จิมเร่ิมบทที่ 9 ด้วยค�าถามว่าจะเลือกหนังสืออ่านให้เด็กฟัง อยา่ งไร เขาตอบวา่ เลือกเร่อื งท่ีตัวเองชอบคร้งั เป็นเด็ก หรือคน้ หา บญั ชีรายชอ่ื หนงั สอื สา� หรบั เดก็ ท่ีแนะน�ากัน เรอ่ื งต่อไปคืออา่ นให้เสียงมอี ารมณร์ กั เศร้า ตลก เด็กๆ จะชอบ จิมเขียนต่อไปว่า ประโยคแรกของหนังสือมีความส�าคัญ ทจ่ี ะชว่ ยดงึ ดดู (ทา� นองวา่ การเลอื กหนงั สอื ดจี งึ สา� คญั ?) และหนงั สอื ควรจบแบบลงตัวไม่ค้างคา อาจจะมีอะไรเหลือให้ค้นหาต่อได้ หากเปน็ หนังสอื ชดุ (จบแบบแลว้ อหิ ยงั วะดมี ัย้ ) จะเห็นว่าท่ีผ่านมาผมพูดและเขียนตรงข้ามกับจิมแทบ ทกุ ขอ้ ดว้ ยประโยคเดยี วคอื “อา่ นอะไรกไ็ ด้ อา่ นอยา่ งไรกไ็ ด”้ ตามดว้ ย “ขอใหเ้ รม่ิ อา่ น” ผมรวู้ า่ จมิ พดู ถกู เพยี งแตเ่ มอื่ มองมาทบ่ี รบิ ทของบา้ นเรา ที่หนังสือเป็นปัจจัยอันดับท้ายๆ ของชีวิต มีคนและครูน้อยมาก ที่อ่านหนังสือ มีพ่อแม่และนายแพทย์น้อยมากที่อ่านหนังสือ สถานการณก์ ารอ่านของเราเรยี กได้ว่าสาหสั 100 มหัศจรรย์แห่งการอ่านออกเสียง
ดงั น้นั ผมจะพูดเสมอวา่ “อ่านอะไรก็ได้ อ่านอย่างไรก็ได”้ สั้นกว่านี้คือ “อ่านไปเถอะ ขอให้เร่ิม” และบางครั้งตามด้วย “ถุง กลว้ ยแขกก็อ่านได้” โดยลืมไปวา่ เราหาถุงกลว้ ยแขกไมพ่ บแล้ว ผมเปน็ คณุ พอ่ ทไี่ มเ่ คยอา่ นตลกเลย และไมเ่ คยใสอ่ ารมณ์ อะไร ท�าไปมนั ก็ไม่ตลกเพราะฝืนท�า ตัวเองเปน็ อย่างที่เด็กๆ แซว ในเวลาต่อมาว่า “ป๊าเป็นเด็กพิเศษ” ซึ่งเม่ือนึกย้อนดูก็เห็นจริง ผมชา้ ทุกเรื่องตอนเปน็ เดก็ ไมเ่ คยทา� อะไรไดเ้ ลยในขณะทีเ่ พ่อื นๆ ท�าได้ โชคดที ่ีไมม่ ีใครจบั ไปหาหมอเทา่ น้ันเอง ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ ยงั พดู ไม่ชัดจนถึงประถมสาม สมัยนั้น เมื่อเกือบ 60 ปีก่อน เอสโซ่มีสโลแกนว่า “ตับเต๋ือใตต่ ง๋ั พะลังต๋งู ” คือเสยี งของผมเม่อื ประถมสาม พอเป็นพ่อจึงอ่านไปเรียบๆ เสมอๆ ไม่มีอารมณ์และ ไม่มีตลก จนกระทงั่ บางเลม่ อา่ นรอบท่ี 10 แลว้ เบ่อื เอง จึงเร่ิมอ่าน แบบปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ปรากฏว่าลูกๆ โวยวายกันขนานใหญ่ “อ่านดีๆ!” กลบั มาทจี่ มิ เขาเขยี นยอ่ หนา้ สดุ ทา้ ยของเซก็ ชน่ั แรกนว้ี า่ “ไม่มีวิธีที่ถูกหรือผิดในการอ่านออกเสียง เว้นแต่จะไม่ท�า! ดังน้ัน คว้าหนังสอื สกั เลม่ พาลูกมา แลว้ เร่มิ อา่ นเลย” รอดตัวไป จิมและผมเห็นตรงกนั ในตอนท้าย นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 101
อ่านออกเสียงเป็นวิธีที่ดีในการเพ่ิมคลังค�า เราเคยพูด เรอื่ งน้มี าแลว้ ภาษาพูดมคี า� ไม่ก่ีคา� สงิ่ พิมพท์ ั่วไปมีคลงั คา� มากข้ึน แตน่ ทิ าน นวนยิ าย วรรณกรรม และวรรณคดมี คี ลงั คา� มากทสี่ ดุ คา� วา่ สวยมใี นภาษาพดู แตเ่ ดก็ ๆ จะไมไ่ ดย้ นิ และไมร่ จู้ กั คา� อน่ื ๆ ทแี่ ปลวา่ สวยเลยถา้ ไมอ่ า่ นหนังสือ เลอโฉม งามจับตา สวยพร้ิง สวยเก๋ โสภา ไฉไล สวย สะคราญ เชง้ วับ เชง้ กระเด๊ะ สะสวย หยดย้อย สวยซึ้ง หยาดเย้ิม พรง้ิ เพรางามพศิ งามผาดนา่ รกั นา่ ฮกั สวยสะดดุ ตาผดุ ผาดงามผอ่ ง เปล่งปลั่ง งามจับจิตจับใจ งามจับตา สวยต้องตา งามเปล่งปลั่ง ทรงโฉมสริ ิโสภาคย์ ฯลฯ ไวยากรณเ์ ปน็ อกี เรอ่ื งหนงึ่ การเรยี นไวยากรณท์ ดี่ ที สี่ ดุ คอื อ่านหนังสือแล้วจะได้ไวยากรณ์เอง จิมเขียนว่า “ไวยากรณ์เข้าใจ ได้เองมากกว่าสอน และวิธีที่จะเข้าใจก็เหมือนการติดไข้หวัด” ประโยคน้ีจริงมาก จิมเพิ่มเติมต่อไปว่า ดีกว่าน้ันคืออ่านออกมา เมอื่ อา่ นแลว้ พบวา่ สะดดุ นน่ั แปลวา่ มบี างอยา่ งผดิ พลาดทไี่ วยากรณ์ นกั เขยี นทกุ คนอา่ นมากกวา่ เขยี น การอา่ นทา� ใหเ้ ราจดจา� รูปภาพของค�าศัพท์ และช่วยให้สะกดค�าได้ดีกว่าด้วยกลไก การจดจา� รปู ภาพมากกวา่ ท่ีจะท่องโดยตรง ลองเขียนตัวสะกดของค�าศัพท์หน่ึงท่ีเราไม่ค่อยแน่ใจ ออกมาทุกแบบ เช่น กะเพรา กระเพรา กระเพา แล้วเลือกดู ตามความเคยชิน โอกาสเลือกถูกมากกว่าเลือกผิด เราท�าแบบนี้ กบั การยอ่ หนา้ การวรรค เครอื่ งหมายวรรคตอน และไวยากรณด์ ว้ ย 102 มหัศจรรย์แห่งการอ่านออกเสียง
“นกั เขียนวยั เรยี นทีท่ �าคะแนนสูงสุดไมใ่ ชค่ นทเ่ี ขียนเยอะ ทีส่ ุดในแต่ละวัน แต่เป็นนักเรียนทอี่ า่ นเพื่อความบนั เทิงเยอะท่ีสุด มีส่ิงพิมพ์ในบ้านเยอะท่ีสุด และเขียนความเรียงในชั้นเรียนเป็น ประจา� ” สมองส่วนรับภาพมีขนาดมากกว่าสมองส่วนรับเสียง 30 เทา่ นนั่ แปลวา่ หากเราไดย้ นิ ค�านัน้ ในบทสนทนาและโทรทศั น์ เท่านั้น เมื่อเทียบกับมองเห็นค�านั้นซ�้าแล้วซ�้าเล่า อย่างหลังเพิ่ม คลงั คา� ไดเ้ ยอะกวา่ มาก เปรยี บเสมอื นการอปั โหลดขอ้ มลู ขนึ้ เกบ็ ไว้ รอวนั ดาวนโ์ หลดลงมาในงานเขยี น ถา้ ไมม่ กี ารอปั โหลดจะเอาอะไร ดาวน์โหลดลงมา หลายหนา้ ตอ่ มาเปน็ คา� แนะนา� เรอ่ื งการอา่ น อยา่ งไรกต็ าม รวบให้ส้ันก็ยังคงเหลือเพียงแค่ว่า อ่านให้สนุก และอย่าเปลี่ยน การอ่านเป็นการสอนหรือเอาการ ถึงตรงนี้ขอเล่าเร่ืองหน่ึงซึ่งเล่า ทกุ ท่หี ลายครั้ง เด็กเล็กคนหน่ึงถือหนังสือนิทานประกอบภาพแสนสวย มายืน่ ใหแ้ มว่ ่าอยากได้ “ไมเ่ อา เอาไปคนื เดย๋ี วน้”ี แม่ตอบ เหตุการณ์น้ีเกิดในกรุงเทพมหานคร ในร้านหนังสือของ ห้างสรรพสินคา้ ขนาดใหญ่ เราอาจจะแก้ตัวแทนประชาชนคนไทย ทกุ คนได้ว่าเพราะเรายากจน แต่เพราะยากจนนนั่ แหละคอื เหตุผล ทค่ี ณุ แมค่ วรกดั ฟนั ซอ้ื หนงั สอื ใหเ้ ดก็ คนนน้ั อา่ น ดกี วา่ นนั้ คอื นงั่ อา่ น ให้ลูกฟงั แล้วลกู จึงจะมโี อกาสไปพ้นจากความยากจน นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 103
หนังสือบันเทิงคดีส�าคัญกว่าหนังสือสารคดี เมื่อทั้งโลก สนใจ IQ และผลสมั ฤทธกิ์ ารศึกษา หนงั สอื ของเด็กจะเหลือเพียง ต�าราเรียนมาตรฐานเพื่อเพิ่มคะแนน และหนังสือสารคดีเพ่ือเพ่ิม ความรู้ แต่จากงานวิจัยขององค์การเพ่ือความร่วมมือและการ พฒั นาทางเศรษฐกิจ (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) ตามเอกสารอา้ งอิงหมายเลข 197 ในบทที่ 9 น้ี ส�ารวจเด็ก 250,000 คนใน 32 ประเทศ พบวา่ เด็ก ท่ที �าคะแนน PISA สูงคอื เด็กที่อ่านบนั เทิงคดีมาก หนังสือสารคดีและกวีนิพนธ์เล่า ท้ังสองอย่างควรอ่าน แต่โจทย์การเลือกมักจะยากข้ึน หนังสือชีวประวัติบุคคลส�าคัญ เป็นหนังสือท่ีควรเลือกเล่มท่ีเขียนสนุกๆ ให้เด็กอ่าน หนังสือ กวีนิพนธ์สามารถคัดสรรให้เด็กอ่านเพ่ือสร้างความคุ้นเคยกับ ค�าคล้องจองได้ อารมณ์ท่ีส่ังสมจากกวีนิพนธ์หรือร้อยกรองใดๆ เป็นเรอื่ งต้องคอ่ ยๆ ฟูมฟักข้ึนเช่นกนั ปิดทา้ ยบทน้ี ยาวเล็กน้อย แต่ดีทกุ ประโยค 7 Irwin Kirsch, John de Jong, Dominique Lafontanie, Joy McQueen, Juliette Mendelovits, and Christian Monseur, Reading for Change: Performance and Engagement Across Coutries - Results from PISA 2000 (Paris: Organisation for Economic Cooperation and Development, 2000), pp. 106-10, http://www. oecd.org/dataoecd/43/54/33690904.pdf. 104 มหัศจรรย์แห่งการอ่านออกเสียง
“ขอผมเตือนใจคุณว่าวรรณกรรมรูปแบบต่างๆ ล้วนมี ศกั ยภาพทจ่ี ะขยายขอบเขตความรขู้ องเดก็ ทกุ คน ไมว่ า่ พวกเขาจะ มภี มู หิ ลงั หรอื ประสบการณแ์ บบไหน จะมอี ภสิ ทิ ธหิ์ รอื ความยากจน เมื่อเราอ่านออกเสียงให้เด็กฟัง เราท�าให้พวกเขาได้เห็นส่ิงใหม่ๆ และมีวิสัยทัศน์ใหม่ๆ เราท�าให้พวกเขามีวิธีใหม่ๆ ในการรับมือ กับความทุกข์และสุขในชีวิต เรามอบโอกาสใหม่ๆ ในการเพ่ิมพูน ภาษาและความเข้าใจ เราช่วยให้พวกเขาตระหนักว่ายังมีสิง่ ที่ต้อง เรยี นรอู้ กี มากมายแคไ่ หน เมอ่ื เราอา่ นออกเสยี งใหเ้ ดก็ ฟงั เราแสดง ให้พวกเขาเหน็ ว่าเมื่อมีความร้เู พม่ิ ข้ึนนดิ หน่อย เรากต็ ั้งคา� ถามได้ ดีขึ้น และเมื่อต้ังค�าถามได้ดีข้ึนก็ย่ิงผลักดันให้เราอ่านมากขึ้น เม่ือเราอ่านออกเสียงให้เด็กฟัง เราแนะน�าพวกเขาให้รู้จักผู้คนท่ี เหมอื นกบั พวกเขา และผคู้ นทพี่ วกเขาไมเ่ คยแมแ้ ตจ่ ะจนิ ตนาการถงึ … เราช่วยใหพ้ วกเขาตระหนักว่าครอบครวั ของพวกเขา เป็นเพยี ง หน่ึงในครอบครัวหลากหลายรูปแบบ … แต่สิ่งส�าคัญที่สุดท่ีส่ือ ออกมาจากการอา่ นออกเสยี งใหเ้ ดก็ ฟงั กค็ อื การใชเ้ วลาอา่ นหนงั สอื กบั เด็กๆ เป็นเรอ่ื งค้มุ ค่าสา� หรบั เรา” นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 105
10 ส่ิงท่ีควรท�า และไม่ควรท�า
เม่ือแรกเริม่ เริม่ ต้นอา่ นออกเสียงได้ตง้ั แต่เกดิ เลอื กหนังสือที่มคี �าคล้องจอง เลอื กหนงั สอื ทม่ี เี พยี ง 1-3 ประโยคในหนงึ่ หนา้ แลว้ คอ่ ยๆ เพิ่มขึ้น รปู คอ่ ยๆ น้อยลง จนกระทง่ั ถึงวรรณกรรมเยาวชนในท่สี ดุ เม่อื เลอื กหนังสอื เลอื กทัง้ สามอยา่ ง บนั เทงิ คดี สารคดี กวนี พิ นธ์ เลือกท่ีเน้ือหาไม่ยาวเกินไป ค่อยๆ เพิ่มข้ึนตามความ สามารถท่ีเดก็ จะจินตนาการได้ เลือกหนังสือที่ง่ายไว้ก่อน แต่ไม่ผิดที่จะเลือกหนังสือ ที่ทา้ ทาย เคารพการเลือกของเด็กเองด้วย เขาเลือกคือเขาชอบ แมว้ ่าเราจะไมช่ อบ เดก็ หลายคนอายตุ า่ งๆ กนั อาจจะตอ้ งพถิ พี ถิ นั หาทท่ี กุ คน ฟงั ไดพ้ รอ้ มกันหมด แล้วแยกอ่านรายคนอกี ที 108 มหัศจรรย์แห่งการอ่านออกเสียง
เมือ่ เรมิ่ อา่ น อ่านทุกคืน การเว้นระยะการอ่านนานมากเกินไปเป็น ผลเสีย ไม่เรมิ่ ด้วยการออกค�าสง่ั “นงั่ นงิ่ ๆ!” ถา้ เดก็ บางคนหยกุ หยกิ มาก ไมผ่ ดิ กตกิ าทจ่ี ะวางกระดาษ เปล่าและดนิ สอสีให้เขาทา� ข้างๆ เมื่ออ่าน อ่านชอื่ ผ้เู ขยี นและผวู้ าดทกุ คร้ัง ให้เวลากบั หนา้ ปกสกั นดิ หนึ่ง ใหเ้ วลากับรูปภาพในแตล่ ะหน้าสกั นดิ หนง่ึ ก่อนเรม่ิ อ่าน ทา� เสยี งเรา้ อารมณ์ หยดุ ตรงที่นา่ ตื่นเตน้ สักพกั หนงึ่ ถามเดก็ เลก็ ๆ น้อยๆ ได้ ถา้ หมดเวลา พยายามหยุดตรงหนา้ ทีต่ ื่นเต้น ใครอ่าน กระตุ้นใหพ้ ่ออา่ น เพราะครสู ่วนใหญเ่ ปน็ ผหู้ ญิง เด็กชาย จะรับรูไ้ ด้วา่ ผชู้ ายก็อา่ น พ่ีอ่านใหน้ ้องฟัง เราไมห่ า้ ม กระตนุ้ ให้ญาตทิ ช่ี อบแชตมาอา่ นให้ลกู ฟัง มีเวลาอิสระให้เด็กๆ หยิบหนังสือมาลูบคล�า ดูรูป และ อ่านเอง นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 109
และโปรดจา� ไว้วา่ การอา่ นมไิ ดส้ า� เรจ็ ชว่ั ขา้ มคืน ใหเ้ ดก็ พกหนังสอื ไปทุกที่ อ่านตรงเวลาดีกวา่ อา่ นไม่ตรงเวลา เรื่องทไ่ี มค่ วรทา� อยา่ ทนอ่าน ถา้ ไม่สนกุ อย่าเลือกหนังสือท่ีมีบทสนทนามากไป เพราะคนฟังไม่ รเู้ ร่ืองด้วยว่าใครพดู อยา่ เลอื กหนงั สอื ท่มี กี ารสรา้ งเปน็ หนงั ไปแล้ว เพราะเด็ก จะสนใจน้อยกว่า อยา่ โดนหลอกเพราะรางวลั ทห่ี นงั สอื ไดร้ บั เปดิ ใจใหก้ วา้ ง อยา่ ยึดติดกบั การอ่านเพอ่ื วิชาการ อยา่ เรม่ิ ต้นอา่ นถ้ามเี วลาเหลอื สนั้ มาก เด็กจะหงุดหงดิ อย่าเบ่ือที่จะตอบค�าถาม การอ่านยังมีเวลา แต่การถาม มีเวลาทเี่ ขาจะทา� ไมม่ ากนกั อย่าตีความเนื้อเรื่องหรือสรุปความ ถามได้ว่าเด็กๆ คิด อย่างไร อยา่ สบั สนระหว่างปริมาณและคณุ ภาพ อย่าขู่เด็กด้วยการบอกว่า “ถ้าไม่ท�า จะไม่อ่านหนังสือ ให้ฟงั ” 110 มหัศจรรย์แห่งการอ่านออกเสียง
เก่ียวกับผู้เขียน นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จบการศึกษาจาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล รวมถงึ ไดร้ บั วฒุ บิ ตั รผเู้ ชย่ี วชาญสาขา จิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลสมเด็จเจา้ พระยา ปฏิบัติราชการที่โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ตงั้ แต่ พ.ศ. 2526-2560 ผลงานหนงั สอื เล่มส�าคญั อาทิ เล้ียงลูกอย่างไรให้ได้ EF, เลยี้ งลกู ดว้ ยนทิ าน, เลยี้ งลกู ใหไ้ ดด้ ี 1-100, ทา� อยา่ งไรเมอ่ื เจา้ ตวั เลก็ สมาธิสนั้ และ กว่าจะถึงวยั รุ่นกส็ ายเสียแลว้ ติดตามเรื่องน่าสนใจและค�าแนะน�าเกี่ยวกับการเลี้ยงลูก ไดท้ ่เี ฟซบกุ๊ เพจ นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 112 มหัศจรรย์แห่งการอ่านออกเสียง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114