทศ คุณค่าจากหลกั คาสอนและแนวการปฏิบตั ิกรรมฐาน เกิดจากขอ้ วตั ร ปฏิบตั ิของท่านกล่าวคือความเคร่งครัดต่อพระธรรมวนิ ยั ปฏิปทาในการ ปฏิบตั ิกรรมฐาน ทาใหม้ ีสานกั วิปัสสนากรรมฐานสายหลวงป่ ูมน่ั ท้งั ฝ่ าย ธรรมยตุ ิกนิกายและฝ่ ายมหานิกายเกิดข้ึนมากมาย มูลเหตุที่ยเู นสโกยกยอ่ งหลวงป่ ูมน่ั ภูริทตั โต พระอาจารยม์ น่ั ภูริทตั โต เป็นพระภิกษฝุ ่ ายธรรมยตุ ิกนิกาย ชาว จงั หวดั อบุ ลราชธานี บูรพาจารยส์ ายพระป่ าในประเทศไทย ปฏิบตั ิตน ตามแนวทางคาสอนพระศาสดาอยา่ งเคร่งครัด และยดึ ถือธุดงควตั ร ดว้ ยจริยวตั รปฏิปทางดงาม พระอาจารยม์ น่ั เป็นบุคคลสาคญั ผมู้ ีผลงานดีเด่นระดบั โลกสาขา สนั ติภาพ ดงั ต่อไปน้ี พระอาจารยม์ น่ั ภูริทตั โต เป็นพระมหาเถระใน
พระธรรมวินยั ของสมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ เป็นอดุ มบณั ฑิต ณ ปัจจุบนั สมยั เป็นปูชนียาจารยผ์ ยู้ ง่ิ ใหญ่ของคณะสงฆไ์ ทย เป็นพระ วปิ ัสสนาจารยใ์ หญ่แห่งวงศก์ รรมฐาน เพียบพร้อมดว้ ยปรีชาญาณแห่ง ไตรสิกขา บริสุทธ์ิบริบูรณ์ดว้ ยศีลาจารวตั ร สง่างามดว้ ยเนกขมั มปฏิบตั ิ เป็นเนติแบบแผนอนั โสภณของหมู่สงฆ์ ดารงสมณคุณอดุลยกิตติ ประวตั ิ มน่ั คงในอจลพรหมจริยาภิรัต มิหวนั่ ไหวต่อโลกามิส อุทิศ สรรพกาลงั เพ่อื สง่ั สอนการปฏิบตั ิสมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา กระทงั่ ขยายอาณาแพร่หลายไปสู่มหาชนทวั่ โลกในปัจจุบนั มิจากดั แต่ ภายในประเทศ หากแผเ่ ผยขอบเขตแห่งคุณานุคุณ ไปค้าจุนความสงบ ร่มเยน็ ถึงไพรัชทวปี มีอเมริกา ยโุ รป ออสเตรเลีย ตลอดทว่ั ไปในภูมิภาค เอเชีย วางแนวทางในการปฏิบตั ิสมถะและวปิ ัสสนาตามหลกั ธรรมคา สอนขององคส์ มเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ แก่สมณะและพระอาจารยม์ นั่ เป็นบุคคล สาคญั ผมู้ ีผลงานดีเด่นระดบั โลกสาขาสันติภาพ ดงั ต่อไปน้ี พระอาจารยม์ น่ั ภูริทตั โต เป็นพระมหาเถระในพระธรรมวินยั ของสมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ เป็นอดุ มบณั ฑิต ณ ปัจจุบนั สมยั เป็นปูชนียาจารยผ์ ยู้ ง่ิ ใหญข่ องคณะสงฆไ์ ทย เป็นพระวปิ ัสสนาจารยใ์ หญ่แห่ง วงศก์ รรมฐาน เพยี บพร้อมดว้ ยปรีชาญาณแห่งไตรสิกขา บริสุทธ์ิบริบูรณ์ดว้ ยศลี าจารวตั ร สง่างามดว้ ยเนกขมั มปฏิบตั ิ เป็นเนติแบบ แผนอนั โสภณของหมูส่ งฆ์ ดารงสมณคุณอดุลยกิตติประวตั ิ มน่ั คงในอจลพรหมจริยาภริ ัต มิหวน่ั ไหวต่อโลกามิส อทุ ิศสรรพกาลงั เพื่อสง่ั สอนการปฏิบตั ิสมถภาวนา และวปิ ัสสนาภาวนา กระทงั่ ขยายอาณาแพร่หลายไปสู่มหาชนทวั่ โลกในปัจจบุ นั มิจากดั แต่ ภายในประเทศ หากแผเ่ ผยขอบเขตแห่งคุณานุคุณ ไปค้าจุนความสงบร่มเยน็ ถึงไพรัชทวีป มีอเมริกา ยโุ รป ออสเตรเลีย ตลอดทว่ั ไป ในภูมิภาคเอเชียพทุ ธศาสนิกชนอยา่ งกวา้ งขวาง จนมีพระสงฆแ์ ละฆราวาสเป็ น ลูกศิษยจ์ านวนมาก
แนวคาสอนน้นั เป็นที่รู้จกั กนั ดีในนามวา่ คาสอนพระป่ า (สายพระ อาจารยม์ น่ั ) หลงั มรณภาพ ยงั คงมีพระสงฆท์ ี่เป็นลูกศิษยส์ ืบต่อแนว ปฏิปทาธรรมปฏิบตั ิของท่านสืบมา โดยเรียกวา่ พระกรรมฐานสายวดั ป่ า หรือพระกรรมฐานสายหลวงป่ ูมนั่ ดว้ ยเหตุน้ีจึงทาใหไ้ ดร้ ับยกยอ่ ง ใหเ้ ป็นพระอาจารยใ์ หญ่สายวดั ป่ าสืบมาจนปัจจุบนั
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: