Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดนตรี ป.6 หน่วยที่ 3

ดนตรี ป.6 หน่วยที่ 3

Published by Bay Fern, 2021-01-19 08:37:15

Description: ดนตรี ป.6 หน่วยที่ 3

Search

Read the Text Version

๓หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ เครอ่ื งหมายและ สัญลักษณ์ทางดนตรี

• อา่ น เขยี นโน้ตไทยและโน้ตสากลทานองง่าย ๆ (ศ ๒.๑ ป.๖/๓)

เคร่อื งหมายและ สญั ลักษณ์ทางดนตรี

จากเนอ้ื เพลง ถ้านกั เรียนเป็นผขู้ บั ร้อง จะถ่ายทอดอารมณเ์ พลงอยา่ งไร

๑. โน้ตเพลงไทย โน้ตเพลงไทย เป็นสิ่งที่ทาให้ผู้ขับร้องและบรรเลงดนตรีเข้าใจเพลง มากข้นึ ทาให้สามารถขบั รอ้ งและบรรเลงดนตรีได้ถูกต้อง ซ่ึงโน้ตเพลงไทย จะแตกต่างจากโนต้ เพลงสากล คอื โนต้ เพลงไทยจะใช้สัญลักษณ์ภาษาไทย ส่วนโนต้ เพลงสากล จะใชส้ ญั ลกั ษณ์ตวั โน้ตลกั ษณะตา่ ง ๆ

๑.๑ สญั ลกั ษณ์โนต้ เพลงไทย ตัวโน้ต คือ เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ท่ีใช้เขียนแทนเสียงดนตรี ในโนต้ เพลงไทยจะใช้ภาษาไทยแทนเสยี ง ซ่ึงมลี ักษณะ ดงั นี้

๑.๒ การบันทกึ โน้ตเพลงไทย การบนั ทกึ โน้ตเพลงไทย จะแบง่ เป็น ๘ หอ้ งต่อ ๑ บรรทดั และ ในแต่ละหอ้ ง จะบนั ทึกโนต้ ๔ ตัว ๓ ตัว ๒ ตัว ๑ ตวั หรอื ไมม่ ตี ัวโน้ตก็ได้ ซึ่งหากห้องใดไมม่ ี การบันทึกโน้ตจะใชส้ ัญลักษณ์ – แทนตาแหนง่ ของ ตวั โนต้ ที่อยใู่ นห้องเป็นการบอกความยาวของเสียงตัวโน้ตทีอ่ ยู่ข้างหนา้ ให้มีเสยี งยาวข้นึ ความยาวเสยี งเทา่ กบั 1/4 จังหวะ ความยาวเสยี งเท่ากบั 1/2จังหวะ ความยาวเสยี งเทา่ กับ 3/4 จังหวะ ความยาวเสยี งเทา่ กบั 1 จงั หวะ

๑.๓ การอา่ นโน้ตเพลงไทย โน้ตเพลงไทย มีการอ่านจากซ้ายไปขวา และต้องอ่านโดยให้เวลาเท่ากัน ทุกบรรทัด ๑.๔ โน้ตเพลงไทยอัตราจงั หวะ ๒ ชั้น อัตราจงั หวะ ๒ ชั้น คอื อัตราจังหวะปานกลาง เพลงไทยอัตราจงั หวะ ๒ ชั้น นยิ มใชบ้ รรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร เพราะเป็นเพลงที่มีจังหวะ เหมาะสม ในการร่ายราและใช้ดาเนินเร่อื ง เป็นเพลงท่ฟี ังสบาย ๆ ไมช่ ้าหรือเรว็ จนเกนิ ไป

ตวั อยา่ งโนต้ เพลงไทยอตั ราจังหวะ 2 ช้นั

๒. โน้ตเพลงสากล โน้ตเพลงสากล เปน็ สญั ลักษณท์ ใี่ ช้กันอย่างแพร่หลาย และมีรูปแบบ เป็นมาตรฐานซ่ึงมีเคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ท่ีใช้บันทึกโน้ต ดังนี้ ๒.๑ สญั ลักษณ์โน้ตเพลงสากล ตัวโนต้ เปน็ สญั ลกั ษณท์ ีใ่ ชแ้ ทนความส้ันและยาวของเสยี งดนตรี ซง่ึ มลี ักษณะของตัวโน้ต ดงั น้ี

๒.๒ กญุ แจประจาหลัก กุญแจประจาหลัก เป็นสิ่งที่ใช้กาหนดระดับเสียงของตัวโน้ต ที่บันทึก ลงบนบรรทดั ๕ เสน้ แบง่ ออกเป็น ดังนี้ ๑) กญุ แจซอล การเขียนกุญแจซอล จะเริ่มเขียนหัวกุญแจจากเส้นท่ี ๒ ของ บรรทัด ๕ เส้น ซึ่งโน้ตตัวใดก็ตามที่อยู่บนคาบเส้นท่ี ๒ โน้ตตัวน้ัน คือ โน้ตตวั ซอล

การอ่านกุญแจซอล การอ่านโน้ตท่ีมีกุญแจซอลเป็นกุญแจประจา หลักน้ัน เมื่อทราบว่าโน้ตตัวใดก็ตามท่ีอยู่บนเส้นท่ี ๒ เป็นโน้ตตัวซอล กส็ ามารถไลต่ ามลาดับได้ ดงั นี้

๒) กญุ แจฟา การเขียนกญุ แจฟา จะเร่มิ เขยี นหวั กุญแจจากเส้นที่ ๔ ของ บรรทดั ๕ เสน้ ซ่ึงเปน็ ตัวกาหนดชื่อโนต้ ตวั แรกของกญุ แจฟา

การอา่ นกุญแจฟา การอ่านโน้ตท่มี กี ญุ แจฟาเปน็ กญุ แจประจา หลัก หากโนต้ ตัวใดทีถ่ ูกบันทึกบนคาบเส้นท่ี ๔ คือ โน้ตตัวฟา และอ่าน โนต้ ตวั อื่น วธิ เี ดยี วกบั การอา่ นโน้ตท่ีมีกญุ แจซอลเปน็ กญุ แจประจาหลัก

๒.๓ บันไดเสียง บันไดเสียง คือ เสียงของตวั โน้ตทถี่ กู นามาเรียงไว้ตามลาดบั จากเสยี งตา่ ไปหาเสียงสงู เรยี กว่า บนั ไดเสยี งขาขึน้ และเสียงสงู ลงมาหาเสียงตา่ เรยี กว่า บันไดเสยี งขาลง

บันไดเสียงซีเมเจอร์ (C major) เป็นบันไดเสียงที่มีการไล่เสียง โดยเริ่มจากเสียงโด และไล่เสียงข้ึนไปตามลาดับคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด ซึ่งในการไล่เสียงนั้นเมื่อไล่เสียงครบท้ัง ๘ เสียง คือ โดต่า ถึงโดสูงเรียกว่า ๑ octave หรือคู่แปด และถ้าไล่เสียงจากเปียโนจะเริ่ม กดเสยี งโดเป็นเสียงแรก และไล่เสียงขึ้นไปเร่ือย ๆ โดยกดแต่คีย์สีขาวไม่ กดคยี ส์ ีดาจนถงึ โดสงู

โน้ตเพลงไทยสากลในบันไดเสียงซเี มเจอร์ (c major) ทานอง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร คารอ้ ง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าจกั รพันธเ์ พ็ญศริ ิ

๒.๔ ตัวหยดุ ตัวหยุด หมายถึง สัญลกั ษณ์ที่ทาใหเ้ สียงเงียบหรอื หยดุ ชัว่ ครู่ แต่จังหวะยังคงดาเนนิ ไปตลอด ตัวหยุดจะเขียนบนบรรทดั ๕ เส้น เหมือนกับตวั โนต้ ตวั หยดุ แตล่ ะตวั มีลักษณะและอัตราจงั หวะ ดังนี้

๒.๕ เสน้ ก้ันห้อง เส้นก้นั หอ้ งมลี ักษณะเปน็ เสน้ ตรงแนวตั้งท่ขี ดี ขวางบรรทดั ๕ เส้น เพอ่ื ก้นั แบ่งโนต้ ในแต่ละหอ้ ง ใหม้ ีจานวนจังหวะตามท่เี คร่ืองหมาย กาหนดจังหวะกาหนดไว้ และใช้เส้นก้ันหอ้ งคู่ เม่อื ต้องการใชก้ ั้นจบตอน หรอื จบทอ่ นเพลง

๒.๖ เคร่ืองหมายกาหนดจังหวะ เคร่ืองหมายกาหนดจงั หวะ มีลกั ษณะเปน็ ตัวเลข ๒ ตวั ทเี่ ขยี นซอ้ นกัน คล้ายเลขเศษสว่ น ใช้เพอื่ แสดงจังหวะ และอัตรา จังหวะของเพลง ซึ่งจะเขยี นกากับไวห้ ลังกุญแจประจาหลกั เชน่

เลขตัวบน เป็นเลขท่ีกาหนดว่าเพลงจะแบง่ ออกเปน็ ห้องละกี่จังหวะ ตามตัวเลขทกี่ าหนด ดงั น้ี ตัวเลข ๑ หอ้ งเพลงมี ๒ ๒ จังหวะ ๓ ๓ จังหวะ ๔ ๔ จังหวะ เลขตัวล่าง เป็นเลขที่กาหนดวา่ โน้ตลักษณะใดจะเป็นเกณฑ์ตวั ละจงั หวะ ดงั น้ี

๒.๗ การอ่านโนต้ เพลง การอา่ นโน้ตเพลง ผูอ้ า่ นจะต้องรู้ถึงระดบั เสียงสงู -ตา่ ของตวั โน้ต ท่บี นั ทึกลงบนบรรทดั ๕ เส้น และต้องมีความเข้าใจพน้ื ฐานเก่ียวกบั สัญลกั ษณข์ องตวั โน้ต เพอ่ื ใหส้ ามารถอา่ นโน้ตเพลงไดง้ ่ายข้ึน

การอา่ นสญั ลกั ษณข์ องตวั โนต้ ที่เขียนชื่อ ตวั โน้ตเปน็ ภาษาอังกฤษ มีลักษณะการอ่าน ดงั น้ี จากโนต้ เพลงจะมีตัวโนต้ ๖ ตวั ได้แก่ โด เร มี ฟา ซอล ลา และจะซ้ากันและ มีลกั ษณะของตัวโนต้ ๒ ลกั ษณะ คอื โนต้ ตัวดาและตวั ขาว

ตวั อย่างโน้ตเพลงสากล

ตวั อย่างโน้ตเพลงสากล