Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

045

Published by suppachaipetchmak, 2020-11-13 00:00:14

Description: 045

Search

Read the Text Version

สขุ ภาพดี ในยุค ดจิ ทิ ัล นางสาวปริศนา ดีทันญะ 045

การมสี ขุ ภาพทีดีในยุคดิจทิ ัล ผู้ศึกษาจาํ เปนต้องเข้าใจอันตรายและ ผลกระทบด้านสุขภาพในแง่มุมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปนด้าน สุขภาพกาย สุขภาพ จิต โรคทีเกิดขึน รวมถึงความสัมพันธ์ และผลกระทบต่อเยาวชน การใช้ อินเทอร์เน็ตและสือดิจิทัล เพือ ปองกัน หลีกเลียง ลดผลกระทบ จนถึงวิธีการรักษาเบืองต้น ทังต่อ ตัว เอง และคนใกล้ตัว เพือให้สามารถใช้ ชีวิตอย่างมีความสุขในยุคดิจิทัลได้

โรค CUMULATIVE TRAUMA DISORDERS อาการบาดเจ็บสะสม (cumulative trauma disorder) เปนปญหาทีเกิดขค้นกับ ระบบกระดูก กล้ามเนือ เส้นเอ็น กระดูกอ่อน เส้นประสาท ซึงเปน อาการทีไม่ได้เกิดขึนอย่างเฉียบพลันเหมือนอาการบาด เจ็บจากอุบัติเหตุ แต่เกิดขึนอย่างค่อยเปนค่อยไปและ เรือรัง ส่งผลต่อผู้ปวย ทําให้ต้องมาพบแพทย์ ส่วน ใหญ่จะมีตังแต่อาการปวดทีพบมากคือการปวดหลัง รองลงมาคืออาการปวดคอ ไหล่ และศีรษะ ตามลําดับ ส่วนอาการทางกายอืนๆซึงสามารถพบได้ คือ การอักเสบของเส้นเอ็น อาการชาบริเวณนิว และ ข้อมือ เรียกว่า Capal Tunnel Syndrome หรือทํา ให้มีอาการนิวล็อคเรียกว่า Trigger Finger (tenovaginitis) ซึงเกิดจากการมีพังผืดหนา รัดเส้น ประสาท รวมทังอาจมีอาการปวดกล้ามเนือ แขนขา เรือรัง การนอนหลับ ไม่ดี จาํ กัดกิจกรรมทีทําได้ จนถึง พิการหรือทุพพลภาพได้

อาการของโรค อาการของโรคจะค่อยเปนค่อยไป จะมีอาการปวดคอ ไหล่ ข้อมือ และหลัง ผู้ทีเปนมากๆ อาจมีอาการอืนร่วม ด้วย เช่น อาการชาทีมือ อาการของโรคพวกนีแบ่งเปน 3 ระยะ คือ ระยะแรกเปนแล้วหายเมือได้พัก ระยะสอง คือ มีอาการต่อเนืองถึงกลางคืน และหายเมือได้พัก ระยะสามคือ เปนตลอดเวลาไม่หาย

สาเหตขุ องโรค - ทํางานในสถานทีร้อนหรือเย็นเกินไป - ทํางานในรูปแบบซาํ ๆ เดิมๆ เปนเวลานาน - ทํางานในท่าทางเดิมๆเปนเวลานาน - เกิดจากการทํางานในรูปแบบทีผิด เช่น งอศอกมากเกินไป ก้มหลัง มากเกินไป - ได้รับการสันสะเทือนของเครืองมือหรือจากสิงแวดล้อมในทีทํางาน - ทํางานเกิน 1/3 ของกําลังกล้ามเนือติดต่อกันนานๆ

วธิ ปี องกัน - ติดแผ่นกรองแสงหน้าจอคอมพิวเตอร์ วิธีนีสามารถลดระดับปริมาณรังสี ทีแผ่ออกมาจากจอภาพลงได้บ้าง แต่ไม่สามารถลดลงได้ทังหมด วิธีนีทําให้ ผู้ใช้งานเกิดความสบายใจ คลายความกังวลลงได้บ้าง นอกจากนียังช่วยลด แสงจ้า แสงสะท้อนเข้าสู่ตา และไฟฟาสถิตย์ได้ระดับหนึง ทําให้ดวงตามี อาการล้าลดลง - ควรพักสายตาประมาณ 10 นาทีต่อชัวโมง หรือพักทุก 15 นาที ต่อ 2 ชัวโมง เช่น หลับตา มองไปไกลๆ มองวิวธรรมชาติ พวกใบไม้ ดอกไม้ หรือ เปลียนอิริยาบทโดยการเดิน การแข่วงแขนไปมาประมาณ 5-10 นาที หรือดู สิงพิมพ์ตัวโตๆ โดยควรทํางานกับจอภาพไม่เกินวันละ 4 ชัวโมง

สรุป การใช้ดิจิทัลนันมีประโยชน์มากมาย แต่ถ้าหากใช้มากจนเกินไปหลายๆ ชัวโมง อาจส่งผลเสียให้แก่ร่างกายได้หลายอย่าง อาจเกิดจากสิงเล็กๆที เรามองข้าม เช่นอาการสายตาล้า ปวดหลัง และนาํ ไปสู่โรคทีทําให้เกิดความ รุนแรงได้หลายๆอย่าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook