Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มะค่าโมง

มะค่าโมง

Published by Vaikoon Chooma, 2021-10-02 06:19:03

Description: มะค่าโมง

Search

Read the Text Version

5. มะคาโมง มะคาโมง เปนไมยืนตนขนาดกลาง และเปนไมเ น้ือแข็งทนี่ ิยมตัดฟน มากอสรางบา นเรือน และแปรรูป เปนเฟอรนเิ จอรต า ง อาทิ โตะ ทำงาน โตะรับประทานอาหาร โตะรบั แขก และเกา อ้ี เปนตน เพราะเน้ือไมม ี ความทนทาน และมีสเี หลืองอมแดงสวยงาม มะคาโมง จัดเปนไมห วงหามประเภท ก. ท่ีตอ งไดร บั อนุญาตจากพนกั งานเจา หนา ทีก่ อนหากตอ งการ ตดั ฟน และแปรรูปเพื่อการคา • วงศ : Leguminosae • ชอื่ วิทยาศาสตร : Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib. T • ชือ่ ทอ งถิน่ :

ภาคกลาง และทว่ั ไป – มะคาโมง – มะคาใหญ – มะคา หลวง – ฟน ษี ภาคเหนอื – มะคาหลวง – มะคาหัวคำ ภาคอสี าน – มะคา – เขง, เบง (สุรนิ ทร) – ปน (นครราชสีมา) ภาคตะวันออก – มะคา โมง – บิง (จนั ทบรุ )ี ถิ่นกำเนดิ และการแพรกระจาย มะคาโมง มถี นิ่ กําเนิดในประเทศเอเชีย ตะวนั ตกเฉียงใต และอินเดีย รวมถงึ ประเทศไทยดวย พบไดมากตั้งแตระดับความสูง 150-650 เมตร เหนือ ระดบั น้ำทะเล พบแพรกระจายท่วั ไปตามปา เบญจ พรรณ และปาเตง็ รัง พบมากในทกุ ภาค ยกเวน ภาคใต โดยเฉพาะภาคกลาง ภาคอีสาน และ ภาคเหนือ มักขน้ึ ตามขางลำหวยหรอื แมนำ้ ทช่ี มุ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร -ลำตน มะคาโมง เปนไมข นาดใหญ แตไ มสูงมากนัก ลำตนมีความสูงประมาณ 10 – 18 เมตร มเี รือนยอด เปนพมุ กวาง แตกกง่ิ ต่ำต้ังแตร ะดบั ลา งของลำตน เปลอื กลำตนมีสีน้ำตาลออนอมชมพู ก่ิงออนมีขนปก คลมุ

-ใบ ใบมะคา โมงเปน ใบประกอบ ออกเรียง สลับกนั บนก่ิงแขนง มีกานใบหลกั ยาว ประมาณ 18-30 เซนตเิ มตร มปี ระกอบดวยใบ ยอยขน้ึ ตรงกันขา ม 3 – 5 คู ใบยอยมีกานใบ สนั้ ประมาณ 3 – 5 มลิ ลเิ มตร ใบยอยแตล ะใบ มีรปู ไข ฐานใบ และปลายใบมน แผน ใบเรยี บ และมสี เี ขยี วเขม แผนใบมเี สน กลางใบชดั เจน ขนาดใบกวา งประมาณ 2-5 เซนติเมตร ยาว ประมาณ 4 – 10 เซนติเมตร -ดอก ดอกมะคา โมงออกดอกเปนชอ บรเิ วณปลายก่งิ ชอ ดอกยาว 5 – 15 เซนตเิ มตร มขี นคลมุ บางๆ ดอกยอยมี กา นดอกยาว 7 – 10 มิลลเิ มตร ดอกมีใบ ประดับเปน รปู ขอบขนานแกมรปู ไข ยาว 6 – 9 มิลลิเมตร มีขนปกคลุม กลบี รอง ดอกมี 4 กลีบ กลบี รองดอกมีรปู ขอบ ขนาน เรยี งซอ นทับกัน ยาวประมาณ 10 – 12 สวนกลบี ดอกมเี พยี งกลบี เดยี ว มี รูปทรงกลม ยาว 5 – 12 มิลลิเมตร แผน กลบี ดอกมสี แี ดงเร่อื ๆ ถดั มาดานในเปน เกสรตวั ผทู ี่มี 11 อัน ท่ีมี 8 อนั เปน เกสรสมบรู ณ และ 3 อนั เปน หมัน กานเกสรแยกออกจากกนั ถดั มาตรงกลางเปน เกสรตัวเมยี มขี นปกคลุมยาวประมาณ 7 มลิ ลิเมตร ดา นลา งเปน รังไข โดยดอกจะออกประมาณเดือนกุมภาพนั ธ – มีนาคม -ผล และเมล็ด ผลมะคาโมง เรยี กวา ฝก มีลกั ษณะแบน ขนาดใหญ ฝก กวา งประมาณ 7 – 10 เซนติเมตร ยาว ประมาณ 12 – 20 เซนติเมตร ฝก ออนมีสีเขียว เมือ่ แกจ ะมี สีน้ำตาล และจะปรแิ ตกออกเปน 2 ซีก สว นดานในมเี มล็ด 2-5 เมล็ด

เมลด็ มีลักษณะกลม เปลอื กเมลด็ มสี ี ดำ และมีเยื่อหนาสเี หลอื งประแดง ซง่ึ มีลกั ษณะคลา ยรปู ฟน คน ยาว ประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร หมุ บริเวณ ฐานเมลด็ จึงเรยี ก ฟนษี ทง้ั นี้ ฝกจะ แกประมาณเดอื นมิถนุ ายน-สงิ หาคม ประโยชนม ะคา โมง 1. ไมม ะคาโมงเปนไมเนือ้ แข็ง เนอื้ ไมม ลี วดลายสวยงาม เนือ้ ไมส ีน้ำตาลอมแดง นิยมใชแ ปรรปู เปน ไมแผน ปูพนื้ ไมวงกบ เสาบาน และไมชายคาสำหรับกอ สรางบาน และเฟอรนิเจอรต า งๆ 2. เปลอื กมะคาโมงมนี ำ้ ฝาด นยิ มใชสำหรับฟอกหนัง 3. ฝกออนนำเนื้อเมลด็ มาตมรับประทาน ทั้งรับประทานเปนของคบเค้ยี ว และรบั ประทานคกู ับอาหารอนื่ ๆ 4. เมล็ดแกน ำมาเผาไฟหรอื ค่ัวรบั ประมาณ เน้ือเมลด็ ใหร สมัน สรรพคุณมะคา โมง 1. เปลอื กลำตน (ตม นำ้ ด่ืม) – ใชเปน ยาถา ยพยาธิ – รกั ษาริดสีดวง – แกทอ งเสยี – รกั ษาโรคบดิ 2. เปลอื กลำตน (ตมน้ำอาบหรอื ใชบ ดทา) – รักษาโรคผิวหนัง

– ใชทารกั ษาแผล 3. เปลอื กฝก และเมล็ดมะคาโมง (นำมาตมน้ำดืม่ ) – สำหรับใชเ ปนยาถา ยพยาธิ – รกั ษาโรครดิ สีดวงทวาร – เน้ือเมล็ดดบิ หรอื แกนำมาหั่นเปน ฝอย แลง ตมนำ้ ด่ืม สำหรับชวยบรรเทาอาเจียน – เมล็ดแกน ำมาผาใหเ ห็นเนื้อเมล็ด กอนใชกดทับแผลท่ีถูกแมลงกดั ตอย เพื่อบรรเทาอาการปวด และ ลดพษิ การปลูกมะคาโมง การปลกู มะคา โมงนยิ มเพาะ ขยายพนั ธดุ วยเมลด็ โดยนำฝกแก มะคาโมงมาแกะเมล็ดออก จากนำ ตัดสว นเยื่อท่ีหุมบรเิ วณฐานเมล็ด ออก และตดั ใหเ ห็นเนอ้ื เมลด็ ดา นใน เลก็ นอ ย กอนจะแชน ้ำไว 1 คืน หรือ หากไมใชก ารตัดเย่ือหมุ ออกก็ใหนำ เมลด็ มาแชในนำ้ รอ นประมาณ 1 นาที แลว ท้ิงไวใ หเยน็ จากน้ันนำมาเพาะในถุงเพาะชำ ท้ังน้ี วัสดเุ พาะชำใหใ ชดนิ ผสมกบั ปุยคอก และทราย เล็กนอย อตั ราสว นดนิ :ทราย:ปุย คอกที่ 1:2:1 นอกจากนั้น อาจใชว ิธกี ลบเมล็ดลงแปลงเพาะ และหลังจากเมล็ดเริ่มงอกใหเห็นคอยยายเมล็ดลงถุง เพาะชำ และดแู ลจนกลา แข็งแรง ทอี่ ายุประมาณ 8 เดือน ถงึ 1 ป กอนนำลงปลูก ท้งั น้ี เมล็ดจะงอกประมาณ 10-20 วนั หลงั การเพาะ การปลูก การปลูกมะคาโมง ควรปลูกดวยตนกลาทมี่ ีอายุ 8-12 เดอื น และควรปลูกในตนฤดฝู น เพื่อใหต น สามารถเตบิ โต และตง้ั ตวั ได มรี ะยะปลกู ประมาณ 6-8 x 6-8 เมตร และหากเขาหนาแลงควรใหน ำ้ เปนระยะ และใหหาฟางขาวหรือเศษใบไมม าคลุมไวรอบโคนตน ท้งั น้ี การเติบโตของลำตน ทป่ี ลกู แลว 1 ป จะ สงู ไดป ระมาณ 2.5 เมตร และการขยายตวั ของเสนรอบวงนอยกวา 1 เซนติเมตร/ป ท้งั นี้ มะคาโมงจะมีอายุ การตัดฟน ที่เหมาะสำหรบั การกอสรา งบา น ประมาณอายุ 25-30 ป ขอบคุณภาพจาก phargarden.com,/ suthorn.com/, http://พะยูง.com/, biogang.net/, http://adeq.or.th/

เอกสารอางองิ 1) เมธนิ ี ตาฬมุ าศสวัสด์.ิ 2549. พรรณไมหวยทราย จังหวดั เพชรบรุ ี. สำนกั หอพรรณไม กรมอุทยานแหง ชาติ สตั วปา และพันธุพืช. 2) ฐานขอ มลู สมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี. มะคา โมง. ออนไลน. สืบคน เมอ่ื วันที่ 9 ธันวาคม 2559. เขา ถึงไดท ่ี : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=260/. 3) โครงการเผยแพรขอมูลทรัพยากรชีวภาพ- และภมู ปิ ญ ญาทองถน่ิ บนพน้ื ท่ีสูง. มะคา โมง. ออนไลน. สืบคนเมื่อวนั ท่ี 9 ธนั วาคม 2559. เขา ถงึ ไดท ่ี : http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=57&name=มะคา โมง/ ท่ีมา : https://puechkaset.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E 0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%87/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook