Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้

แนวทางการส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้

Description: แนวทางการส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ สำนักงาน กศน.

Search

Read the Text Version

แนวทาง การส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนอ่านออกเขยี นได้ ของสานักงาน กศน. สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารวิชาการลาดบั ท่ี 2/2562

ก คานา กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสํงเสริมการอํานออกและเขียนภาษาไทยสาหรับประชาชน และนักศึกษา กศน. เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายดังกลําว และเน่ืองจากภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ มีความจาเป็นสาหรับคนไทยทุกคนท่ีต๎องอํานออกและเขียนภาษาไทยได๎อยํางถูกต๎อง ซ่ึงเป็นพ้ืนฐาน ในการเรียนรูภ๎ าษาอนื่ ตํอไป สานักงานสงํ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) จึงได๎จัดทาแนวทางการสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออกเขียนได๎ จัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ให๎สถานศึกษา ภาคีเครือขํายนาไปใช๎เป็นแนวทางในการสํงเสริมการอํานและเขียนของประชาชน โดยใช๎หลักสูตรการรู๎หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 และการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงได๎ดาเนินการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ โดยใช๎หลักสูตร การร๎ูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 เพ่ือประโยชน์ในการสํงเสริมและสนับสนุนให๎ประชาชนชาวไทยที่ไมํรู๎ หนังสือไทย ประชาชนชาวไทยที่ลืมหนังสือไทย ประชาชนชาวไทยกลํุมเปูาหมายเฉพาะท่ีไมํใช๎ภาษาไทย ในชีวิตประจาวัน และประชาชนท่ัวไปที่สนใจจะเรียนร๎ูภาษาไทยได๎เรียนร๎ูหนังสือไทย สามารถฟัง พูด อําน เขยี นภาษาไทย และคิดคานวณเบ้ืองต๎น เพื่อนาไปใช๎ในชีวิตประจาวันได๎ และการสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออก เขียนได๎ โดยการประเมนิ ระดับการรหู๎ นงั สอื ของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต๎น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย สานักงาน กศน. หวังเป็นอยํางยิ่งวําเอกสารแนวทางการสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออกเขียนได๎ จะเป็นประโยชน์ตํอผู๎บริหาร เจ๎าหน๎าที่ที่เก่ียวข๎อง ครู กศน. และภาคีเครือขํายในการนาไปใช๎ ให๎เกิดประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสาหรับสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออกเขียนได๎ และขอขอบคุณทุกทํานที่มีสํวนรํวม ในการจดั ทาเอกสารฉบับนใ้ี หส๎ าเร็จลลุ ํวงด๎วยดี (นายศรชี ยั พรประชาธรรม) เลขาธกิ าร กศน.

ข สารบญั หนา้ คานา ก สารบญั ข บทท่ี 1 บทนา ………………………………………………………………………………………………………………….……………….. 1 หลกั การและเหตุผล............................................................................................................................... 1 วตั ถุประสงค์…………………………………………………………………………………………………………………………… 4 กรอบเนื้อหา…………………………………………………………………………………………………………………………… 4 กลํุมเปาู หมาย................................................................................................................ ........................ 5 นิยามศพั ท์.............................................................................................................................................. 5 บทท่ี 2 การสํงเสรมิ การรู๎หนงั สือสาหรบั ประชาชนทั่วไป โดยใช๎หลักสตู รการร๎หู นงั สือไทย พทุ ธศักราช 2557.. 6 กระบวนการดาเนนิ งาน........................................................................................................... ............... 8 แนวทางการดาเนนิ งาน........................................................................................................... ............... 10 บทบาทหนา๎ ที่......................................................................................................................................... 11 สานกั งานสงํ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ................................................ 11 สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาค.............................................. 11 สานกั งานสํงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั /กรุงเทพมหานคร........ 11 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ/เขต................................................... 12 ศนู ย์สงํ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกลํมุ เปาู หมายพเิ ศษ......................... 12 หนํวยงาน/สถานศกึ ษาอืน่ ๆ.......................................................................................................... 12 ภาคีเครือขาํ ย................................................................................................................ .................. 13 คร/ู ผสู๎ อน......................................................................................................................................... 13 บทที่ 3 การสํงเสริมการร๎ูหนังสือสาหรับนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา 14 ข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ............................................................................................................... กระบวนการดาเนินงาน........................................................................................................... ............... 16 แนวทางการดาเนินงาน........................................................................................................... ............... 17

ค สารบัญ (ตอํ ) บทบาทหนา๎ ท.ี่ ................................................................................................................ ........................ 18 สานกั งานสงํ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ...................................................................... 18 สถาบนั พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ภาค............................................... 19 สานกั งานสํงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั /กรุงเทพมหานคร........ 19 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต.................................................. 20 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตาบล/แขวง............................................................ 21 ผูท๎ าหนา๎ ที่นเิ ทศ....................................................................................................................................................................................... 22 นกั ศกึ ษา กศน. .............................................................................................................................. 22 23 บรรณานกุ รม......................................................................................................................................................... 24 ภาคผนวก............................................................................................................................................................... 25 31 หลกั สูตรการรูห๎ นังสอื ไทย พุทธศกั ราช 2557......................................................................................... 33 เทคนิคการสอนผูไ๎ มรํ ู๎หนงั สือ................................................................................................................... 36 แบบสรปุ ขอ๎ มูลผ๎ูไมํรหู๎ นังสือ และผูเ๎ รียนหลักสูตรการรห๎ู นงั สือไทย พุทธศักราช 2557.......................... 44 แบบประเมินระดบั การร๎ูหนงั สอื ไทยดา๎ นทักษะการฟัง พดู อําน และเขยี น ........................................... แบบสอบถาม สภาพการดาเนินงานการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ และการประเมินระดับ 53 การร๎ูหนงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. ............................................................................................................ คณะผจู้ ดั ทา……………………………………………………………………………………………………………………………………........

บทที่ 1 บทนา หลกั การและเหตผุ ล การรู๎หนังสือเป็นคุณสมบัติพ้ืนฐานท่ีจาเป็นตํอการเรียนร๎ูและการส่ือสารในสังคมปัจจุบัน เป็นบันไดข้นั แรกของการแสวงหาความร๎ูอันมหาศาลในโลกน้ี และเป็นการเช่ือมโยงการสื่อสารของผ๎ูคนตําง ๆ ในสังคมเข๎าด๎วยกัน องค์การยูเนสโกถือวําการรู๎หนังสือเป็นประตูสูํอิสรภาพของมนุษยชาติ โดยประชาชนชาวไทย ทุกคนมีสิทธิได๎รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยํางเทําเทียมและมีคุณภาพ ซึ่งรัฐบาลทุกยุคทุกสมัยให๎ความสาคัญ ในการสํงเสริม สนับสนุนให๎บุคคลได๎เรียนร๎ูภาษาไทย เพ่ือการติดตํอส่ือสารให๎เข๎าใจตรงกัน และสามารถนาความรู๎ ไปใช๎ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตได๎ ตามความต๎องการและความสนใจของแตํละบุคคล รวมท้ังการใช๎ภาษาไทยเป็น เคร่ืองมือในการแสวงหาความรูไ๎ ด๎อยาํ งตอํ เน่อื ง ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ เป็นภาษากลาง ในการส่ือสาร เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม การรห๎ู นังสือไทยเป็นความสามารถพ้ืนฐานในการติดตํอส่ือสาร การเรียนรู๎ การแสวงหาความรู๎อยํางตํอเน่ืองตลอดชีวิต คนไทยทุกคนและผ๎ูอาศัยอยํูในประเทศไทย จึงจาเป็นต๎องเรียนรู๎ ภาษาไทยให๎เข๎มแข็ง อันเป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นไทย ความภาคภูมิใจ ความมีเอกลักษณ์ มีอารยธรรม และความเจรญิ ของชาตไิ ทย องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแหํงสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือยเู นสโก (UNESCO) ได๎มกี ารสารวจข๎อมลู ดงั นี้ 1. อัตราร๎อยละผู๎ร๎ูหนังสือของประชากรในประเทศไทยที่มีอายุ 15 ปีข้ึนไป ระหวํางปี พ.ศ. 2523 - 2558 อตั ราร้อยละของผ้รู ู้หนังสอื ที่ ปี พ.ศ. เพศ อายุ 15 ปีข้ึนไป อายุ 15 - 24 ปี อายุ 65 ปีขนึ้ ไป ชาย 92.21 97.57 57.84 1 2523 หญิง 83.89 96.17 22.06 รวม 87.98 96.87 38.10 ชาย 94.60 98.10 79.23 2 2543 หญงิ 90.52 97.85 59.94 รวม 92.65 97.98 68.46 ชาย 95.60 98.22 82.50 3 2548 หญิง 91.53 97.88 65.07 รวม 93.51 98.05 72.72

2 อตั ราร้อยละของผรู้ ู้หนังสือ ท่ี ปี พ.ศ. เพศ อายุ 15 ปีข้ึนไป อายุ 15 - 24 ปี อายุ 65 ปีขึ้นไป ชาย 96.44 96.64 94.40 4 2553 หญิง 96.43 96.55 92.01 รวม 96.43 96.60 93.07 ชาย 95.25 97.98 83.65 5 2556 หญิง 92.25 98.65 72.64 รวม 93.70 98.31 77.86 ชาย 94.66 98.00 85.39 6 2558 หญงิ 91.19 98.29 73.27 รวม 92.87 98.15 78.73 ท่มี า : UNESCO ขอ๎ มลู ณ วันที่ 5 ต.ค. 2561 (Link : http://uis.unesco.org/country/TH) 2. ขอ๎ มลู อตั รารอ๎ ยละจานวนผู๎ไมรํ ูห๎ นังสืออายุ 15 ปขี ึ้นไป ในปี พ.ศ. 2558 เพศ จานวน (คน) รอ้ ยละ ชาย 1,451,468 5.34 หญิง 2,565,635 8.81 รวม 4,017,103 7.13 ทมี่ า : UNESCO ข๎อมลู ณ วันท่ี 5 ต.ค. 2561 (Link : http://uis.unesco.org/country/TH) นอกจากน้ี สานักงานสํงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) ได๎ดาเนินการสํงเสริมให๎ประชาชนทั่วไป และนักศึกษา กศน. สามารถอํานออกเขียนภาษาไทยได๎ โดยดาเนนิ การใน 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. สํงเสริมและสนับสนุนให๎ประชาชนทั่วไป สามารถฟัง พูด อําน เขียนภาษาไทยได๎ และคิดคานวณเบื้องต๎น โดยจัดการเรียนร๎ูตามหลักสูตรการร๎ูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 และมีจานวน ผเู๎ รียนท่ีลงทะเบยี นเรียนหลกั สูตรดังกลําว ระหวํางปีการศกึ ษา 2557 - 2561 ดงั น้ี รายการ ปีการศึกษา 2561 2557 2558 2559 2560 68,019 ลงทะเบยี น 462,888 301,473 86,903 83,996 ทม่ี า : กลํมุ แผนงาน สานักงาน กศน. ขอ๎ มลู ณ วนั ท่ี 5 ต.ค. 2561

3 2. สงํ เสริมและสนับสนุนให๎นักศึกษา กศน. ท่ีลงทะเบียนเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สามารถอํานออกเขียนได๎ โดยการประเมินระดับการรู๎หนังสือ ดังน้ี 2.1 จานวนผ๎ูเรียนที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระหวาํ งปี พ.ศ. 2557 - 2561 ปีการศึกษา ประถมศึกษา ระดบั การศกึ ษา รวม มธั ยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย 2,188,302 2557 211,003 832,803 1,144,496 1,239,311 1,203,085 2558 116,117 478,896 644,298 2,183,306 2,062,112 2559 92,588 470,899 639,598 2560 164,769 846,918 1,171,619 2561 150,005 797,801 1,114,306 ท่มี า : กลํมุ แผนงาน สานกั งาน กศน. ข๎อมลู ณ วันท่ี 5 ต.ค. 2561 2.2 จานวนนักศึกษา กศน. ท่ีได๎รับการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอาํ นออกเขียนได)๎ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ท่ี ปกี ารศึกษา ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษา รวม (คน) ตอนต้น (คน) ตอนปลาย (คน) 1 2560 49,838 294,654 412,150 756,642 2 2561 31,660 201,928 575,794 809,382 ทีม่ า : กลุํมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานกั งาน กศน. ข๎อมลู ณ วันท่ี 5 ต.ค. 2561 ผลการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ปกี ารศึกษา ระดับการศึกษา จานวนนกั ศกึ ษาทีเ่ ข้ารบั จานวนนกั ศึกษาทเ่ี ขา้ รบั จานวนนกั ศึกษาทีเ่ ขา้ รบั การประเมินการรู้หนงั สือ การประเมินการอ่าน การประเมินการเขยี น ภาคเรยี นที่ 2 (คน) ปีการศึกษา (คน) (คน) 2560 ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ประถมศึกษา 45,619 4,219 23,006 1,913 22,613 2,306 มธั ยมศกึ ษา 287,414 7,240 144,225 3,102 143,189 4,138 ตอนตน๎ 405,401 6,749 203,214 2,861 202,187 3,888 มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย

4 ปกี ารศึกษา ระดบั การศกึ ษา จานวนนกั ศกึ ษาที่เข้ารับ จานวนนกั ศกึ ษาท่ีเข้ารับ จานวนนกั ศกึ ษาท่ีเข้ารบั การประเมินการรหู้ นังสอื การประเมินการอ่าน การประเมนิ การเขยี น (คน) (คน) (คน) ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ประถมศกึ ษา 28,967 2,693 14,584 1,246 14,383 1,447 ภาคเรยี นท่ี 1 ปี มัธยมศกึ ษา 196,721 5,207 98,868 2,096 97,853 3,111 การศึกษา 2561 ตอนต๎น 271,717 4,077 136,354 1,528 135,363 2,549 มัธยมศึกษา ตอนปลาย ทม่ี า : กลุมํ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงาน กศน. ข๎อมลู ณ วนั ท่ี 5 ต.ค. 2561 สานักงาน กศน. มีบทบาทหน๎าที่ในการสํงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาสาหรับ ประชาชนท่ีอยูํนอกระบบ ได๎ดาเนินการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ โดยดาเนินการใน 2 ลักษณะ คือ 1) ใช๎หลักสูตรการรู๎หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 เพ่ือประโยชน์ในการสํงเสริมและสนับสนุนให๎ประชาชน ชาวไทยท่ีไมํรู๎หนังสือไทย ประชาชนชาวไทยที่ลืมหนังสือไทย ประชาชนชาวไทยกลํุมเปูาหมายเฉพาะท่ีไมํใช๎ ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน และประชาชนท่ัวไปที่สนใจจะเรียนร๎ูภาษาไทย ได๎เรียนรู๎หนังสือไทย สามารถฟัง พูด อําน เขียนภาษาไทย และคิดคานวณเบื้องต๎นเพื่อนาไปใช๎ในชีวิตประจาวันได๎ และ 2) การประเมินระดับ การร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบํงเป็น 3 ระดับ ได๎แกํ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต๎น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อให๎ทราบถึง ข๎อมูลระดับการอํานออกเขียนได๎ และ/หรือพัฒนาการของผู๎เรียน เพ่ือนาไปปรับพ้ืนฐานด๎านภาษาไทยแกํ ผ๎ูเรียน โดยท้ังสองวิธีการดาเนินงานดังกลําว ได๎ตอบสนองการสํงเสริมการร๎ูหนังสือไทยอันเป็นรากฐานของ การศกึ ษาความร๎ูวิชาอ่นื ๆ และเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ในการสํงเสริม สนับสนุนให๎ประชาชนชาวไทย อํานออก เขียนภาษาไทยได๎ สานักงาน กศน. ได๎จัดทาแนวทางการสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออกเขียนได๎ ให๎หนํวยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือขํายสามารถนาไปใช๎เป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู๎ ภาษาไทยใหก๎ บั ประชาชน และนักศึกษา กศน. ที่สอดคล๎องกบั บรบิ ทของพ้ืนทตี่ ํอไป วัตถุประสงค์ เพ่ือเป็นแนวทางในการสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออกและเขียนภาษาไทยได๎ โดยใช๎หลักสูตร การรู๎หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 และการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบเนื้อหา การสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออกและเขียนภาษาไทยได๎ ประกอบด๎วย การดาเนินงาน 2 ลักษณะ คือ 1. การสํงเสรมิ โดยใช๎หลักสูตรการรู๎หนังสอื ไทย พุทธศักราช 2557

5 2. การประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต๎น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชน และนกั ศึกษา กศน. นยิ ามศัพท์ 1. การส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ หมายถึง การสํงเสริมการจัดกิจกรรม โดยสถานศึกษา ในสังกดั สานกั งาน กศน. หรือเปน็ การจดั รํวมกับภาคเี ครือขาํ ย หรือสํงเสรมิ ให๎หนํวยงานอื่นจัด ใหแ๎ กปํ ระชาชน และนักศึกษา กศน. อํานออกและเขยี นภาษาไทยได๎ โดยใช๎ 1.1 หลกั สูตรการรหู้ นงั สอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 1) การรู้หนงั สือไทย หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารโดยการฟัง พูด อําน และ เขียนภาษาไทย รวมท้ังการคิดคานวณเบื้องต๎น ในเร่ืองที่เกี่ยวข๎องกับชีวิตประจาวัน ตามเกณฑ์ของหลักสูตร การรู๎หนงั สอื ไทย พทุ ธศักราช 2557 2) ผู้ไม่รู้หนังสือ หมายถึง ผ๎ูที่ไมํสามารถอําน เขียน ภาษาไทย และคิดคานวณ เบื้องต๎นหรอื ไมมํ ีความสามารถดงั กลาํ วอยํางใดอยํางหนง่ึ (อํานไมํออก/เขียนไมํได/๎ คิดเลขไมเํ ป็น) 3) ผู้ลืมหนังสือ หมายถึง ผ๎ูท่ีเคยผํานการเรียนมากํอนแล๎ว แตํไมํได๎ใช๎มาเป็น เวลานาน จงึ ทาใหไ๎ มํสามารถอาํ นออก เขียนได๎ 4) สภาพ หมายถึง เน้ือหาหรือเรื่องท่ีหลักสูตรกาหนดข้ึน เพื่อใช๎ในการจัดการ เรยี นร๎ูตามหลกั สูตรการรู๎หนงั สือไทย พุทธศักราช 2557 5) หัวเร่ือง หมายถึง เนื้อหาหรือเร่ืองราวท่ีต๎องเรียนร๎ูในแตํละสภาพ ตามหลักสูตร การร๎ูหนังสอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 6) คาหลกั หมายถึง คาสาคญั ท่ีจาเป็นต๎องเรยี นรู๎ในแตํละหัวเร่ือง ตามหลักสูตรการ รูห๎ นงั สอื ไทย พุทธศักราช 2557 7) ครู/ผู้สอน หมายถงึ ผท๎ู ีไ่ ด๎รับการแตํงตั้งจากสถานศึกษาให๎เป็นผู๎จัดกระบวนการ เรียนร๎ูตามหลักสตู รการร๎ูหนงั สอื ไทย พทุ ธศักราช 2557 1.2 การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) หมายถึง การประเมินการรู๎ภาษาไทยด๎านการอํานและการเขียนของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต๎น และมัธยมศึกษาตอนปลาย

บทที่ 2 การสง่ เสรมิ การรูห้ นงั สอื ไทยสาหรบั ประชาชนทว่ั ไป โดยใชห้ ลักสูตรการรู้หนังสอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 การร๎ูหนังสือเป็นคุณสมบัติพื้นฐานที่จาเป็นตํอการเรียนร๎ูและการสื่อสารในสังคมปัจจุบัน เปน็ บันไดขน้ั แรกของการแสวงหาความรู๎อันมหาศาลในโลกน้ี และเป็นการเชื่อมโยงการสื่อสารของผู๎คนตําง ๆ ในสังคมเข๎าด๎วยกนั การศึกษาเปน็ ปจั จัยสาคัญที่สงํ ผลตอํ การดาเนนิ ชวี ติ ในยคุ ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยําง รวดเร็วและหลากหลาย การศึกษาของบุคคลจะเริ่มต๎นได๎ด๎วยดี หากบุคคลนั้นจะเป็นผ๎ูท่ีอํานออก เขียนได๎ หรือเรียกงําย ๆ วําเป็น “ผ๎ูรู๎หนังสือ” การรู๎หนังสือจึงเป็นการพัฒนาคนอยํางยั่งยืน ชํวยให๎เข๎าถึงข๎อมูล ขําวสาร การเปิดโลกทัศน์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการประกอบอาชีพ ประชาชนชาวไทยและบุคคลท่ี อาศัยอยํูในประเทศไทยทุกคน จึงจาเปน็ ต๎องเรียนร๎ูภาษาไทยให๎เข๎มแข็งเพ่ือนาไปใช๎ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนเองให๎มีประสทิ ธิภาพยิง่ ขึน้ สานักงาน กศน. ตระหนักและเห็นความสาคัญของการสํงเสริมการรู๎หนังสือ ให๎ประชาชน จึงได๎ดาเนินการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎สาหรับประชาชาชนทั่วไป โดยใช๎หลักสูตรการรู๎ หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 เพ่ือให๎ผู๎เรียนสามารถฟัง พูด อําน เขียนภาษาไทย และคิดคานวณเบื้องต๎น และ นาไปใชใ๎ นชวี ิตประจาวันได๎ สงํ เสรมิ ให๎ประชาชนอาํ นออกเขยี นได๎ ดงั นี้

7 กรอบกระบวนการดาเนนิ การสง่ เสริมการรู้หนงั สอื ไทยสาหรบั ประชาชนท่วั ไป วางแผนการดาเนนิ งาน เก่ียวกับ หลกั สูตร การจัดการเรียนร๎ู สอื่ การวดั ผลประเมินผล ภาคเี ครือขําย งบประมาณ รายงานผล การนาหลกั สตู รไปใช้ การพัฒนาและการแต่งต้ังครู/ผู้สอน ประชาสมั พนั ธ์ ประสานความรว่ มมอื ภาคีเครอื ขา่ ย รบั สมคั รและขึน้ ทะเบียนผู้เรยี น ขออนญุ าตจัดการเรียนรู้ รายบคุ คล/รายกลมุ่ แนะนาผเู้ รยี น วางแผนการจัด การเรยี นรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลกั สตู ร จดั กระบวนการเรียนรู้ วดั และประเมนิ ผล ผลการเรยี น จบตามหลักสูตร รายงานผล

8 กระบวนการดาเนินการส่งเสริมการรู้หนังสือไทยสาหรับประชาชนท่ัวไป โดยใช้หลักสูตร การรู้หนังสือไทย พุทธศกั ราช 2557 1. การวางแผนการดาเนินงาน สานักงาน กศน., สถาบัน กศน.ภาค, สานักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. และสถานศึกษาช้ีแจง สร๎างความเข๎าใจให๎บุคลากรที่เก่ียวข๎อง รํวมกันวางแผนการจัดการศึกษาเกี่ยวกับ หลักสูตร การจัดการเรียนร๎ูส่ือ และแหลํงการเรียนร๎ู การวัดและประเมินผล ภาคเี ครอื ขําย งบประมาณ และการรายงานผลการดาเนนิ งาน 2. การนาหลักสตู รไปใช้ สถานศึกษานาหลักสูตรการร๎ูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ไปใช๎ในการจัดกิจกรรม สงํ เสริมให๎ประชาชนอาํ นออกเขียนได๎ ทั้งน้ี สถานศึกษาสามารถพัฒนาสภาพการเรียนร๎ูให๎สอดคล๎องกับบริบท ของผู๎เรียน ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม 3. การพัฒนาและการแตง่ ตงั้ ครู/ผสู้ อน 3.1 สานักงาน กศน.จังหวัด รํวมกับสถานศึกษา จัดให๎มีการพัฒนาครู/ผู๎สอน เพื่อให๎มี ความรูค๎ วามเขา๎ ใจ ทักษะการจดั การเรยี นร๎ู การวัดและประเมินผล ตามหลกั สูตรการร๎ูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 และเรอ่ื งอนื่ ๆ ท่ีเกี่ยวขอ๎ ง 3.2 สถานศึกษาแตํงต้ังครู/ผ๎ูสอน เพ่ือทาหน๎าที่จัดกระบวนการเรียนร๎ู ในกรณีที่ สถานศึกษาไมํมีครอู าสาสมัคร สถานศกึ ษาสามารถคัดเลือกและแตํงต้ังครู/ผู๎สอน ซึ่งอาจจะเป็นครู กศน. หรือ ครูชาวบ๎าน หรือบุคคลอื่นท่ีมีวุฒิการศึกษาไมํต่ากวําระดับมัธยมศึกษาตอนต๎นหรือเทียบเทํา และมีความร๎ู ความสามารถในการจดั กระบวนการเรียนรูต๎ ามหลกั สตู รการรหู๎ นงั สอื ไทย พทุ ธศักราช 2557 4. การประชาสมั พนั ธ์ สถานศกึ ษาดาเนินการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการรู๎หนังสือ ไทย พุทธศักราช 2557 ให๎กับประชาชนท่ีสนใจได๎รับข๎อมูลขําวสารอยํางตํอเน่ือง ด๎วยส่ือท่ีหลากหลาย เชํน หอกระจายขําว เสียงตามสาย การทาเวทีประชาคม รถประชาสัมพันธ์ การประชุมหัวหน๎าสํวนร าชการ การประชมุ กานนั /ผ๎ูใหญบํ ๎าน ส่ือออนไลน์ 5. การประสานความรว่ มมอื กับภาคีเครอื ขา่ ย สถานศึกษาประสานงาน ชี้แจง ทาความเข๎าใจกับภาคีเครือขําย เพ่ือรํวมกันจัด สํงเสริม สนบั สนุนการรู๎หนังสือไทย ตามหลักสูตรการรหู๎ นังสือไทย พทุ ธศักราช 2557 6. การรับสมคั รและข้นึ ทะเบยี นผู้เรยี น สถานศึกษาหรือภาคีเครือขํายดาเนินการรับสมัครผู๎เรียนและขึ้นทะเบียนผู๎เรียน โดย ผูส๎ มัครนาเอกสาร หลกั ฐานการสมัครย่ืนตํอสถานศึกษา ตามวัน เวลา สถานท่ี ตามที่สถานศึกษากาหนด ท้ังน้ี สามารถดาเนินการรบั สมคั รได๎ตลอดทง้ั ปี

9 6.1 คุณสมบัติผู้เรียน เป็นประชาชนชาวไทยที่ไมํรู๎หนังสือไทย ลืมหนังสือไทย หรือ กลํุมเปูาหมายเฉพาะบางกลํุมท่ีไมํใช๎ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน และประชาชนท่ัวไปท่ีสนใจจะเรียนร๎ู ภาษาไทย 6.2 หลักฐานการสมัคร ได๎แกํ ใบสมัคร รูปถําย สาเนาบัตรประชาชน หรือสาเนา ทะเบียนบา๎ น หรอื สาเนาหนังสอื เดนิ ทาง หรือเอกสารอน่ื ๆ ทที่ างราชการออกใหพ๎ รอ๎ มฉบับจรงิ ไปแสดง 7. การแนะนาผู้เรยี น สถานศึกษาจัดให๎ผ๎ูเรียนได๎รับการแนะนาและเลือกเรียนตามหลักสูตรการร๎ูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 โดยสร๎างความเข๎าใจกับผู๎เรียนเก่ียวกับสาระสาคัญของหลักสูตรการรู๎หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 โดยใช๎สื่อตําง ๆ เชํน การจัดการเรียนรู๎ ส่ือและแหลํงการเรียนรู๎ การวัดและประเมินผล การจบหลักสตู ร เปน็ ต๎น 8. การขออนญุ าตจัดการเรยี นรรู้ ายบุคคล/รายกลุ่ม ครู/ผ๎ูสอน ขออนุญาตจัดการเรียนร๎ูรายบุคคล/รายกลุํม สํงเสริมการร๎ูหนังสือไทย ตอํ สถานศกึ ษาไมํนอ๎ ยกวํา 15 วนั กอํ นการดาเนินงาน ตามแบบท่กี าหนด 9. การวางแผนการจัดการเรยี นรู้ ครู/ผ๎ูสอน และผ๎ูเรียนรํวมกันจัดทาแผนการเรียนรู๎เป็นรายบุคคล/รายกลํุม ตามสภาพ และบรบิ ทของผเ๎ู รียน รวมทัง้ ทรัพยากรและแหลงํ เรียนรู๎ในชุมชน ท้งั นี้ ในการกาหนดสภาพและจัดทาแผนการ เรียนรู๎ ครู/ผ๎ูสอน ผูเ๎ รยี น และผเ๎ู กย่ี วขอ๎ งรวํ มกันกาหนดแผนการจัดการเรยี นร๎ู เพอื่ ให๎ตรงกบั ความต๎องการของ ผ๎ูเรียน โดยบูรณาการกับสภาพการเรียนร๎ูท่ีสอดคล๎องกับวิถีชีวิตของผ๎ูเรียน ครอบครัว ชุมชน และสังคม จานวน 12 สภาพ ทง้ั น้ี กาหนดให๎ผู๎เรียนทุกคนต๎องเรียนร๎ู สภาพท่ี 1 เมืองไทยของเรา ตามขอบขํายเน้ือหาที่ กาหนด และเลือกเรียนเพิ่มเติมอีก 11 สภาพ ซ่ึงเป็นอิสระกัน โดยจัดการเรียนรู๎ตามที่หลักสูตรกาหนด หรือ สถานศึกษาอาจพัฒนาเพิ่มข้ึนใหมํตามความต๎องการของผู๎เรียน ครอบครัว ชุมชน และสังคม หรือตาม สถานการณ์/เหตุการณ์ตําง ๆ ที่เกิดขึ้นในท๎องถ่ิน โดยสถานศึกษากาหนดสภาพให๎สอดคล๎องกับแตํละสภาพ ของทอ๎ งถ่ินตามโครงสร๎างหลกั สูตรการรหู๎ นงั สือไทย พทุ ธศกั ราช 2557 และจดั ทาแผนการเรยี นร๎ู 10. การจัดกระบวนการเรียนร้ตู ามแผนการจดั การเรียนรู้ ครู/ผู๎สอน ดาเนินการจัดกระบวนการเรียนร๎ูตามแผนการจัดการเรียนร๎ูท่ีกาหนด โดยคานึงถึงความแตกตํางระหวํางบุคคล และบันทึกผลการจัดการเรียนร๎ู เพื่อเป็นข๎อมูลในการพัฒนาแผนการจัด การเรียนร๎ใู นครัง้ ตอํ ไป

10 11. การวดั และประเมนิ ผล ครู/ผูส๎ อน ดาเนินการวดั และประเมนิ ผลตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์การเรียนรู๎ในแตํละ สภาพทก่ี าหนด เพื่อเปน็ การตรวจสอบความก๎าวหนา๎ และผลสัมฤทธิ์ของผู๎เรียน เน๎นการพัฒนาผู๎เรียนได๎เรียนรู๎ อยาํ งเตม็ ศกั ยภาพ 12. การจบหลักสูตร ใหเ๎ ป็นไปตามท่กี าหนดไว๎ในหลักสูตร ดงั นี้ 12.1 ผ๎ูเรียนต๎องเรียน และผํานการประเมินสภาพที่ 1 และมีความสามารถในการฟัง พดู อาํ น และเขยี นตามคลงั คาหลกั ทกี่ าหนดไมํน๎อยกวํา 800 คา 12.2 ผูเ๎ รียนต๎องผาํ นการประเมนิ ตามเคร่อื งมอื ทส่ี ถานศึกษากาหนด 13. การรายงานข้อมูลผู้เรยี น 13.1 คร/ู ผส๎ู อน รายงานจานวนผู๎เรียน ผ๎ูผํานการประเมิน สํงผ๎ูบริหารสถานศึกษา และ บนั ทึกลงระบบฐานข๎อมลู 13.2 สถานศกึ ษาสรปุ รายงานผลการดาเนินงาน ให๎สานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. 13.3 สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. รายงานผลการดาเนินงาน ให๎สานักงาน กศน. และ สถาบัน กศน.ภาค แนวทางการดาเนนิ งานสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนอ่านออกเขียนได้ โดยใช้หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศกั ราช 2557 ดาเนนิ การ ดังน้ี 1. ประชุมช้ีแจงสร๎างความร๎ู ความเข๎าใจให๎แกํผู๎บริหารทุกระดับ ศึกษานิเทศก์ นักวิชาการ คร/ู ผสู๎ อน ครูชาวบ๎าน และภาคเี ครือขําย 2. จัดทาแผนการปฏิบัติงานสํงเสริมให๎ประชาชนอํานออกเขียนได๎ โดยใช๎หลักสูตรการรู๎ หนงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช 2557 3. กาหนดแนวทางการติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานสํงเสริมการร๎ูหนังสือไทย โดยใช๎ หลกั สตู รการรู๎หนังสอื ไทย พุทธศักราช 2557 4. สรุปผลและรายงานผลการดาเนินงานสํงเสริมการร๎ูหนังสือไทย โดยใช๎หลักสูตรการรู๎ หนงั สอื ไทย พทุ ธศักราช 2557 เพอ่ื นาผลไปพัฒนาการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎สาหรบั ประชาชนตํอไป

11 บทบาทหน้าท่ีของการส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ โดยใช้หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พทุ ธศักราช 2557 1. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 1.1 กาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการดาเนินงานการสํงเสริม สนับสนุนการร๎ูหนังสือไทย ใหส๎ อดคล๎องกับนโยบายของรฐั บาล 1.2 สนบั สนนุ งบประมาณในการดาเนินงานการรูห๎ นังสอื ไทย 1.3 พฒั นาหลกั สตู ร รปู แบบการจัดการเรยี นร๎ู สอื่ การเรยี นรู๎ การวดั และประเมนิ ผล 1.4 สงํ เสริม สนับสนุนการพฒั นาบุคลากร 1.5 สํงเสริม สนับสนุนให๎หนํวยงาน สถานศึกษา ภาคีเครือขําย ดาเนินงานการสํงเสริม สนบั สนนุ การรหู๎ นังสือไทยสาหรับประชาชน 1.6 นเิ ทศ ติดตามผลการดาเนินงานการสงํ เสริม สนับสนนุ การรูห๎ นงั สือไทย 1.7 ดาเนนิ การวิจัย เพ่ือพฒั นาการดาเนินงานการสงํ เสริม สนบั สนุนการร๎หู นงั สือไทย 2. สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ภาค 2.1 ศึกษาหลักการของหลกั สตู ร วธิ ีการจัดการเรียนรู๎ วิธีการวัดผลประเมินผล เกณฑ์การ อนุมตั กิ ารจบหลกั สูตร 2.2 แตํงต้ังคณะทางานนิเทศ ติดตาม การดาเนินงานการสํงเสริม สนับสนุนการร๎ูหนังสือไทย ของสถานศึกษา 2.3 ประชุมชแ้ี จงคณะทางานนิเทศ ติดตาม 2.4 นเิ ทศ ตดิ ตามโดยประสานงานกับ สานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม., กศน.อาเภอ/เขต 2.5 สรุปผลการนิเทศ ติดตาม และสํงกลับข๎อมูล ข๎อเสนอแนะให๎สานักงาน กศน.จังหวัด/ กทม., กศน.อาเภอ/เขต 2.6 รายงานผลการนิเทศ ติดตามกระบวนการดาเนินงานการสํงเสริม สนับสนุนการร๎ู หนงั สอื ไทย ของสานักงาน กศน.จงั หวดั /กทม., กศน.อาเภอ/เขต เสนอตอํ สานักงาน กศน. 2.7 สํงเสริม สนับสนุน และดาเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาดาเนินงานการสํงเสริม สนับสนุน การรู๎หนังสือไทย 3. สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร 3.1 ศกึ ษาหลักสตู รการรหู๎ นงั สือไทย พทุ ธศักราช 2557 เพ่ือนานโยบายสํูการปฏิบัติไปใน ทิศทางเดียวกันอยํางเปน็ ระบบและมีประสิทธภิ าพ 3.2 แตํงตั้งคณะทางานนิเทศ ติดตาม และประชุมชี้แจงการดาเนินงานการสํงเสริม สนับสนนุ การรห๎ู นงั สอื ไทย

12 3.3 นิเทศ ติดตามการดาเนินงานการสํงเสริม สนับสนุนการร๎ูหนังสือไทย รํวมกับ กศน.อาเภอ/เขต ในจงั หวัด/กทม. ให๎ดาเนนิ งานอยํางมีประสิทธิภาพ 3.4 รวบรวมขอ๎ มูลผลการสํงเสรมิ สนับสนุนการร๎ูหนงั สอื ไทย ของแตลํ ะ กศน.อาเภอ/เขต เพื่อสรุปขอ๎ มูลเปน็ ระดบั จังหวดั /กทม. และรายงานผลเสนอตอํ สานกั งาน กศน. 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ/เขต 4.1 ดาเนนิ การสารวจข๎อมลู ผไ๎ู มํรห๎ู นังสอื ทงั้ ขอ๎ มูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิ โดยเฉพาะข๎อมูล ความจาเป็นขนั้ พื้นฐาน (จปฐ.) 4.2 พัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษาและภาคีเครือขําย 4.3 แตํงต้งั คร/ู ผ๎ูสอน ทาหนา๎ ท่ีจัดการเรียนรู๎ 4.4 พัฒนา/จัดทา หลักสตู รสถานศึกษาให๎เหมาะสมกับผ๎ูเรียนและบริบทของสถานศึกษา ให๎เปน็ ไปตามหลกั สูตรการรูห๎ นงั สอื ไทย พทุ ธศักราช 2557 4.5 จดั ทาคูํมอื การจัดกระบวนการเรยี นรู๎สาหรบั ครู/ผู๎สอน ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 4.6 สํงเสริม สนับสนุนให๎ครู/ผู๎สอน จัดทาแผนการจัดการเรียนรู๎ให๎สอดคล๎องกับเนื้อหา และวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตรสถานศึกษา สภาพของผเ๎ู รียนและบรบิ ทในพนื้ ท่ี 4.7 สํงเสริม สนับสนุนให๎ครู/ผู๎สอน และภาคีเครือขําย จัดกระบวนการเรียนรู๎ตาม แผนการจดั การเรยี นรู๎ 4.8 สนับสนุนสอ่ื วสั ดุ อปุ กรณ์ และแหลํงเรยี นรู๎ ที่ใช๎ในการจัดการเรยี นร๎ู 4.9 จัดทาเคร่ืองมือการประเมินการรู๎หนังสือไทย ตามหลักสูตรสถานศึกษาท่ีพัฒนา/ จดั ทาขน้ึ 4.10 กากับ ดูแล นิเทศ ติดตามให๎ครู/ผ๎ูสอน จัดทารายงานผลการดาเนินงานการรู๎ หนังสือไทยเสนอตํอสานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. 4.11 ดาเนินการอนมุ ตั ิผลการเรียนและออกหลักฐานการศึกษา 5. ศนู ย์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ 5.1 ดาเนินการสารวจข๎อมูลความต๎องการการเรียนร๎ูหนังสือไทยของคนไทย ในตาํ งประเทศ หรอื ชาวตาํ งชาติทีส่ นใจเรียนรห๎ู นังสือไทย 5.2 พฒั นาบุคลากรดา๎ นการศึกษา การนิเทศ ติดตามการดาเนนิ งาน 5.3 ดาเนินการจัดสํงเสริมการจัดการศึกษา วัดและประเมินผล อนุมัติผลการเรียน ออกหลักฐานการศึกษา ตามหลกั สตู รการร๎หู นงั สอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 5.4 รายงานผลการดาเนนิ งานตํอสานักงาน กศน. 6. หน่วยงาน/สถานศึกษาอื่น ๆ ในสังกัดสานักงาน กศน. ให๎การสนับสนุนตามบทบาท ภารกิจของแตํละหนํวยงาน/สถานศกึ ษา

13 7. ภาคีเครือข่าย สํงเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนร๎ูให๎ประชาชนอํานออกเขียนภาษาไทยได๎ โดยใช๎หลักสตู รการรห๎ู นังสอื ไทย พทุ ธศกั ราช 2557 8. ครู/ผู้สอน 8.1 สารวจข๎อมลู และวเิ คราะหพ์ นื้ ฐานความร๎ูของผู๎เรียนเปน็ รายบุคคล 8.2 ขออนญุ าตจัดต้งั กลํุม/จัดการเรียนรู๎โดยผาํ นหลกั สูตรการรห๎ู นังสอื ไทย พุทธศักราช 2557 8.3 ขอความเห็นชอบจัดซื้อวสั ดุ อุปกรณ์ ในการจดั การเรียนรู๎ 8.4 จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู๎ ขออนุมตั ิตํอผ๎ูบริหารสถานศึกษา 8.5 จัดการเรียนร๎ู โดยดาเนนิ การ ดงั น้ี 8.5.1 ทบทวน และปรับพื้นฐานความรู๎ทักษะการใช๎ภาษาไทยตามสภาพของผ๎ูเรียน เพ่อื เป็นการเตรียมความพร๎อมในการเรียนร๎ตู ํอไป 8.5.2 จัดกระบวนการเรียนรู๎ตามแผนการจัดการเรียนรู๎ตามเนื้อหาและจุดมุํงหมาย ของหลักสูตรการรูห๎ นงั สือไทย พทุ ธศักราช 2557 8.6 ดาเนนิ การวดั และประเมินผลการเรยี นรก๎ู ํอนเรยี น ระหวาํ งเรยี น และหลังเรียน เพื่อดู พัฒนาการความก๎าวหน๎าของผ๎เู รียน 8.7 จัดทาสรปุ ผลการดาเนนิ งานการจดั การเรยี นรู๎ เสนอตอํ ผ๎ูบริหารสถานศึกษา 8.8 จัดทารายงานผลผู๎จบหลักสูตรและขออนมุ ัติผจู๎ บหลกั สูตร ตํอผู๎บรหิ ารสถานศกึ ษา

บทที่ 3 การส่งเสรมิ การร้หู นังสอื สาหรบั นักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 การสํงเสริมการรู๎หนังสือสาหรับนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สานักงาน กศน. ได๎จัดให๎มีการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบํงเป็น 3 ระดับ ได๎แกํ ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต๎น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือให๎ทราบถึงข๎อมูลระดับการอํานออก เขียนได๎ และ/หรือพัฒนาการของผ๎ูเรียน เพอ่ื นาผลการประเมินท่ีได๎มาพัฒนาการอํานเขียนภาษาไทยแกํผู๎เรียน ดังน้ัน การสํงเสริมการรู๎หนังสือสาหรับนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 จงึ มีแนวทางดาเนินงาน ดงั ตอํ ไปนี้

15 แผนผงั กระบวนการดาเนินการประเมินระดับการรู้หนังสือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) รบั สมคั รนักศึกษา ลงทะเบียนเรยี น ประเมินระดบั การรห๎ู นงั สือ ของนกั ศกึ ษา กศน.(การอาํ นออกเขยี นได)๎ พฒั นาการอํานและเขียน ผลการ ไมผํ าํ น ภาษาไทยผํานกระบวนการ ประเมนิ เรียนรร๎ู ายวิชาตาํ ง ๆ ท่ี พัฒนาการอาํ นและเขยี นควบคูกํ บั การจัดการ กาหนดในหลกั สตู ร ผาํ น เรยี นร๎ูทส่ี อดคลอ๎ งกบั ผลการประเมนิ รายบคุ คล การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ประเมินระดบั การรหู๎ นังสอื ของนกั ศึกษา พทุ ธศกั ราช 2551 กศน. (การอาํ นออกเขียนได)๎ ประเมินซา้ ผลการ ไมผํ าํ น ประเมิน ผําน รายงานผํานระบบบันทึกผลระดบั การ ร๎หู นังสอื ของนักศกึ ษา กศน.

16 จากแผนผงั กระบวนการดาเนนิ การประเมินระดับการรหู้ นังสือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) สรปุ ไดด้ ังน้ี 1. รบั สมัครนกั ศกึ ษาใหม่ สถานศึกษาดาเนนิ การรบั สมัครตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. ลงทะเบียนเรียน นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแตํละภาคเรียน โดยครู กศน. ต๎อง ตรวจสอบจานวนนักศึกษาที่ต๎องเข๎ารับการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) แตํละระดับการศึกษา พร๎อมจัดเตรียมแบบประเมินการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ตามจานวนนกั ศึกษาแตลํ ะระดบั การศึกษา 3. ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ครู กศน. ดาเนินการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) นักศึกษาทุกคน ทุกระดับ การศึกษา ตามความพร๎อมของนักศึกษา กศน. และสถานศึกษา โดยใช๎แบบประเมินระดับการรู๎หนังสือของ นักศึกษา กศน. (การอํานออกเขยี นได๎) ทัง้ น้ีตอ๎ งอยํูในชํวงระยะเวลาที่ สานกั งาน กศน. กาหนด ดงั นี้ ภาคเรยี นท่ี 1 ระหวาํ งวนั ท่ี 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม ของทกุ ปี ภาคเรยี นที่ 2 ระหวํางวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน – 31 มกราคม ของทกุ ปี 4. ผลการประเมิน ครู กศน. แจ๎งผลการประเมินให๎กับนักศึกษาที่เข๎ารับการประเมินทราบ พร๎อมทั้งบนั ทกึ ผลผู๎ทปี่ ระเมนิ “ผาํ น” และ “ไมผํ ําน” เพ่ือเสนอผอู๎ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต 4.1 นักศึกษาที่ประเมิน “ผ่าน” นักศึกษาท่ีประเมินผํานการประเมินระดับการรู๎หนังสือ ของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) แล๎ว ไมํต๎องประเมินซ้าอีก ทั้งน้ีนักศึกษาจะได๎รับการพัฒนา การอํานและเขียนภาษาไทยผํานกระบวนการเรียนรู๎รายวิชาตําง ๆ ที่กาหนดในหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดย ครู กศน. จะต๎องเข๎าระบบบันทึกผลการประเมินระดับ การร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) การเข้าใช้ระบบบันทึกผลในภาคเรียนท่ี 1 ระหวํางวันท่ี 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม และภาคเรียนท่ี 2 ระหวาํ งวันที่ 1 พฤศจกิ ายน – 31 มกราคม ของทุกปี 4.2 นกั ศกึ ษาทป่ี ระเมิน “ไมผ่ ่าน” ให๎ครู กศน. ดาเนินการดังน้ี 1) พัฒนาการอ่านและการเขียนภาษาไทย ให๎กับนักศึกษาที่ประเมินไมํผําน การประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ท่ีสอดคล้องกับผลการประเมิน รายบคุ คล 2) ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ซ้า โดยสถานศึกษานัดหมายนักศึกษาประเมินพร๎อมกันท้ังสถานศึกษา หรือให๎ กศน.ตาบลนัดหมายประเมิน นักศึกษาพร๎อมกันเป็นรายตาบล และกาหนดระยะเวลาดาเนินการเพ่ิมเติมสาหรับนักศึกษาท่ีไมํสามารถ เขา๎ รับการประเมินไดต๎ ามนัดหมาย 3) แจ้งผลการประเมินให้กับนักศึกษาที่เข้ารับการประเมินซ้า พร๎อมท้ังบันทึกผล นักศึกษาท่ีประเมินผํานและไมํผําน ท้ังน้ี ผ๎ูท่ีผํานการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. ในคร้ังนแี้ ลว๎ ไมตํ ๎องประเมินซ้าอีก สาหรับนักศึกษาที่ประเมินไมํผําน ครู กศน. จะต๎องดาเนินการพัฒนาและ ประเมนิ ใหม่ในภาคเรยี นถัดไป

17 5. ครู กศน. รวบรวมจานวนนักศึกษาที่ประเมิน “ผําน” และ “ไมํผําน” การประเมินระดับ การรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. แตํละระดับในแตํละภาคเรียน เสนอผ๎ูอานวยการ กศน.อาเภอ/เขต ทราบ แล๎วดาเนินการเข๎าใช๎ระบบบนั ทกึ ผลการประเมินระดบั การร๎หู นงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. ท้ังน้ี ในภาคเรียนที่ 1 ให๎แล๎วเสร็จ ภายในวันท่ี 15 สิงหาคม ของทุกปี และ ภาคเรียนท่ี 2 ใหแ๎ ลว๎ เสร็จ ภายในวันท่ี 31 มกราคม ของทกุ ปี 6. กศน.อาเภอ/เขต สรุปผลการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. ในแตํละ ภาคเรียน ตามแบบฟอรม์ (ภาคผนวก) สํงให๎ สานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม. 7. สานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. สรุปผลการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ในแตํละภาคเรียน ตามแบบฟอร์ม (ภาคผนวก) สํงให๎ สานักงาน กศน. และสถาบัน กศน.ภาค แนวทางการดาเนินงานส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ โดยวิธีการส่งเสริมการอ่านและ เขยี นภาษาไทย ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได)้ การดาเนินการสงํ เสริมการอํานและเขียนภาษาไทยของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) มีวิธีดาเนินการ ดังน้ี 1. สถานศึกษาแตงํ ตัง้ คณะทางานสํงเสรมิ การอาํ นและเขยี นภาษาไทย 2. ประชมุ ชแี้ จงผู๎เกย่ี วข๎อง 3. กศน.อาเภอ/เขต รํวมกับ กศน.ตาบล/แขวง ตรวจสอบฐานข๎อมูลของนักศึกษา กศน. ในโปรแกรมทะเบยี นนักศึกษา (ITWs) ในต๎นภาคเรียนทจี่ ะดาเนนิ การประเมิน จาแนกเป็นระดับการศึกษา คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน๎ และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 4. กศน.อาเภอ/เขต จดั เตรยี มเอกสารที่เกย่ี วขอ๎ งโดยเฉพาะการจดั ทาเคร่ืองมือประเมินระดับ การรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ที่เหมาะสมกับผ๎ูเข๎ารับการประเมิน เชํน ความครบถ๎วนของเครื่องมือ ขนาดตัวอักษร เป็นต๎น เพ่ือตรวจสอบพ้ืนฐานความรู๎การอํานออกเขียนได๎ของ นักศึกษา กศน. 5. กศน.ตาบล/แขวง แจ๎งผ๎ูเขา๎ รบั การประเมนิ 6. ครู กศน. ดาเนินการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) โดยสถานศึกษานัดหมายนักศึกษาประเมินพร๎อมกันท้ังสถานศึกษา หรือให๎ กศน.ตาบล นัดหมายประเมิน นกั ศึกษาพรอ๎ มกันเป็นรายตาบล และกาหนดระยะเวลาดาเนนิ การเพ่ิมเติมสาหรับนักศึกษาท่ีไมํสามารถเข๎ารับ การประเมินได๎ตามนัดหมาย ซ่ึงใช๎เครื่องมือประเมิน (ตัวอยํางแบบประเมินปรากฏอยูํในภาคผนวก) ที่สานักงาน กศน. พัฒนาข้ึน โดยสามารถดาวน์โหลดได๎ที่เว็บไซต์ของกลุํมพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (www.nfe.go.th/pattana) ในหัวข๎อ “คํูมือการประเมินระดับการรู๎หนังสือของ นกั ศึกษา กศน. (การอาํ นออกเขียนได)๎ ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2561” และตรวจให๎คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหนดไว๎ ตามคมํู อื ฉบับนี้

18 6.1 กรณีท่ีนักศึกษาประเมิน “ผําน” นักศึกษาจะได๎รับการพัฒนาการอํานและเขียน ภาษาไทยผํานกระบวนการเรียนรู๎รายวิชาตําง ๆ ท่ีกาหนดในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 อยํางตํอเนอ่ื ง ให๎ครู กศน. สรุปผลการประเมินตามแบบฟอร์มในภาคผนวกเพ่ือ เสนอตํอผู๎อานวยการ กศน.อาเภอ/เขต พร๎อมทั้งบันทึกผลการประเมินในระบบบันทึกผลการประเมินระดับ การร๎ูหนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอาํ นออกเขียนได)๎ 6.2 สาหรับนกั ศกึ ษาทป่ี ระเมิน “ไมผํ ําน” ครู กศน. ต๎องดาเนนิ การดังน้ี 1) พัฒนาการอํานและการเขียนภาษาไทยให๎กับนักศึกษาท่ีประเมินไมํผํานการ ประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ในระหวํางการจัดกระบวนการเรียนรู๎ ตามรายวิชาท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนน้ัน ๆ เชํน สอนเสริม แบบฝึกเขียน แบบฝึกอําน เป็นต๎น ท้ังน้ี ให๎พิจารณาจากผลการประเมนิ ของนกั ศึกษารายบุคคล 2) ดาเนนิ การประเมินระดับการรห๎ู นังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ซา้ 3) แจ๎งผลการประเมินให๎กับนักศึกษาที่เข๎ารับการประเมินซ้า พร๎อมทั้งบันทึกผล การประเมิน 7. ครู กศน. ดาเนินการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. ท่ีลงทะเบียนเป็น นักศึกษาใหมํ และผู๎ท่ีประเมินไมํผํานในภาคเรียนท่ีผํานมา ทุกระดับการศึกษา ทุกคน โดยใช๎แบบประเมิน ระดับการรู๎หนงั สอื ของนักศึกษา กศน. ทง้ั นี้ตอ๎ งอยูใํ นชวํ งระยะเวลาที่ สานกั งาน กศน. กาหนด ดังนี้ ภาคเรยี นที่ 1 ระหวาํ งวันท่ี 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม ของทกุ ปี ภาคเรยี นที่ 2 ระหวํางวนั ท่ี 1 พฤศจิกายน –31 มกราคม ของทกุ ปี 8. กศน. ตาบล/แขวง รวบรวมข๎อมูลพร๎อมท้ังเอกสารการประเมิน ในระดับตาบล/แขวง นาสงํ กศน. อาเภอ/เขต เพอ่ื เก็บไวใ๎ ช๎เป็นหลกั ฐาน สานักงาน กศน. ได๎กาหนดบทบาทหน๎าทใี่ นการสงํ เสรมิ ใหป๎ ระชาชนอาํ นออกเขียนได๎ เพ่ือให๎ หนวํ ยงานที่เกีย่ วข๎องดาเนินการได๎สอดคลอ๎ งกับกลุมํ เปูาหมาย แบํงเป็น 6 บทบาท ดงั น้ี บทบาทหน้าท่ีการดาเนินการส่งเสริมให้นักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบและ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อา่ นออกเขยี นได้ 1. สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 1.1 ศกึ ษา วิเคราะห์ นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.2 แตํงต้ังคณะทางานการสํงเสริมให๎นักศึกษา กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การอํานออกเขียนได๎ 1.3 แตํงต้ังคณะทางานการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออก เขยี นได)๎

19 1.4 พัฒนาแนวทางการสํงเสริมให๎นักศึกษา กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 การอํานออกเขียนได๎ 1.5 พัฒนาคูํมือและเคร่ืองมือการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอาํ นออกเขยี นได)๎ 1.6 พัฒนาโปรแกรมและจัดทาฐานข๎อมูลการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขยี นได๎) 1.7 แจ๎งสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ดาเนินการสํงเสริมและประเมินนักศึกษา กศน. ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ให๎อาํ นออกเขยี นได๎ 1.8 ตดิ ตามผลการดาเนินงาน เพื่อนาผลมาพฒั นาระบบการประเมนิ 1.9 จดั ทารายงานผลการประเมนิ ระดับการร๎หู นงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอาํ นออกเขียนได๎) เสนอสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 2. สถาบันพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภาค 2.1 ศึกษาแนวคิด กระบวนการดาเนินงาน บทบาทหน๎าที่ แนวทางสํงเสริม วิธีการ และ เคร่อื งมือประเมนิ ระดบั การร๎หู นังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอาํ นออกเขียนได๎) ให๎ชดั เจน 2.2 แตํงตั้งคณะทางานนิเทศ ติดตาม กระบวนการบริหารของสานักงาน กศน.จังหวัด/ กทม., กศน.อาเภอ/เขต ตามแนวทางการสํงเสริมให๎นักศึกษา กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 อํานออกเขยี นได๎ 2.3 ประชมุ ช้แี จงคณะทางานนิเทศ ติดตาม 2.4 นเิ ทศ ติดตามโดยประสานงานกับ สานักงาน กศน. จังหวัด/กทม., กศน. อาเภอ/เขต 2.5 สรุปผลการนิเทศ ติดตาม และสํงกลับข๎อมูล ข๎อเสนอแนะให๎สานักงาน กศน. จังหวัด/ กทม., กศน.อาเภอ/เขต 2.6 รายงานผลการนิเทศ ติดตามกระบวนการบริหารของสานักงาน กศน. จังหวัด/กทม., กศน. อาเภอ/เขตตามแนวทางการสํงเสริมให๎นักศึกษา กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อาํ นออกเขยี นได๎ เสนอตอํ สานักงาน กศน. 2.7 ดาเนนิ การศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาแนวทางการสงํ เสริมให๎นักศกึ ษา กศน. ตามหลักสูตร การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 อํานออกเขียนได๎ 3. สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัด/กรุงเทพมหานคร 3.1 ศึกษาแนวคิด กระบวนการดาเนินงาน บทบาทหน๎าที่ แนวทางสํงเสริม วิธีการ และ เครอ่ื งมอื ประเมนิ ระดับการรูห๎ นังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขยี นได๎) ให๎ชัดเจน 3.2 แตงํ ต้งั คณะทางานสงํ เสรมิ ให๎นกั ศกึ ษา กศน. ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อํานออกเขียนได๎ และประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอาํ นออกเขยี นได๎) ประกอบดว๎ ย

20 1) ผ๎ูอานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. เปน็ ประธาน 2) ผอู๎ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต ทกุ อาเภอ/เขต เป็น กรรมการ 3) ศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ทุกคน หรือเจ๎าหน๎าท่ีท่ีรับผิดชอบ งานนเิ ทศเปน็ กรรมการ 4) เจ๎าหน๎าที่ทไี่ ด๎รับมอบหมาย เป็นเลขานกุ าร 3.3 ประชุมช้ีแจงคณะทางานการดาเนินงานตามแนวทางสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ ของนักศกึ ษา กศน. และประเมนิ ระดับการร๎ูหนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอํานออกเขยี นได๎) 3.4 นิเทศ ติดตามการดาเนินงานตามแนวทางสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ของนักศึกษา กศน. และการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ของ กศน.อาเภอ/เขต ในจังหวดั /กทม. ให๎ดาเนนิ งานอยาํ งมีประสิทธิภาพและรวํ มพัฒนานักศึกษา กรณีนักศึกษาประเมนิ ไม่ผ่าน 3.5 รวบรวมข๎อมูลผลการประเมินของแตํละ กศน.อาเภอ/เขต เพื่อสรุปข๎อมูลเป็นระดับ จังหวดั /กทม. และรายงานผลการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) เสนอ ตํอสานักงาน กศน. 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต นานโยบายสูกํ ารปฏิบัติโดยดาเนนิ การตามแนวทางสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ของนักศึกษา กศน. และคํมู อื การประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561 รวํ มกบั สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. ดังน้ี 4.1 ศึกษาแนวคิด กรอบการทางาน และวิธีการตามแนวทางสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ ของนักศกึ ษา กศน. และคูํมอื การดาเนินงานใหช๎ ดั เจน 4.2 สถานศึกษาแตํงตั้งคณะทางานสํงเสริมการอํานและเขียนภาษาไทย และประเมิน ระดับการรหู๎ นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) โดยเน๎นให๎ดาเนินการแล๎วเสร็จตามระยะเวลาท่ี กาหนด 4.3 ประชุมชี้แจงรายละเอียดคณะทางานและผเู๎ ก่ยี วข๎อง 4.4 ตรวจสอบความถูกต๎องของฐานข๎อมูลนักศึกษา กศน. ในภาคเรียนที่จะดาเนินการ ประเมนิ ระดับการรู๎หนงั สอื รํวมกับ กศน.ตาบล/แขวง โดยพิมพฐ์ านขอ๎ มูลจาแนกราย กศน.ตาบล/แขวง เพื่อใช๎ ประกอบในการประเมนิ ระดับการร๎ูหนงั สือของนักศึกษา กศน. ในแตลํ ะคร้ัง 4.5 ประชาสัมพันธ์การประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออก เขียนได)๎ กบั นักศึกษา กศน. 4.6 จัดทาสาเนาแนวทางสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ของนักศึกษา กศน. และคูํมือการ ประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561 พร๎อมท้ัง เครื่องมือการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) มอบแกํ กศน.ตาบล/แขวง ดาเนินการประเมนิ รํวมกับ กศน.ตาบล/แขวง และคณะกรรมการที่เก่ียวข๎อง

21 4.7 สถานศึกษากาหนดระยะเวลาการประเมินระดับการรู๎หนังสือ และ/หรือจัดประเมิน ระดับการรหู๎ นงั สอื แกนํ กั ศึกษาพร๎อมกันในระดับอาเภอ 4.8 รวบรวมสรุปผลการประเมินแตํละ กศน.ตาบล/แขวง ตรวจสอบความถูกต๎องของ ข๎อมลู เพอื่ บนั ทกึ ขอ๎ มูลในระบบฐานข๎อมูล 4.9 นิเทศ ติดตามการบันทึกผลการประเมินเข๎าสํูโปรแกรม......และรํวมพัฒนานักศึกษา กรณนี ักศึกษาประเมนิ ไมผ่ า่ น 4.10 รวบรวมสรุปผลการประเมินแตํละ กศน.ตาบล/แขวง เพื่อสรุปข๎อมูลเป็นระดับ กศน.อาเภอ/เขต และรายงานสานักงาน กศน.จงั หวดั /กทม. 4.11 จัดเก็บเอกสารการประเมนิ อยาํ งเปน็ ระบบตามระเบยี บของทางราชการ 5. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบล/แขวง 5.1 ศกึ ษาทาความเข๎าใจ แนวทาง กระบวนการ และสารวจจานวนนักศึกษาในภาคเรียน นั้น และดาเนินการตามแนวทางสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ของนักศึกษา กศน. และคํูมือการประเมินระดับ การรหู๎ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขยี นได๎) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2561 5.2 ตรวจสอบความถูกต๎องของข๎อมูลจานวนนักศึกษาในภาคเรียนท่ีจะดาเนิน การประเมินรวํ มกับ กศน.อาเภอ/เขต และจดั เตรยี มข๎อมลู ทีเ่ กยี่ วขอ๎ งกบั การประเมนิ 5.3 ตรวจสอบและจาแนกระดับการศึกษาของนักศึกษา กศน. ของ กศน.ตาบล/แขวง ท่ีรบั ผดิ ชอบ (ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต๎น และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย) 5.4 ชี้แจงรายละเอียดการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออก เขยี นได)๎ ใหน๎ ักศกึ ษา กศน. 5.5 แจ๎งผ๎ูรับการประเมินเข๎ารับการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) โดยจัดประเมินพร๎อมกันในระดับอาเภอ/เขต ประเมินพร๎อมกันในระดับตาบล/แขวง ประเมนิ เปน็ รายบุคคล 5.6 ตัดสินผลการประเมิน รวบรวม และกรอกข๎อมูลในตารางการประเมิน และจัดสํงให๎ กศน.อาเภอ/เขต 5.7 สํงเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษา กรณีนักศึกษาประเมิน ไม่ผ่าน โดยให๎ สอดคล๎องกับผลการประเมนิ รายบุคคล 5.8 ดาเนินการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) ในรอบตํอไป 5.9 ตัดสินผลการประเมิน รวบรวม และกรอกข๎อมูลในตารางการประเมิน ในรอบตํอไป และจัดสํงให๎ กศน.อาเภอ/เขต 5.10 รวบรวมข๎อมูลพร๎อมท้ังเอกสารการประเมิน ในระดับตาบล/แขวง เพื่อนาสํง กศน. อาเภอ/เขต

22 6. ผทู้ าหน้าท่นี ิเทศ 6.1 ศกึ ษาทาความเขา๎ ใจแนวทางการดาเนินงานตามแนวทางสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ ของนักศกึ ษา กศน. และคํมู ือการประเมนิ ระดบั การรูห๎ นงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอาํ นออกเขียนได)๎ 6.2 จัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อปฏิบัติการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลตามแนวทาง สํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ของนักศึกษา กศน. และการประเมินระดับการร๎ูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) รวํ มกับ กศน.อาเภอ/เขต และหรอื สานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. 6.3 จดั ทาเครอ่ื งมอื การนเิ ทศ ติดตาม เพ่ือรวบรวมข๎อมูล ข๎อเท็จจริง ในการประเมินตาม แบบท่กี าหนด 6.4 นิเทศ และติดตาม พร๎อมข๎อเสนอแนะการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ของนักศึกษา กศน. และการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอํานออกเขียนได๎) เชํน การเย่ียมชั้นเรียน Coaching การแนะนา การชี้แนะ และการให๎คาปรึกษาเพื่อการพัฒนาแกํ กศน.อาเภอ/เขต, สานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. และสานกั งาน กศน. 6.5 รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตามตอํ กศน.อาเภอ/เขต, สานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. 7. นกั ศึกษา กศน. 7.1 รับทราบกาหนดการประเมนิ ระดบั การรห๎ู นงั สือจากครู กศน.ตาบล หรอื กศน.อาเภอ 7.2 เตรียมความพร๎อมในด๎านการอํานและเขยี นภาษาไทยตามศักยภาพทม่ี ี 7.3 เข๎ารับการประเมินตามกาหนดเวลา (เตรียมบัตรประจาตัวนักศึกษา ปากกา ดินสอ ยางลบ ฯลฯ) 7.4 กรณผี า่ นการประเมนิ พัฒนาตนเองอยํางตํอเน่ืองตามรายวิชาตําง ๆ ท่ีลงทะเบียนใน ภาคเรียนนน้ั กรณีไม่ผ่านการประเมิน ใหเ๎ ขา๎ รับการพัฒนาทสี่ อดคล๎องกับผลการประเมิน

บรรณานกุ รม สานักงานสํงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ กลํุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย, 2551. . หลกั สตู รการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช 2557. กรุงเทพฯ กลุํมพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย, 2558. . คู่มือการดาเนินงานหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2555). รงั ษีการพมิ พ.์ กรุงเทพฯ, 2551. . แนวทางการจดั การศกึ ษาหลกั สูตรการรูห้ นังสือไทย พทุ ธศกั ราช 2557. รังษีการพิมพ์. กรงุ เทพฯ, 2560. . รายงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2559. เอกสารอัดสาเนา, 2560. . รายงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2560. เอกสารอัดสาเนา, 2560.

ภาคผนวก

หลักสูตรการรหู้ นงั สือไทย พทุ ธศักราช 2557 1. หลักการ 1.1 เป็นการจัดการศึกษาตามหลักการการร๎ูหนังสือแบบเบ็ดเสร็จ (Functional Literacy) ท่ีเน๎นการเรียนรู๎หนังสือไทยและการคิดคานวณเบ้ืองต๎นท่ีบูรณาการกับสภาพความต๎องการและ ปญั หาของสังคมทส่ี อดคลอ๎ งกบั วิถกี ารดาเนนิ ชีวติ ของผเ๎ู รียน 1.2 มีความยืดหยํุนท้ังเน้ือหา เวลาเรียน วิธีเรียน สื่อ แหลํงการเรียนร๎ู วิธีการวัดและ ประเมินผลโดยเน๎นการพัฒนาการเรียนร๎ขู องผ๎เู รยี นท่ีแตกตาํ งกันเป็นรายบุคคล 1.3 เปิดโอกาสให๎ผ๎ูเรียนได๎นาความร๎ูและประสบการณ์มาแลกเปล่ียนเรียนรู๎ตามปรัชญา “คดิ เป็น” สงํ เสรมิ การมีสวํ นรํวมของผู๎เรียน ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คมเปน็ สาคญั 2. จดุ มุ่งหมาย ผู๎เรียนมีความรู๎ ความสามารถ และมีทักษะในการฟัง พูด อําน เขียนภาษาไทย และการคิด คานวณเบื้องต๎นในเร่ืองที่เก่ียวข๎องกับชีวิตประจาวัน และใช๎เป็นเครื่องมือในการสื่อสารกับผ๎ูอื่น ตลอดจน แสวงหาความร๎ูเพอื่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ 3. กลุ่มเปา้ หมาย กลํมุ เปาู หมายได๎แกํ 3.1 ประชาชนชาวไทยท่ไี มรํ ูห๎ นังสอื ไทย 3.2 ประชาชนชาวไทยทีล่ มื หนังสือไทย 3.3 ประชาชนชาวไทยกลุํมเปาู หมายเฉพาะบางกลุมํ ท่ีไมํใชภ๎ าษาไทยในชวี ติ ประจาวัน 3.4 ประชาชนท่วั ไปท่ีสนใจจะเรยี นรภู๎ าษาไทย 4. โครงสร้างของหลักสตู รการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ประกอบดว้ ย 4.1 ระดับการศกึ ษา ระดับการรหู๎ นงั สอื ไทย 4.2 มาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรการรู๎หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 กาหนดมาตรฐานการเรียนรู๎ท่ีเป็น ข๎อกาหนดคุณภาพของผเ๎ู รยี น ดังนี้ 4.2.1 มีความร๎ู ความเข๎าใจ และมีทักษะในการฟัง พูด อําน เขียน คาที่ใช๎ใน ชีวิตประจาวนั ไมนํ อ๎ ยกวาํ 800 คา 4.2.2 สามารถใช๎พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ในภาษาไทย 4.2.3 สามารถใช๎การคานวณเบอ้ื งต๎นในเรื่องทเ่ี กีย่ วขอ๎ งกบั ชีวติ ประจาวัน

26 4.3 ตัวชี้วดั 4.3.1 ฟงั พดู อําน เขยี น คา ประโยค ไดอ๎ ยาํ งเข๎าใจและสามารถนาไปใช๎ในโอกาสตาํ ง ๆ 4.3.2 ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู๎มีมารยาทในการฟัง พดู อาํ น และเขียน 4.3.3 อาํ น เขียนตัวเลขไทย เลขอารบิค จานวน และคานวณการบวก ลบ คูณ หาร เบอ้ื งตน๎ ท่ใี ช๎ในชวี ิตประจาวัน 4.3.4 ใช๎ภาษาไทยในชีวติ ประจาวนั ได๎ถกู ตอ๎ ง 4.3.5 เลาํ เรอ่ื ง และแสดงความรสู๎ ึกเก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครัว และชุมชน 4.4 ขอบขา่ ยเนื้อหา ขอบขาํ ยเนอ้ื หาประกอบด๎วยการเรียนร๎ูคาหลัก ไมํน๎อยกวํา 800 คา ซ่ึงเป็นการเรียนรู๎ ที่ประกอบด๎วยทักษะการฟัง พูด อําน เขียน การใช๎พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการคิดคานวณเบื้องต๎น โดยบูรณาการอยใํู นสภาพการเรียนรทู๎ ่ีสอดคล๎องกับวิถีชีวิตของผู๎เรียน ครอบครัว ชุมชน และสังคม อยํางน๎อย 12 สภาพ ดงั นี้ สภาพท่ี 1 เมืองไทยของเรา โดยเน๎นการเรียนร๎ูเก่ียวกับชาติ ศาสนา และ พระมหากษตั ริย์ สภาพท่ี 2 ชีวิตของเรา โดยเน๎นการเรียนร๎ูเก่ียวกับรํางกายของเรา ครอบครัว และ เครอื ญาติ อาหาร การออกกาลงั กาย และนนั ทนาการ สุขอนามยั โรคภยั ไข๎เจ็บ และเร่ืองใกลต๎ ัว สภาพที่ 3 ภัยใกล้ตัว โดยเน๎นการเรียนร๎ูเก่ียวกับการพนัน อันตราย และภัยจาก สิ่งเสพติด สภาพที่ 4 การทามาหากิน โดยเน๎นการเรียนรู๎เกี่ยวกับอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน เงินตราเศรษฐกิจ และการตลาดในชมุ ชน สภาพท่ี 5 ส่ิงแวดล้อมย่ังยืน โดยเน๎นการเรียนร๎ูเก่ียวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ดนิ และปุาไม๎ แหลงํ นา้ ภัยธรรมชาติ มลพษิ และการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล๎อม สภาพท่ี 6 ชุมชนเข้มแข็ง โดยเน๎นการเรียนร๎ูเก่ียวกับการรวมกลุํม กฎ ระเบียบ ของชุมชน จิตสาธารณะ ประชาธปิ ไตย การปกครองสํวนทอ๎ งถิ่น และการอยํรู ํวมกนั สภาพที่ 7 กฎหมายน่ารู้ โดยเน๎นการเรียนร๎ูเกี่ยวกับกฎหมายครอบครัวและมรดก กฎหมายจราจร กฎหมายแรงงาน สภาพท่ี 8 คุณธรรมนาสันติสุข โดยเน๎นการเรียนรู๎เก่ียวกับความสุภาพ อํอนน๎อม ซ่ือสตั ย์ กตญั ญู ขยนั ประหยดั สามัคคี มนี า้ ใจ และมีวนิ ยั สภาพที่ 9 เปิดโลกเรียนรู้ โดยเน๎นการเรียนร๎ูเกี่ยวกับแหลํงเรียนรู๎ การคิดเป็น กับการเรยี นร๎ู การแสวงหาความร๎ู และสถานที่สาคญั ของชุมชน สภาพที่ 10 เทคโนโลยีใกล้ตัว โดยเน๎นการเรียนร๎ูเกี่ยวกับเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข๎องกับ ชวี ติ ประจาวันและเครอื ขํายสงั คมออนไลน์ เทคโนโลยกี ารใช๎ป๋ยุ ยาฆาํ แมลง สารเคมี และสารพษิ

27 สภาพที่ 11 พลังงาน โดยเน๎นการเรียนรู๎เก่ียวกับพลังงาน การประหยัดพลังงาน และ การเลือกใช๎พลังงาน สภาพที่ 12 ท่องเท่ียวท่ัวไทย โดยเน๎นการเรียนร๎ูเก่ียวกับประเพณี วัฒนธรรม ข๎อมูลและแหลํงทํองเท่ียว เส๎นทางการทํองเท่ียว การจัดการทํองเที่ยวและมัคคุเทศก์ สํงเสริมอาชีพเพ่ือการ ทอํ งเท่ียวและสญั ลกั ษณท์ ่คี วรร๎ู 4.5 เวลาเรยี น ใชเ๎ วลาเรยี นตลอดหลกั สูตรการร๎หู นังสือไทย พุทธศกั ราช 2557 ไมนํ ๎อยกวํา 200 ช่ัวโมง 5. การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 5.1 การเรยี นร๎ูตามหลักสูตรการร๎ูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ครู/ผู๎สอนควรฝึกทักษะ พนื้ ฐานการฟัง พดู อําน เขียนภาษาไทยใหก๎ บั ผ๎เู รยี น เพ่อื ให๎ผูเ๎ รยี นสามารถฟัง พูด อําน เขียน และร๎ูความหมายของ คา และมีความค๎ุนเคยกับภาษาไทย เพ่ือเป็นการเตรียมความพร๎อมในการเรียนร๎ูแตํละสภาพ โดยใช๎วิธีการ แจกลูกสะกดคา หรอื การเขยี นตัวอักษรตามแนวทางที่กาหนด 5.2 การจัดการเรียนร๎ู ตามหลักสูตรการร๎ูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ทั้ง 12 สภาพ ประกอบดว๎ ย คาหลกั เนอื้ หา ประเดน็ อภปิ ราย และแบบฝึกหัด ซ่ึงให๎มีการฝึกท้ังทักษะภาษาไทย และการคิด คานวณเบื้องต๎น ที่สอดคล๎องกับคาหลัก ท้ังนี้ กาหนดให๎ผ๎ูเรียนทุกคนต๎องเรียนรู๎ สภาพท่ี 1 เมืองไทยของเรา ตามขอบขาํ ยเน้ือหาท่ีกาหนดและเลอื กเรยี นเพิ่มเติมอีก 11 สภาพ โดยสามารถเลอื กการจัดการเรียนร๎ูสภาพใด กอํ นหลังไดต๎ ามเหตุการณ์ปัจจุบัน และสอดคล๎องกับบริบทของพื้นท่ี วิถีชีวิตชุมชน เพ่ือกระตุ๎นให๎เกิดความสนใจ รับร๎ู ตลอดจนงํายตํอการเรียนรู๎ของผ๎ูเรียน ให๎ผู๎เรียนมีความรู๎ ความเข๎าใจ ทักษะในการฟัง พูด อําน เขียน คาหลักทีใ่ ชใ๎ นชวี ติ ประจาวัน ไมนํ อ๎ ยกวาํ 800 คา รวมทัง้ การคิดคานวณเบ้อื งตน๎ 5.3 จัดกระบวนการเรียนร๎ูตามธรรมชาติการเรียนร๎ูของกลุํมเปูาหมาย โดยเรียนร๎ูคาหลัก ไมํน๎อยกวํา 800 คา ตามสภาพปัญหาและความต๎องการของผ๎ูเรียน ชุมชน และสังคม โดยนามาเป็นประเด็น ในการอภปิ ราย พูดคยุ สนทนา เพือ่ ให๎เกิดกระบวนการเรียนรู๎และเพิ่มเติมการฝึกทักษะการฟัง พูด อําน เขียน ภาษาไทย และการคานวณเบอ้ื งตน๎ 5.4 จดั กิจกรรมการเรียนรู๎ท่ีหลากหลาย เชํน แลกเปล่ียนความคิดเห็น พบผ๎ูร๎ู/ภูมิปัญญา เรียนรู๎ด๎วยตนเอง เรียนรู๎กับครู/ผ๎ูสอน ศึกษาดูงาน เรียนรู๎จากการปฏิบัติจริง หรือเรียนร๎ูรูปแบบ/วิธีการอื่นที่ เหมาะสมในแตลํ ะสภาพจากสื่อ และแหลํงการเรียนรทู๎ ี่หลากหลายท่เี หมาะสมในแตลํ ะทอ๎ งถนิ่ 5.5 ผ๎ูเรียนนาความร๎ู ทักษะที่ได๎เรียนร๎ูไปประยุกต์ใช๎ให๎สอดคล๎องกับสถานการณ์ท่ีเหมาะสม กับครอบครัว ชมุ ชนและสงั คม 5.6 ประเมินผลการเรียนรู๎ โดยให๎มีการประเมินพัฒนาการ ทบทวน แก๎ไขข๎อบกพรํอง และตรวจสอบผลการเรยี นรู๎ใหบ๎ รรลตุ ามเปาู หมายการเรยี นรู๎ทว่ี างไว๎ ทง้ั น้ี ผู๎เรียนต๎องผาํ นการเรียนร๎ูในสภาพท่ี 1 ตามขอบขาํ ยเนื้อหาท่ีกาหนด และเลือกเรียน เพ่ิมเติมอีก 11 สภาพ ตามความสอดคล๎องของบริบทพ้ืนท่ี โดยจัดเรียนร๎ูสภาพใดกํอนหลังได๎ รวม 12 สภาพ

28 และคาหลัก ไมํน๎อยกวํา 800 คา โดยใช๎เวลาเรียน จานวนไมํน๎อยกวํา 200 ชั่วโมง ดังนั้น ครู/ผู๎สอน ต๎อง จดั การเรียนรโู๎ ดยเฉล่ียช่ัวโมงละ 4 คาหลกั เปน็ อยาํ งนอ๎ ย ซึ่งครู/ผ๎ูสอนต๎องวางแผนการจัดการเรียนรู๎ให๎ตลอด หลกั สตู ร โดยมีการจัดกระบวนการเรียนรู๎ ดังนี้ (1) จัดการเรียนรู๎แบบบูรณาการ โดยสามารถบูรณาการเน้ือหาได๎ทั้งตํางสภาพการ เรียนร๎ู หรือภายในสภาพการเรียนร๎ูเดียวกัน และทุกเรื่องให๎บูรณาการภาษาไทย และการคิดคานวณเบื้องต๎น ใหเ๎ หมาะสมกับเนอ้ื หาน้นั ๆ (2) ครู/ผู๎สอน สามารถนาสภาพ ปัญหา และความต๎องการของผ๎ูเรียน ชุมชน และ สังคมมาจัดทาประเด็น/หัวข๎อ เพื่อใช๎ในการอภิปราย เพ่ือให๎ผ๎ูเรียนมีสํวนรํวมในการนาเสนอประสบการณ์ ของตนเองตอํ เรื่องนั้น (3) ครู/ผูส๎ อน พยายามนาปรัชญา “คิดเป็น” กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช๎อภิปราย แสดงความคิดเห็นให๎สอดคล๎องกับเน้ือหาน้ัน ๆ เพื่อให๎ผู๎เรียนนาไปใช๎วิเคราะห์กับ การดาเนินชวี ิตได๎ เปน็ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของผ๎เู รียนได๎อีกทางหนง่ึ (4) เลือกเนื้อหา ท่ีอยูํในความสนใจและสอดคล๎องกับสภาพการดาเนินชีวิตของ ผู๎เรียนมาใช๎ในการจัดการเรียนรู๎ เพื่อให๎ผู๎เรียนมีความรู๎ ความเข๎าใจ และสามารถนาไปปฏิบัติได๎ใน ชีวติ ประจาวนั (5) จัดกิจกรรมการเรียนร๎ูท่ีหลากหลาย เชํน การศึกษาดูงาน การปฏิบัติ การพบผ๎ูรู๎ โดยใช๎สื่อที่หลากหลาย เชนํ บตั รคา หนงั สือเรยี น หนังสือพิมพ์ สือ่ ของจรงิ (6) ข้ันตอนการสอนภาษาไทย และการคิดคานวณเบ้ืองต๎น โดยทุกขั้นตอน ครู/ ผ๎ูสอนต๎องเนน๎ ยา้ ซา้ ทวน เพื่อใหผ๎ ๎เู รยี นเกดิ การจดจา และเขา๎ ใจตามขั้นตอนการเรยี นร๎ู ดังนี้ (6.1) สอนการฟัง ควรเร่ิมจากการฟังกํอน จากเนื้อหาท่ีครู/ผู๎สอนเตรียมไว๎ และให๎ผ๎ูเรียนทาความเข๎าใจเน้ือหา แล๎วดึงคาท่ีเป็นคาหลักออกมาพูดให๎ฟัง ให๎เข๎าใจความหมาย โดยอาจใช๎สื่อ ตาํ ง ๆ เชนํ บตั รคา แผํนภาพ ส่อื ของจรงิ (6.2) สอนการพูด ให๎ผ๎ูเรียนฝึกพูดคาหลักจากส่ือที่เตรียมไว๎ โดยการฝึก ออกเสียงใหถ๎ กู ตอ๎ ง และให๎เข๎าใจความหมายของคานัน้ ๆ ตลอดจนการนาไปใช๎ในสถานการณ์ตาํ ง ๆ (6.3) สอนการอําน ให๎ผ๎ูเรียนฝึกอํานคาหลัก โดยการผสมสระ พยัญชนะ วรรณยกุ ต์ และการแจกลกู สะกดคาไดถ๎ ูกต๎องจากสือ่ การเรียนร๎ู (6.4) สอนการเขียน ซ่ึงเป็นทักษะขั้นสุดท๎ายของภาษาไทย การเขียนมักใช๎ สอนควบคูไํ ปกบั การอาํ น อาํ นแลว๎ เขยี นไปด๎วย โดยพยายามให๎อาํ น เขยี นคางําย ๆ (6.5) การคิดคานวณเบ้ืองต๎น ให๎ผู๎เรียนฝึกฟัง พูด อําน เขียนเลขอารบิค เลขไทย ตัวอักษร คาศัพท์ทางคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ และฝึกให๎บวก ลบ คูณ หาร ในเรอื่ งนนั้ ๆ

29 6. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ ในการจัดการเรยี นร๎ูสามารถใช๎สื่อการเรียนร๎ูท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับสภาพของผ๎ูเรียน ชมุ ชน และสังคม และสอดคลอ๎ งกับคาหลกั 6.1 ส่ือการเรียนร๎ูท่ีสานักงาน กศน. พัฒนาข้ึน เป็นส่ือท่ีประกอบด๎วย เนื้อหา ประเด็น แบบฝกึ ฯลฯ เพือ่ ให๎ผ๎ูเรยี นได๎ฝกึ ทกั ษะ และครู/ผ๎สู อน สามารถใช๎วัดและประเมินผลระหวํางเรียนได๎ 6.2 สื่อท่สี ถานศกึ ษาพัฒนาข้ึนเพื่อใช๎เอง ให๎เหมาะสมกับสภาพการเรียนรู๎และบริบทของ สถานศึกษา 6.3 บัตรคา ครู/ผู๎สอน ทาบัตรคาท่ีผ๎ูเรียนสามารถมองเห็นได๎ชัดเจน และเป็นสิ่งจูงใจใน การเรยี นรู๎ 6.4 สื่อส่ิงพิมพ์ ครู/ผ๎ูสอน สามารถนาเน้ือหาจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารตําง ๆ หรือสถานการณ์ สภาพปัญหาทเ่ี กิดในขณะนนั้ มาใช๎ในการเรียนรู๎ โดยพจิ ารณาคาหลักท่ีสอดคล๎องกบั เรื่องนั้น ๆ 6.5 สื่อของจริงที่มีอยูํในชุมชน เชํน ต๎นไม๎ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์การผลิตทาง การเกษตร 6.6 แหลํงเรียนรู๎ ครู/ผู๎สอน สารวจแหลํงเรียนร๎ูในชุมชนวํามีอะไรบ๎าง เพื่อให๎เป็น ส่ือเรยี นร๎ใู นเร่อื งนัน้ ๆ 7. การวดั และประเมินผล การวัดและประเมินผลเป็นการตรวจสอบความก๎าวหน๎าและผลสัมฤทธิ์ เน๎นการพัฒนา ผู๎เรียนได๎เรียนร๎ูอยํางเต็มศักยภาพ ซ่ึงสถานศึกษา ครู/ผู๎สอน และผู๎เรียนรํวมกันดาเนินการให๎สอดคล๎องกับ มาตรฐานและตวั ชีว้ ดั ดังนี้ 7.1 ประเมินพฒั นาการด๎านการเรยี นรู๎ของผูเ๎ รยี นเปน็ รายบคุ คล 7.2 ประเมินทักษะการฟัง พูด อําน และเขียน รวมท้ังการใช๎สระ วรรณยุกต์ ตลอดจน การคดิ คานวณเบือ้ งต๎น การวัดและประเมินผลการเรียนร๎ูตามหลักสูตรการรู๎หนังสือ พุทธศักราช 2557 เป็นการ วดั และประเมินผลทักษะในวชิ าภาษาไทย และการคิดคานวณเบือ้ งต๎น จึงควรวดั และประเมินผล ดงั นี้ ประเมินผลก่อนเรียน เพ่ือให๎ทราบความรู๎พ้ืนฐานของผ๎ูเรียน วําสามารถ พูด ฟัง ภาษาไทยได๎ หรือพูด ฟัง อําน เขียนภาษาไทยไมํได๎ โดยการพูดคุยซักถาม ให๎ทดลองอําน เขียนคางําย ๆ ที่ เกี่ยวข๎องในชีวิตประจาวัน หรือทาแบบประเมินกํอนเรียนงําย ๆ เพ่ือนาข๎อมูลมาใช๎วางแผนในการจัดการ เรียนรูใ๎ หเ๎ หมาะสมกับผ๎ูเรียน ในการคดิ คานวณเบือ้ งต๎นให๎บูรณาการกับวิชาคณิตศาสตร์ ประเมินผลระหว่างเรียน ระหวํางการจัดการเรียนรู๎ ครู/ผ๎ูสอน สามารถพิจารณา ความสามารถในการเรียนรูใ๎ นแตํละสภาพ ซงึ่ สามารถประเมนิ ได๎โดยวิธีการตําง ๆ เชํน การสังเกต การตอบคาถาม การพูดคุย การตรวจผลงาน การทาแบบฝึกหัดตําง ๆ โดยให๎มีทักษะในการเรียนร๎ูทางภาษาไทย และการคิด คานวณเบือ้ งต๎น

30 ประเมินผลหลังเรียน เป็นการประเมินในภาพรวมท้ังหมด โดยครู/ผ๎ูสอนอาจจะทดสอบ หรือตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน เชํน ผลจากการทาใบงาน แบบบันทึกของครู/ผ๎ูสอน หรือแบบประเมิน หลังเรยี น เพ่อื พิจารณาวํา ผํานการเรียนรไู๎ ปแล๎วอยาํ งน๎อย 800 คา หรือไมํ 8. การจบหลกั สูตร สถานศึกษาเป็นผู๎ดาเนินการจัดทาเครื่องมือวัดและประเมินผลในแตํละสภาพ และจัดทา เคร่อื งมอื วดั และประเมินผลการจบหลักสูตร ตามตวั ชีว้ ดั ที่กาหนดในหลักสตู ร รวมทงั้ อนุมตั ผิ ลการจบหลักสูตร ผ๎ูจบการศึกษาตามหลักสูตรการรู๎หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ต๎องผํานเกณฑ์การจบ หลกั สูตร ดังนี้ 8.1 ผ๎ูเรียนต๎องเรียน และผํานการประเมินสภาพที่ 1 และมีความสามารถในการฟัง พูด อําน และเขียนตามคลังคาหลกั ทก่ี าหนดไมํนอ๎ ยกวาํ 800 คา 8.2 ผูเ๎ รียนตอ๎ งผาํ นการประเมนิ ตามเครอ่ื งมือท่สี ถานศกึ ษากาหนด 9. เอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา ให๎เป็นไปตามที่สานักงาน กศน. กาหนดให๎สถานศึกษาทุกแหํง ตอ๎ งจัดทาหลักฐานการศกึ ษา ดงั น้ี 9.1 ทะเบยี นผู๎เรียน 9.2 แบบบนั ทึกผลการเรียนและการจดั กจิ กรรมการเรียนร๎ู 9.3 แบบรายงานผู๎จบหลักสตู ร 9.4 วฒุ บิ ัตรการรหู๎ นงั สอื ไทย

เทคนิคการสอนผ้ไู ม่รหู้ นงั สือ การจัดการศึกษาสาหรับผู๎ไมํร๎ูหนังสือจาเป็นจะต๎องมีเทคนิคการสอน เพ่ือให๎การจัดการเรียน การสอนเป็นไปอยํางมปี ระสิทธิภาพ ซึง่ เทคนิคการสอนผไู๎ มํร๎หู นังสอื มดี ังนี้ 1. สอนการฟังก่อน จุดมํุงหมายเพื่อให๎ผู๎เรียนสามารถจดจาเสียงต๎นแบบของครู/ผ๎ูสอน ซ่ึงครู/ผู๎สอนจะต๎องออกเสียงให๎ชัดเจน และผ๎ูเรียนจะรู๎สึกคุ๎นหูและสามารถจับเสียง หรือถ๎อยคาท่ีพูด หรือคาท่ี ใช๎ในสถานการณ์ตําง ๆ เชํน สวัสดี ขอโทษ ขอบคุณ หรือสอนคาศัพท์พ้ืนฐานในชีวิตประจาวัน เชํน นั่ง ยืน เดิน หยุด วิ่ง สมุด ดินสอ หรือถ๎าครู/ผ๎ูสอนมีความสามารถในการแตํงเพลงซ่ึงอาจแตํงเป็นเพลง หรือนาเพลง เกีย่ วกบั คาวํา \"สวสั ดี\" รอ๎ งเพลงให๎ผูเ๎ รียนฟงั กํอน จึงคอํ ยสอนให๎พดู /ร๎องเพลงตาม 2. สอนฝกึ หดั พูด ตอ๎ งให๎เวลาแกํผู๎เรียนในการฟังเสียงต๎นแบบจากครู/ผู๎สอนมากพอ เพ่ือให๎ ผ๎ูเรียนสามารถเลียนแบบเสียง และสามารถเปลํงเสียงเป็นคาพูดออกมาได๎ เชํน สวัสดี ขอบคุณ ขอโทษ ครู/ผ๎ูสอนสามารถนาเพลงหรือแตํงเพลงให๎ผู๎เรียนร๎องตาม ทาให๎ผ๎ูเรียนจดจาเสียงต๎นแบบและสามารถ เปลงํ เสียงพดู หรอื รอ๎ งออกมาตามครู/ผส๎ู อนได๎ พร๎อมทงั้ สอนมารยาทในการพดู ด๎วย 3. สอนให้หดั อ่าน เป็นทกั ษะท่ีคํอนข๎างยาก ต๎องคํอย ๆ ฝกึ อยํางเปน็ ระบบและเป็นข้นั ตอน คือ 3.1 แนะนาตัวพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ พยัญชนะ จานวน 44 ตัว สระ จานวน 21 รูป 32 เสียง วรรณยุกต์ จานวน 4 รูป 5 เสียง ไมํควรสอนในวันเดียว ควรแบํงสอนวันละ 3 - 5 ตัว พิจารณาตาม ความพร๎อมของผ๎ูเรียน ครู/ผู๎สอนอํานให๎ผ๎ูเรียนฟังกํอน 2 – 3 คร้ัง หลังจากนั้นให๎ผู๎เรียนรํวมอํานพร๎อมกับ ครู/ผ๎ูสอน จนมั่นใจวําผ๎ูเรียนสามารถอํานได๎ หลังจากนั้นขออาสาสมัคร 2 - 3 คน เพ่ือให๎อํานพร๎อมกัน 2 - 3 คร้ัง แล๎วจึงให๎ผู๎เรียนอํานพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ทีละคนจนครบ ครู/ผ๎ูสอนอาจใช๎วิธีสอนแบบไมํเรียงตัว เพื่อทดสอบวําผ๎ูเรียนเข๎าใจจริง ๆ โดยใช๎วิธีสํุม เพ่ือให๎ผู๎เรียนออกเสียง ถ๎าผ๎ูเรียนออกเสียงถูกต๎องถือวําผ๎ูเรียน สามารถอาํ นตวั อักษรได๎ 3.2 แนะนาการอ่านเป็นคา อาจใช๎วิธีอํานเป็นคากํอน เชํนคาวํา นก งู หมู ปลา ไกํ เป็ด แล๎วจึงสอนตวั พยัญชนะก็ได๎ วธิ ีสอนชนิดนี้เหมาะสาหรับผู๎ใหญํ 3.3 แนะนาการอ่านเป็นประโยคและอ่านเป็นเร่ือง ตามลาดับ เพื่อฝึกทักษะในการอําน เพิ่มขึ้น 4. ฝึกเขียน การเขียนควรสอนเม่ือผู๎เรียนมีความพร๎อมในการฟัง พูด อํานได๎อยําง คลํองแคลํวกํอน จึงเร่ิมสอนทักษะการเขียน เพราะทักษะการเขียนเป็นเร่ืองยาก โดยเร่ิมต๎นฝึกเขียนจาก พยัญชนะกอํ น ตามด๎วยสระ และวรรณยุกต์ หรือจะเริ่มฝกึ เขียนจากคากํอน อยํางใดอยํางหน่ึงก็ได๎ โดยฝึกจาก แบบฝึกการเขียนตัวอักษรตามแนวท่ีกาหนดเรียงตัวอักษรจนครบ ถ๎าเป็นผ๎ูใหญํควรเร่ิมฝึกเขียนจากคากํอน เพราะผ๎ใู หญํจะชอบทีจ่ ะเรยี นรูอ๎ ยํางมคี วามหมาย ตํอจากน้ันสอนให๎เขียนเปน็ ประโยคและเขยี นเปน็ เรอ่ื งราว 5. สอนให้รู้จักคิดวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์เป็นหัวใจของการร๎ูหนังสือ นั่นหมายถึงผู๎เรียน สามารถเข๎าใจเรื่องราวท่ีฟัง พูด อํานและเขียนได๎เป็นอยํางดี จึงจะสามารถเข๎าใจความหมายของคาและ

32 จับใจความสาคัญของเรื่องราว ร๎ูจักถาม รู๎จักตอบ รู๎จักวิเคราะห์/สังเคราะห์ ร๎ูจักตีความหมายของเร่ืองและ สามารถประเมนิ คณุ คําของเร่ืองได๎ ท้งั น้ี เทคนคิ การจัดการศึกษาสาหรับผู๎ไมํร๎ูหนังสือยังมีอีกมากมาย และหลายพื้นที่จะต๎องจัด การศึกษาให๎กับผู๎ไมํรู๎หนังสือ ภารกิจงานสํงเสริมการร๎ูหนังสือนับวันจะทายากมากขึ้นเป็นลาดับ เนื่องจาก กลุํมเปูาหมายเป็นกลํุมที่เข๎าถึงยาก เชํน ชาวไทยภูเขา ชาวเล กลุํมแรงงาน ฯลฯ แตํถึงอยํางไร งานการสํงเสริมการรู๎หนังสือเป็นภารกิจหลักที่ สานักงาน กศน. ให๎ความสาคัญและพยายามเข๎าถึง และเพ่ิม จานวนผู๎รู๎หนังสือขึ้นเป็นลาดับ จนกระทั่งไมํมีผ๎ูไมํร๎ูหนังสือ งานการสํงเสริมการร๎ูหนังสือจึงมีประโยชน์ตํอ มนษุ ยท์ ุกชวํ งอายุเพื่อนาไปสํูการศึกษาตลอดชีวิต ซ่ึงจะทาให๎ผู๎เรียนสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคมให๎ ดียิ่งขน้ึ

แบบสรุปขอ้ มูลผู้ไม่ร้หู นงั สือ และผ้เู รยี นหลกั สตู รการรู้หนงั สือไทย พุทธศกั ราช 2557 ------------------------------------- 1. หนํวยงาน................................ ตาบล.......................... อาเภอ..................... จงั หวัด................................. 2. จานวนครทู ่สี อนหลักสูตรการรูห๎ นงั สอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 จานวน........................... คน แยกเปน็ 1. ครอู าสาสมคั ร จานวน .......................... คน 2. ครู กศน.ตาบล จานวน .......................... คน 3. ครศู ูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา จานวน .......................... คน \"แมํฟาู หลวง\" (ศศช.) 4. ครศู นู ยก์ ารเรียนชมุ ชน (ศรช.) จานวน .......................... คน 5. อนื่ ๆ ................................................... (โปรดระบ)ุ จานวน .......................... คน 3. จานวนผู๎ไมรํ ู๎หนังสอื ไทย 3.1 จานวนผ๎ไู มรํ ห๎ู นังสือไทย ปี พ.ศ. 2558 จานวน........................ คน .......................... คน แยกเปน็ คนไทย จานวน .......................... คน กลมํุ ชาตพิ ันธ์ุ จานวน จานวน........................ คน 3.2 จานวนผู๎ไมํรห๎ู นงั สือไทย ปี พ.ศ. 2559 .......................... คน แยกเปน็ คนไทย จานวน .......................... คน กลมุํ ชาตพิ ันธุ์ จานวน จานวน........................ คน .......................... คน 3.3 จานวนผไู๎ มรํ หู๎ นงั สือไทย ปี พ.ศ. 2560 .......................... คน แยกเปน็ คนไทย จานวน จานวน........................ คน .......................... คน กลุํมชาติพนั ธ์ุ จานวน .......................... คน 3.4 จานวนผไ๎ู มรํ หู๎ นังสอื ไทย ปี พ.ศ. 2561 แยกเปน็ คนไทย จานวน กลมุํ ชาตพิ นั ธุ์ จานวน

34 4. จานวนผเ๎ู รยี นตามหลักสตู รการรหู๎ นังสือไทย พุทธศกั ราช 2557 ปีการศึกษา จานวนผู้ลงทะเบียนเรยี น จานวนผทู้ ไ่ี มไ่ ด้ลงทะเบยี นเรยี น รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม 2558 2559 2560 2561 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 5. จานวนผ๎เู รยี นหลกั สูตรการรหู๎ นงั สือไทย พุทธศกั ราช 2557 ปกี ารศกึ ษา 2561 แยกเป็น คนไทย จานวน .......................... คน ชาย ........... หญงิ ............... กลมุํ ชาติพนั ธุ์ จานวน .......................... คน ชาย ........... หญงิ ............... 6. ชวํ งอายุของผเ๎ู รยี นตามหลักสูตรการร๎หู นงั สือไทย พุทธศักราช 2557 ปกี ารศึกษา 2561 แยกเปน็ อายุ 0 – 5 ปี จานวน .......................... คน อายุ 6 – 15 ปี จานวน .......................... คน อายุ 16 – 20 ปี จานวน .......................... คน อายุ 21 – 59 ปี จานวน .......................... คน อายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน .......................... คน 7. จานวนผเ๎ู รียนทจี่ บหลกั สตู รการรูห๎ นังสอื ไทย พทุ ธศกั ราช 2557 ปีการศึกษา จานวนผ้ลู งทะเบียนเรยี น จานวนผู้ทไี่ ม่ไดล้ งทะเบียนเรยี น รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม 2558 2559 2560 2561 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2

35 8. ปัญหา อปุ สรรค การดาเนินงาน ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ........................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .............. 9. ข๎อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............. ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ... ....................................................................................................................................................................... 10. ช่อื – สกลุ ............................................................ ผู๎รายงาน (.............................................................) ตาแหนงํ ................................................................. เบอร์โทรศัพท์ ...................................................... ลงวันท่ี .................................................................

แบบประเมินระดับการร้หู นงั สือไทย ดา้ นทักษะการฟงั พูด อา่ น และเขียน **************************** 1. ช่ือ ........................................................................... นามสกุล ........................................................ 2. เขา๎ รับการประเมนิ วันท่ี .............................. เดือน ..................................... พ.ศ. ........................... 3. สถานท่ีสอบ .................................................................................................................................... หมบํู ๎าน .......................................................................................................................................... ตาบล ............................................................................................................................................ อาเภอ ........................................................................................................................................... จังหวดั .......................................................................................................................................... ชอ่ื – สกุล ............................................................ ผ๎ูประเมิน (......................................................) ตาแหนงํ ................................................................ เบอร์โทรศัพท์ ...................................................... ลงวันท่ี .................................................................

37 แบบประเมินทกั ษะการฟัง คาชี้แจง 1. ข๎อสอบมีทัง้ หมด 10 ขอ๎ 2. คะแนนขอ๎ ละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 3. ผู๎ประเมินอํานข๎อความแตํละขอ๎ ใหผ๎ ู๎รับประเมินฟังจานวน 2 ครัง้ โดยให๎ผู๎ประเมินดู ตามในแบบประเมิน แล๎วทาเครอื่ งหมาย × ทบั ลงบน ก ข ค หรือ ง ทเี่ หน็ วําถกู ต๎องเพียงขอ๎ เดียว *************************************************** 1. ใดไมใํ ชํอวัยวะภายนอกรํางกาย ก. ค้วิ ตา ข. จมกู ปาก ค. มือ ขา ง. หัวใจ ปอด 2. ขอ๎ ใดเปน็ ลกั ษณะทางกายที่เหมือนกัน ก. ผอม อว๎ น ข. สูง เตยี้ ค. สาว หนมุํ ง. ผิวขาว ผิวดา 3. กฬี าชนิดใดทต่ี อ๎ งมีผลู๎ งแขงํ ขนั ในแตลํ ะทีม มากกวํา 5 คนข้นึ ไป ก. มวย ข. วอลเลย์บอล ค. ตะกร๎อ ง. แบดมินตนั 4. ข๎อใดจัดเปน็ แมสํ ี ข. แดง นา้ เงนิ เหลอื ง ก. แดง เขียว น้าเงิน ค. เขยี ว ส๎ม เงนิ ง. ดา ขาว ฟูา 5. ขอ๎ ใดถกู ตอ๎ ง ก. จงั หวัดเชียงใหมํ : ภาคอีสาน ข. จังหวดั นนทบรุ ี : ภาคเหนือ ค. จงั หวัดสงขลา : ภาคใต๎ ง. จังหวดั อุดรธานี : ภาคตะวันตก 6. ข๎อใดจดั เปน็ ยาเสพตดิ ข. กัญชา เฮโรอนี ฝิน่ ก. ส๎ม มะละกอ กัญชา ค. ตะไคร๎ สุรา หนํอไม๎ ง. บุหร่ี กระเทียม มะระ 7. ข๎อใดจดั เป็นเทคโนโลยีประเภทเครอื ขาํ ยสังคมออนไลน์ ก. โทรสาร เคร่ืองคิดเลข ข. โทรศพั ท์ คอมพิวเตอร์ ค. จานดาวเทยี ม เตารีด ง. เตาไฟฟูา พดั ลม

38 8. ดอกไม๎ชนิดใดแทนสัญลักษณ์ดอกไม๎ประจาวนั แมํของประเทศไทย ก. ชบา ข. กุหลาบ ค. มะลิ ง. กลว๎ ยไม๎ 9. หากคุณต๎องการ แจง๎ เกิด หรอื แจ๎งตาย บุคคลในบ๎านต๎องไปแจ๎งสถานที่ใด ก. ที่วาํ การอาเภอหรือสานักงานเขต ข. โรงเรียน ค. โรงพยาบาล ง. สถานีตารวจ 10. สตั วใ์ นข๎อใดจดั เป็นสตั วท์ ะเล ก. ไกํ กงุ๎ กบ ข. หมู วัว ปู ค. หอย เปด็ ควาย ง. ปลา กง๎ุ ปู รวมคะแนนทักษะการฟังได๎ ............................... คะแนน

39 แบบประเมินทกั ษะการพูด คาชีแ้ จง 1. ขอ๎ สอบมที ้งั หมด 5 ขอ๎ 2. คะแนนขอ๎ ละ 2 คะแนน รวม 10 คะแนน 3. ผ๎ูประเมินอํานข๎อความแตํละข๎อให๎ผ๎ูรับการประเมินฟัง และให๎ผู๎รับการประเมิน แสดงความคดิ เห็น/ความรส๎ู ึก แตํละข๎อความ โดยใช๎เวลาข๎อความละ 3 นาที *************************************************** 1. ผู๎รบั ประเมินมีความคดิ เห็นอยํางไร ตํอประโยชนข์ องการรหู๎ นังสอื (ผเู๎ รยี นตอบได.๎ ..........................คะแนน) 2. ผู๎รับประเมินมคี วามคดิ เห็นอยาํ งไร หากตัวเองไมรํ ๎ูหนงั สอื (ผู๎เรียนตอบได๎...........................คะแนน) 3. หากผรู๎ ับประเมนิ ไมรํ ๎หู นังสือ จะมีแนวทางการพัฒนาให๎ร๎ูหนังสอื อยาํ งไร (ผเ๎ู รยี นตอบได.๎ ..........................คะแนน) 4. ถา๎ หากคนในหมํบู า๎ น/ชุมชนของผ๎ูรบั ประเมิน ไมรํ ๎ูหนงั สือทาํ นจะมีแนวทางในการพฒั นาอยํางไร (ผู๎เรยี นตอบได๎...........................คะแนน) 5. ผ๎รู บั ประเมินมคี วามคิดเห็นอยํางไร ตํอความสาคัญของการรหู๎ นงั สือ (ผเ๎ู รยี นตอบได๎...........................คะแนน) รวมคะแนนทกั ษะการพูดได๎ ............................... คะแนน

40 แบบประเมนิ ทักษะการอา่ น คาชี้แจง 1. ข๎อสอบมีทัง้ หมด 10 ข๎อ 45 คา แตลํ ะขอ๎ จะจัดเป็นหมวดหมํู 2. คาละ 1 คะแนน รวม 45 คะแนน 3. ให๎ผ๎ูรับประเมิน อํานคาตํอไปน้ีให๎ถูกต๎อง ใช๎เวลา 10 นาที จานวน 45 คา คาใด อํานไมไํ ด๎ ให๎ผาํ นไปอาํ นคาถดั ไป แลว๎ คอํ ยกลบั มาอาํ นซา้ อกี 1 ครั้ง *************************************************** 1. อ๎วน ผอม สูง (ได.๎ ..........................คะแนน) 2. แขน ขา มือ เท๎า (ได๎...........................คะแนน) 3. นาย นาง นางสาว (ได๎...........................คะแนน) 4. พอํ แมํ ปูุ ยํา ตา ยาย (ได๎...........................คะแนน) 5. แปูง ข๎าว นม ไขํ ปลา กบ (ได.๎ ..........................คะแนน) 6. กะปิ เกลือ พริกไทย น้าปลา ผงชูรส (ได๎...........................คะแนน) 7. ลา๎ งหนา๎ แปรงฟนั อาบน้า สระผม (ได.๎ ..........................คะแนน) 8. เส้อื กางเกง กระโปรง ถุงเท๎า รองเท๎า (ได๎...........................คะแนน) 9. ชาตไิ ทย ธงชาติ เพลงชาติ แผนท่ีประเทศไทย (ได๎...........................คะแนน) 10. กราบ วิทยุ แรธํ าตุ ฝุาฝืน เปรย้ี ว (ได๎...........................คะแนน) รวมคะแนนทกั ษะการอาํ นได๎ ............................... คะแนน

41 คาชแ้ี จง แบบประเมินทกั ษะการเขยี น 1. ข๎อสอบมีทง้ั หมด 10 ข๎อ 2. คะแนนข๎อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 3. ให๎ผรู๎ ับประเมนิ เขยี นคาทีม่ ีความหมายตรงกบั รปู ภาพ *************************************************** ตัวอยา่ ง ไกํ 1. ………………………………………………………. 2. ………………………………………………………. 3. ……………………………………………………….

42 4. ………………………………………………………. 5. ………………………………………………………. 6. ………………………………………………………. 7. ………………………………………………………. 8. ……………………………………………………….

43 9. ………………………………………………………. 10. ………………………………………………………. . รวมคะแนนทกั ษะการเขยี นได๎ ............................... คะแนน

แบบสอบถาม สภาพการดาเนินงานการส่งเสรมิ การอ่านออกเขียนได้ และการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. ...................................................... คาชีแ้ จง 1. แบบสอบถามน้ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาสภาพ และปญั หา อปุ สรรค การดาเนินงานการสงํ เสรมิ การอํานออกเขียนได๎ และการประเมนิ ระดบั การร๎หู นงั สือของนักศึกษา กศน. 2. ผูต๎ อบแบบสอบถามฉบับน้ี คือ 2.1 กรณีสถาบัน กศน.ภาค เป็นผ๎ูติดตาม ผู๎ตอบแบบสอบถาม คือ ผ๎ูอานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ศึกษานิเทศก์ และเจ๎าหน๎าที่ผ๎ูรับผิดชอบการดาเนินงานการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ และการประเมนิ ระดับการรห๎ู นงั สือของนักศึกษา กศน. 2.2 กรณีสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. เป็นผู๎ติดตาม ผ๎ูตอบแบบสอบถาม คือ ผ๎ูอานวยการ กศน.อาเภอ/เขต และเจ๎าหนา๎ ที่ผเ๎ู กย่ี วขอ๎ ง 3. แบบสอบถามฉบับนี้ ประกอบด๎วย 3 ตอน ได๎แกํ ตอนท่ี 1 ขอ๎ มูลทวั่ ไป ตอนท่ี 2 สภาพการดาเนนิ งานการสงํ เสรมิ การอาํ นออกเขยี นได๎ และการประเมินระดับการร๎ู หนงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. ตอนที่ 3 ข๎อเสนอแนะในการดาเนินงานการสํงเสริมการอํานออกเขียนได๎ และการประเมิน ระดับการรหู๎ นังสือของนักศึกษา กศน. 4. ข๎อมลู จากแบบสอบถามนี้จะนาไปวิเคราะหใ์ นภาพรวมไมแํ ยกวิเคราะห์รายบุคคล ผู้ตอบแบบสอบถาม จะไม่ได้รับผลกระทบใด ๆ ทั้งสิ้น ตรงกันข๎ามข๎อมูลที่ได๎จะเป็นประโยชน์ในการนาไปปรับปรุงแนวทางการ สํงเสริมการอาํ นออกเขียนได๎ และการประเมินระดับการรู๎หนังสือของนักศึกษา กศน. ให๎มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ดังน้ัน ขอความอนเุ คราะห์ทา่ นตอบแบบสอบถามทกุ ข้อ ตามความเป็นจริง ขอขอบพระคณุ อยํางสงู คณะทางาน

45 ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไป คาชี้แจง โปรดทาเครือ่ งหมาย  ลงใน  ที่ตรงกบั ข๎อมลู ของทํานหรือเขยี นขอ๎ มูลลงในชอํ งวาํ ง 1. ข๎อมลู สํวนบุคคลของผ๎ตู อบ  ผูอ๎ านวยการสานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. 1.1 ตาแหนงํ  ศกึ ษานเิ ทศก์  เจา๎ หน๎าทผ่ี ๎ูรับผดิ ชอบการประเมินระดบั การรูห๎ นังสอื ของนกั ศึกษา กศน.  ผอ๎ู านวยการ กศน.อาเภอ/เขต  เจา๎ หนา๎ ที่ กศน.อาเภอ/เขต  ครู กศน.ตาบล/แขวง 1.2 ระดับการศึกษา  ปรญิ ญาตรี  ปริญญาโท  ปริญญาเอก ตอนที่ 2 สภาพการดาเนินงานแนวทางการส่งเสรมิ การอ่านออกเขียนได้ และการประเมินระดับ การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. 1. หนํวยงาน/สถานศึกษาของทํานได๎ปฏบิ ัติตามบทบาทหน๎าท่ตี ํอไปนหี้ รอื ไมํ บทบาทหนา้ ท่ี ปฏิบตั ิ ไม่ได้ปฏิบตั ิ เหตผุ ล 1. ศึกษาแนวคดิ กระบวนการดาเนินงาน บทบาท หน๎าท่ี วธิ ีการ และเครื่องมือประเมนิ ระดบั การร๎ู หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. ใหช๎ ัดเจน 2. แตงํ ต้ังคณะทางานสํงเสรมิ การอํานออกเขยี นได๎ และ การประเมินระดับการร๎หู นังสือของนักศึกษา กศน. 3. ชีแ้ จงการดาเนนิ งานสงํ เสรมิ การอาํ นออกเขียนได๎ และการประเมนิ ระดบั การรหู๎ นงั สือของนักศึกษา กศน. ให๎กับคณะทางาน 4. สถานศกึ ษาดาเนินการประเมินระดบั การรห๎ู นงั สือ ของนักศึกษา กศน. ใหมํทุกราย และผู๎ทป่ี ระเมิน ไมผํ ํานในภาคเรยี นที่ผํานมา 5. สถานศึกษา กศน.ตาบล/แขวง ดาเนินการพฒั นาผทู๎ ี่ ประเมินไมํผาํ นในภาคเรยี นที่ผาํ นมา 6. หนํวยงาน/สถานศึกษา นเิ ทศ ตดิ ตามการ ดาเนนิ งานสงํ เสรมิ การอํานออกเขยี นได๎ และการ ประเมนิ ระดับการรู๎หนงั สือของนักศึกษา กศน.