คำนำ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอสุคิริน ได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสนับสนนุ การปฏิบัติงานของสถานศึกษา ให้สามารถปฏิบัติงานได้ บรรลุตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน กศน.เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อประชาชนผ้รู บั บรกิ ารอย่างสงู สดุ สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสคุ ริ นิ ได้ดำเนินการเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการแก้ปัญหาโดยใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรแ์ ละสามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ สรุปผลการดำเนินการโครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564 ฉบับนี้ได้รับความร่วมจากบุคลากร กศน.อำเภอสุคริ นิ ทุกฝ่ายงาน ขอขอบคุณผู้บริหาร ครู ที่ได้ ร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานครั้งนี้เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนอันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการทำงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหม้ ีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลย่ิงข้ึนต่อไป ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคริ ิน
สารบญั หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข 1 ❖ บทท่ี ๑ ๕ ❖ บทท่ี ๒ ๑๗ ❖ บทที่ ๓ ๑๙ ❖ บทที่ ๔ ๒3 ❖ บทที่ ๕ ❖ ภาคผนวก ❖ รปู กิจกรรม ❖ โครงการ ❖ ใบเซน็ ชือ่ ❖ ประเมินความพึงพอใจ
บทที่ ๑ บทนำ ๑. ความเปน็ มาและความสำคญั ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กลา่ ววา่ การจดั การศึกษาต้องยึดหลักท่ีว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ และถอื วา่ ผู้เรียนมคี วามสำคัญที่สดุ กระบวนการจัด การศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผ้เู รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกับความสนใจ และความถนดั ของผเู้ รียน มีโอกาส ไดฝ้ ึกทกั ษะการคิด การแสดงออก การจดั การการเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไข ปัญหาได้ เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ดังนั้นจึงต้องตระหนักในการพัฒนาเยาวชนของชาติให้มีศักยภาพสูงสุด ด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม ตอบสนองความสามารถพิเศษ ความถนัดของผู้เรียนให้มีเต็ม ศักยภาพ ส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม ความเป็นประชาธิปไตย ตระหนักถึงคุณค่าภูมิปัญญาไทย และมีเจตคติทีดีต่อการ เรียน งานการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสคุ ิรนิ มีความมุ่งหวังในการ ผลิตนักศึกษา ให้เป็นผู้ที่พร้อมด้วยคุณธรรมและคุณวุฒิ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาได้ตามโครงสร้างที่ หลักสตู รกำหนด และพัฒนาความสามารถ ได้เต็มศักยภาพของตนเองต่อไป เนื่องจากนักศึกษา กศน.อำเภอสุคิรินยังขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ ซึ่งการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทำ โครงงานเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะในการคิดและวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาในสิ่งที่นักศึกษาสนใจหรือ ทำการศึกษาผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งจะส่งให้นักศึกษามีทักษะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดก้ ำหนดไว้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคิริน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำ โครงการ “พัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์” นี้ขึ้นมา เพื่อเสริมสร้างให้ นักศึกษามีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ และคิดเชิงสร้างสรรค์ มีทักษะในการทำงาน สามารถ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ รวมทั้งพัฒนาให้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน อนั จะนำไปสู่การอยู่รว่ มกันในสงั คมได้อย่างมีความสขุ ๒. วตั ถุประสงค์ 2.๑ เพอ่ื ให้กลมุ่ เป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การและกระบวนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2.๒ เพ่ือใหก้ ลุ่มเปา้ หมายมีทกั ษะในการแก้ปัญหาโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.๓ เพื่อใหก้ ล่มุ เป้าหมายสามารถนำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ๓. เป้าหมาย ๓.๑ เชิงปริมาณ นักศกึ ษา กศน.อำเภอสุคิริน จำนวน 40 คน ๓.๒ เชิงคุณภาพ กลุ่มเปา้ หมาย มคี วามร้คู วามเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ มีทักษะในการ แก้ปัญหาโดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละสามารถนำความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ๕. วธิ ดี ำเนินงาน
๒ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมายคน พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ 20 คน 20 คน ดำเนินการ ๑ คน ๑.สำรวจ -เพอ่ื ทราบจำนวนและความ - บุคลากร 4๐ คน กศน. 19 - กลุม่ เป้าหมาย ตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมาย กศน.อำเภอ 8 คน อำเภอ กรกฎาคม ๑ คน สคุ ิริน สุคิรนิ ๒๕๖4 ๒.ประชุม - เพ่อื เตรียมความพร้อมและ - บคุ ลากร กศน. 20 - วางแผน การประสานงาน ในการ กศน.อำเภอ อำเภอ กรกฎาคม ดำเนินงาน สุคริ นิ สคุ ริ ิน ๒๕๖4 ๓.จัดทำและ - เพือ่ ขออนุมัติโครงการและ - เจา้ หน้าท่ี กศน. 29 - เสนโครงการ งบประมาณ งานสามัญ อำเภอ กรกฎาคม เพ่อื ขออนมุ ัติ สคุ ิริน ๒๕๖4 ๔.ดำเนนิ การ ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมี - นกั ศึกษา กศน.ตำบล 5-6 17,000.- ตามโครงการ ความรู้ ความเข้าใจหลักการ กศน.อำเภอ ทุกตำบล สงิ หาคม แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท ำ สุคิรนิ ๒๕๖4 โครงงานวิทยาศาสตร์ ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมี ทักษะในการแก้ปัญหาโดย ใช้ทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถนำความรู้ไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน ๕.นเิ ทศ - ประเมนิ ผลในการดำเนนิ - เจา้ หน้าท่ี กศน. 5-6 - อำเภอ สิงหาคม - ติดตามผล กจิ กรรมรายงานผลให้ กศน.อำเภอ สคุ ริ นิ ๒๕๖4 หนว่ ยงานตน้ สังกดั ทราบ สคุ ิริน กศน. 5 อำเภอ กนั ยายน ๖.สรุป/ -เพือ่ สรุปรายงานผลการ - เจ้าหนา้ ที่ สุคริ นิ ๒๕๖4 รายงานผล ดำเนินงานและพฒั นา กศน.อำเภอ ปรับปรุงแก้ไขต่อไป สคุ ิริน
๓ ๖. วงเงินงบประมาณทงั้ โครงการ แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาพทางการศึกษา โครงกาสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน คา่ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒4๓๐๑๖๕๐๐225 เป็นเงิน 17,00๐.- (หนงึ่ หมน่ื เจ็ดพนั บาทถ้วน) ตามรายละเอยี ดดังนี้ 7.1 ค่าใช้สอย - คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 200 บาท x 6 ช่วั โมง x 2 คน เป็นเงิน 2,4๐๐.- บาท - คา่ อาหารกลางวนั ๗๐ บาท × 40 คน × ๒ ม้อื เป็นเงิน 5,6๐๐.- บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดืม่ ๒5 บาท x 40 คน × 4 ม้อื เป็นเงนิ 4,0๐๐.- บาท 7.2 คา่ วัสดุ - ค่าป้ายไวนิล เป็นเงนิ 1,๐๐๐.- บาท - ค่าวัสดุ เป็นเงนิ 4,000.- บาท รวมเป็นเงนิ ท้งั ส้ิน 17,00๐.- บาท (หนึ่งหมืน่ เจด็ พนั บาทถ้วน) หมายเหตุ : ถัวจา่ ยทุกรายการตามทจี่ า่ ยจรงิ ๗. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ กจิ กรรมหลกั (ต.ค.๖3 – ธ.ค.๖3) (ม.ค.๖4 – มี.ค.๖4) (เม.ย.๖4 – ม.ิ ย.๖4) (ก.ค.๖4 – ก.ย.๖4) ๑.สำรวจกล่มุ เปา้ หมาย - - -/ - - -/ ๒.วางแผนการดำเนนิ งาน - - -/ - - -/ ๓.ประสานงานตามโครงการ - - - 17,000.- ๔.เขียนโครงการเพอ่ื ขออนุมัติ - - -/ - - -/ ๕.ดำเนินงานตามโครงการพัฒนา ผเู้ รียน ส่งเสรมิ การเรียนรู้ผา่ น กระบวนการโครงงาน วิทยาศาสตร์ ๖.นเิ ทศติดตามผลการดำเนนิ งาน ๗.สรปุ และรายงานผล ๙. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ -นายรสุ ลัน ดาโอะ ตำแหน่ง ครอู าสาฯปอเนาะ โทรศัพท์ ๐๘๔ – ๘๕๖๖๕๖๐
๔ ๑๐ .เครือขา่ ย 10.1 ผู้นำชุมชน 10.2 ปราชญช์ าวบ้าน ๑๑. โครงการทเ่ี ก่ยี งขอ้ ง - โครงการการจัดการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๑๒. ผลลพั ธ์ กล่มุ เปา้ หมาย มีความรู้ความเขา้ ใจหลกั การและกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการแก้ปัญหา โดยใชท้ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละสามารถนำความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ๑๓. ดชั นีช้วี ัดความสำเร็จของโครงการ ๑๓.๑ ตัวชีว้ ัดผลผลติ - รอ้ ยละ 100 ของนักศึกษาท่ีเขา้ รว่ มโครงการ ผ่านกจิ กรรมตามวัตถปุ ระสงค์ ๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - ร้อยละ ๘๕ ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ มที ักษะในการแกป้ ญั หาโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวนั ๑๔. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ ๑๔.๑ แบบประเมินความพงึ พอใจ ๑๔.๒ แบบทดสอบก่อนและหลงั การอบรม
๕ บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ ง นโยบายและจดุ เนนการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 วสิ ัยทศั น คนไทยทุกชวงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จำเป็นและ สมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง พนั ธกจิ 1. จัดและสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่มี ีคณุ ภาพ สอดคลอง กับหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษา และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรูของประชาชนกลุ่มเป้าหมายใหเหมาะสมในแต่ละชวงวัย ใหพรอมรับ การเปลี่ยนแปลงและการ ปรับตัวในการดำรงชีวติ ได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสงั คมแหงการเรียนรูตลอดชีวติ อยา่ งยง่ั ยืน 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัด และประเมินผลในทุกรูปแบบใหมคี ณุ ภาพและมาตรฐานสอดคลองกับรปู แบบการจดั การเรียนรูและบรบิ ท ในปจจบุ นั 3. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนำเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช องทางและโอกาส การเรียนรู รวมถึงการเพ่มิ ประสิทธิภาพในการจัดและใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ใหกับ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอย่างทัว่ ถงึ 4. สงเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ใหเขามามีสวนร่วมใน การสนบั สนนุ และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรียนรูตลอดชีวิตในรูปแบบตา่ งๆ ใหกับ ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองคกรใหมีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดีบนหลักของ ธรรมาภบิ าล มีประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล และคลองตัวมากยง่ิ ข้ึน 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรู ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรมและ จริยธรรมท่ดี ี เพอื่ เพิ่มประสิทธภิ าพของการใหบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรูที่มคี ุณภาพมากย่ิงข้นึ เป้าประสงค 1. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษารวมท้งั ประชาชนทวั่ ไปไดร้ บั โอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยทีม่ ีคุณภาพ อยา่ งเทาเทียมและทวั่ ถงึ เป็นไปตามบรบิ ท สภาพปญหาและความตองการของแต่ละ กลุม่ เป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หนาที่ความเป็น พลเมืองที่ดีภายใตการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมุข ที่สอดคลองกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง อันนำไปสู่การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และเสริมสร้างความเขมแข็งใหชุมชน เพือ่ พัฒนา ไปสู่ความ ม่ันคงและยัง่ ยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์และส่งิ แวดลอม
๖ 3. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรูและแสวงหาความรูด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู ชอง ทางการเรียนรู และกิจกรรมการเรียนรูรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนำไปประยุกตใชในชีวิตประจำวัน รวมถึง การแกปญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค 4. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. มหี ลกั สูตร สื่อ นวัตกรรม ชองทางการเรียนรู และกระบวนการ เรยี น รูในรูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรูในสถานการณต่างๆ เพื่อแกปญหา และพัฒนา คุณภาพชีวิตตามความตองการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบท ด้านเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์และส่ิงแวดลอม 5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มา พัฒนาเพื่อเพิ่มชองทางการเรียนรู และนำมาใชในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรูและโอกาสการเรียนรู ใหกับประชาชน 6. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคสวน มีสวนร่วมในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคล่อื นกจิ กรรมการเรยี นรูของชมุ ชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองคกรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตามหลกั ธรรมาภิบาล 8. บุคลากรกศน. ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และการใหบริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมี ประสิทธิภาพ ตวั ชว้ี ดั รายละเอยี ดตวั ชว้ี ัด ค่าเป้าหมาย 1.ตัวชวี้ ดั เชิงปรมิ าณ 1.1 รอ้ ยละของผู้เรียนทไ่ี ด้รบั การสนบั สนุนคาใชจา่ ยการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา รอ้ ยละ 80 ขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนดไว (เทียบกับเป้าหมายตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่าย ประจำป) 756,675 คน 1.2 จำนวนของผู้ลงทะเบียนเขาร่วมกิจกรรมการเรียนรู/ ไดร้ บั บรกิ ารกิจกรรมการศึกษา ตอ่ เนื่อง ที่สอดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตองการ 9,800,00คน 1.3 จำนวนของผู้รบั บริการ/เขาร่วมกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ไมน่ อยกวา 1.4 จำนวนบันทกึ ขอตกลงความร่วมมือ (MOU) รว่ มกับภาคเี ครอื ข่าย 3,000 ฉบบั 1,787 แหง 1.๕ จำนวนแหล่งเรียนรูในระดับตำบลที่มีความพรอมในการใหบริการ/การจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
๗ ตัวชว้ี ัด รายละเอยี ดตัวชี้วัด คา่ เปา้ หมาย 1.ตวั ช้วี ัดเชิงปริมาณ 1.๖ จำนวนประชาชนท่ีเขารับการพฒั นาทักษะอาชีพเพ่อื สรา้ งรายไดแ้ ละการมีงานทำ 424,500 คน 1.๗ จำนวน ครู กศน. ตำบล ท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียนการสอน 100 คน ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 1.๘ จำนวนประชาชนทไี่ ด้รับการฝกอบรมภาษาตา่ งประเทศเพอ่ื การส่อื สารดา้ นอาชีพ 22,272 คน 1.๙ จำนวนผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรการดแู ลผู้สูงอายุ 6,800 คน 1.1๐ จำนวนประชาชนท่ีผา่ นการอบรมจากศูนยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน 185,600 คน 1.1๑ จำนวนสื่อการเรียนออนไลน์ หลักสูตรการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องาน ไ ม่ น อ ย ก ว า อาชพี 30 วชิ า 1.1๒ จำนวนบคุ ลากรสังกัดสำนักงาน กศน. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและความกา้ วหน 2,807 คน า ตามสายงานในอาชีพ 1.1๓ จำนวนบุคลากรสังกัดสำนักงาน กศน. ที่เขารับการอบรมด้านการปกปองและเชิดชู 10,000 คน สถาบนั หลักของชาติ ดา้ นความปรองดองสมานฉันท ดา้ นการมีจติ สาธารณะ และ ดา้ นทกั ษะในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน 1.1๔ จำนวนบทความเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิตในระดับตำบล ในหัวขอต่างๆ อาทิ 8,000 อาชพี ชุมชน วัฒนธรรมทองถนิ่ ภูมิปัญญา บทความ 1.1๕ จำนวนศูนย์การเรยี นรูตนแบบ (Co-Learning Space) 77 แหง 2.ตวั ชวี้ ดั เชิงคณุ ภาพ 2.1 ร้อยละของนกั ศกึ ษาทคี่ าดวาจะจบในทุกระดบั ทสี่ ำเรจ็ การศกึ ษาในแต่ละภาคเรียน รอ้ ยละ 75 2.2 ร้อยละของผู้จบหลกั สูตร/กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ที่สามารถนำความรูความเขาใจ ร้อยละ 80 ไปใชพัฒนาตนเองไดต้ ามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตร/กจิ กรรม 2.3 ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาทักษะอาชีพ สามารถนำความรูไปใชในการประกอบ รอ้ ยละ 80 อาชพี หรอื พัฒนาตนเองได้
๘ ตัวช้ีวัด รายละเอยี ดตัวชว้ี ัด ค่าเปา้ หมาย 2.ตัวชี้วัดเชงิ คุณภาพ 2.4 ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่จงั หวัดชายแดนภาคใตที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือ ร้อยละ 80 ทักษะดา้ นอาชพี สามารถมงี านทำหรือนำไปประกอบอาชีพได้ 2.5 ร้อยละของประชาชนท่ีไดร้ ับบริการ/ เขาร่วมกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มคี วามรู ร้อยละ 80 ความเขาใจ/ เจตคต/ิ ทักษะ ตามจดุ มุงหมายของกิจกรรมท่ีกำหนด 2.6 ร้อยละของผู้สงู อายทุ ี่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเขาร่วมกิจกรรมการศึกษา ตลอด รอ้ ยละ 80 ชวี ติ 2.7 ร้อยละของบุคลากรที่ ได้รับการพัฒนา ที่มีการพัฒนาตนเองใน ด้าน รอ้ ยละ 90 พฤตกิ รรม บุคลกิ ภาพ ทศั นคติ คานิยมท่ีพงึ ประสงค ภาวะผู้นำ และมจี รรยาบรรณวิชาชีพ ท่เี หมาะสมยิ่งขึน้ จุดเนน้ การดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ 1. นอมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาสู่การปฏิบัติ 1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสรา้ งและพัฒนาศนู ย์สาธิตและเรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือ เป็นแนวทางในการจัดการบรหิ ารทรพั ยากรรูปแบบต่างๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุต่างๆ และสงเสริม การใช พลังงานทดแทนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 1.2 จดั ใหมี “หนงึ่ ชุมชน หนึง่ นวัตกรรม การพัฒนาชมุ ชน” เพอื่ ความกินดี อยู่ดี มงี านทำ 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให มีหลักคิดที่ถูกต องด้าน คณุ ธรรม จริยธรรม มีทัศนคตทิ ่ีดีตอบานเมือง และเป็นผูม้ ีความพอเพยี ง ระเบยี บวินัย สุจริต จติ อาสา ผา่ นกจิ กรรมการ พฒั นา ผู้เรียนโดยการใชกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด 2. สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ สำหรับประชาชนท่เี หมาะสมกับทุกชวงวยั 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการ สร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผู้รับ บริการ และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพื่อนำไปใชในการพฒั นาอาชีพได้ 2.2 สงเสรมิ และยกระดับทักษะภาษาองั กฤษใหกบั ประชาชน (English for All) 2.3 สงเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรบั ผู้ทีเ่ ขาสู่สังคมสูงวยั อาทิ การฝกอบรมอาชีพที่เหมาะสม รองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การดูแลผู้สูงวัย โดย เนนการมสี วนรว่ มกับภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาคสวนในการเตรยี มความพรอมเขาสู่สงั คมสงู วยั 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู และรูปแบบ การจัดการศึกษาและ การเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาที่เหมาะสม กับทุกกลุ่ม เป้าหมาย มีความ ทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสงั คมปจจุบัน ความตองการ ของ ผู้เรยี น และสภาวะการเรยี นรูใน สถานการณตา่ งๆ ที่จะเกิดขน้ึ ในอนาคต 3.1 พฒั นาระบบการเรียนรู ONIE Digital Learning Platform ทร่ี องรับ DEEP ของกระทรวงศกึ ษาธิการ และชองทางเรยี นรูรปู แบบอ่นื ๆ ท้งั Online On-site และ On-air
๙ 3.2 พ ั ฒ น า แ ห ล ่ ง เ ร ี ย น รู ป ร ะ เ ภ ท ต ่ า ง ๆ อ า ท ิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรูทุกชวงวัย และศูนย์การเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให สามารถ “เรียนรูได้อย่างท่วั ถงึ ทกุ ท่ี ทกุ เวลา” 3.3 พัฒนาระบบรบั สมัครนักศึกษาและสมัครฝกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอน ความรู ระบบ สะสมหนว่ ยการเรียนรู (Credit Bank System) และพฒั นา/ขยายการใหบรกิ ารระบบทดสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-exam) 4. บูรณาการความร่วมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับ ประชาชน อย่างมี คณุ ภาพ 4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้ง สงเสริมและสนบั สนนุ การมีสวนร่วมของชมุ ชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพท่ีเป็นอตั ลกั ษณ์และบรบิ ทของชมุ ชน สงเสรมิ การตลาดและขยายชองทางการจำหน่ายเพื่อยกระดบั ผลิตภัณฑ์/สินคา กศน. 4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส วนกลาง และภมู ิภาค 5. พฒั นาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาครูให มี ทักษะ ความรู และความชำนาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนเพื่อ ฝ กทักษะ การคิดวเิ คราะห์อยา่ งเป็นระบบและมีเหตผุ ล เป็นขนั้ ตอน 5.2 จัดกจิ กรรมเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการทำงาน รว่ มกันในรูปแบบตา่ งๆ อาทิ การแขงขันกฬี า การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาประสทิ ธิภาพในการทำงาน 6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารจัดการองคกร ปัจจัยพื้นฐานในการจัดการศึกษา และการ ประชาสมั พันธ์สร้างการรบั รูตอสาธารณะชน 6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติสงเสรมิ การเรียนรู พ.ศ. .... ใหสำเร็จ และปรับโครงสรา้ ง การบริหาร และอตั รากำลังใหสอดคลองกบั บริบทการเปลี่ยนแปลง เรง่ การสรรหา บรรจุ แตง่ ต้งั ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ 6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทำงานและ ข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใชงานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อจัดทำ ข้อ มลู กศน. ท้งั ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซอมแซม ฟ นฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศกึ ษา และแหลง่ เรยี นรูทกุ แหง ใหสะอาด ปลอดภยั พรอมใหบริการ 6.4 ประชาสัมพนั ธ์/สร้างการรับรูใหกับประชาชนท่วั ไปเก่ียวกับการบริการทางวชิ าการ/กจิ กรรม ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างชองทางการแลกเปลี่ยนเรียนรูด้านวิชาการของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านส่ือรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรม วิชาการ กศน.
๑๐ ภารกิจตอ่ เนื่อง 1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 1) สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐานโดยดำเนินการ ใหผู้ เรียนได้รับการสนบั สนุนคาจดั ซื้อหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และคาจัดการเรียน การสอนอย่าง ทัว่ ถงึ และเพียงพอเพอ่ื เพ่ิมโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาทมี่ คี ุณภาพโดยไมเ่ สียคาใชจา่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหกับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรูด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศึกษา ทางไกล 3) พฒั นาประสิทธภิ าพ คุณภาพ และมาตรฐานการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และ ระบบการใหบรกิ ารนกั ศึกษาในรปู แบบอื่น ๆ 4) จัดใหมีการประเมนิ เพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ที่มีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต องการของ กลมุ่ เปา้ หมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 5) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนตองเรียนรูและเขาร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพือ่ เป็นสวนหนง่ึ ของการจบหลกั สูตร อาทิ กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามคั คี กิจกรรมเก่ยี วกบั การ ปองกนั และแกไข ปญหายาเสพติดการแขงขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชนอย่างต่อเนื่อง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และ การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งเปิดโอกาสใหผู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชนอื่นๆ นอกหลักสูตรมาใชเพิ่ม ชว่ั โมงกจิ กรรมใหผู้เรยี นจบตามหลกั สูตรได้ 1.2 การสงเสริมการรูหนังสือ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ทั้งสวนกลางและสวนภูมภิ าค 2) พฒั นาและปรับปรงุ หลักสูตร สอ่ื แบบเรยี นเครอ่ื งมือวดั ผลและเครอ่ื งมอื การดำเนินงานการ สงเสริมการรูหนงั สอื ที่สอดคลองกบั สภาพและบริบทของแตล่ ะกลมุ่ เป้าหมาย 3) พัฒนาครู กศน.และภาคเี ครือข่ายทร่ี ่วมจัดการศึกษา ใหมคี วามรู ความสามารถ และทักษะการจัด กระบวนการเรยี นรูใหกับผู้ไมร่ หู นงั สืออย่างมปี ระสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสรมิ การรูหนงั สือใน พื้นที่ที่มี ความตองการจำเป็นเป็นพิเศษ 4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือ การ พัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรูอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต ของ ประชาชน 1.3 การศกึ ษาต่อเนือ่ ง 1) จัดการศึกษาอาชพี เพือ่ การมีงานทำอยา่ งยัง่ ยืน โดยใหความสำคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือ การมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการ รวมถึงการเนนอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผู้เรียน ความตองการและศักยภาพของแต่ละ พ้ืนที่ มคี ุณภาพไดม้ าตรฐานเป็นทย่ี อมรับ สอดรับกบั ความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน
๑๑ สรา้ งความเขมแข็งใหกับศูนย์ฝกอาชีพชมุ ชน โดยจัดใหมกี ารสงเสริมการรวมกลุ่มวสิ าหกิจชุมชน การพัฒนา หน่ึงตำบล หนึ่งอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริมและจัดหา ชองทางการ จำหนา่ ยสินคา้ และผลิตภัณฑ์ และใหมีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชีพ เพ่ือการมงี านทำอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่สอดคลองกับความตองการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเนนใหทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเอง ได้มีความรู ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให อยู่ในสังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ สามารถเผชิญสถานการณต่าง ๆ ท่เี กดิ ขึ้นในชีวติ ประจำวนั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอม สำหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยสี มยั ใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มี เนื้อหาสำคัญต่างๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรูเพื่อการปองการการแพรระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสขุ ภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การปองกันภัย ยาเสพติดเพศศึกษา การปลูกฝงและการ สร้างคานิยมที่พึงประสงคความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน ผ่านการ อบรมเรียนรูในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การอบรมสงเสริมความสามารถ พิเศษ ตา่ งๆ เป็นตน 3) จัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจดั กระบวนการเรียนรู แบบบูรณา การในรูปแบบของการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้าง ชมุ ชนนักปฏบิ ตั ิ และรปู แบบอืน่ ๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบรบิ ทของชมุ ชน แต่ละพน้ื ที่ เคารพความคิดของผู้ อน่ื ยอมรับความแต่กต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทงั้ สังคม พหุวฒั นธรรม โดยจดั กระบวนการ ใหบุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสำนึกความ เป็นประชาธิปไตยการเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอหนาที่ความเป็นพลเมืองที่ดีภายใตการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเป็นจิตอาสา การบำเพ็ญ ประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสาธารณภัยการอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอม การชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกันในการพฒั นาสังคมและชมุ ชนอย่างย่งั ยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรยี นรูตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรียนรูตลอดชีวติ ในรูปแบบต่างๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดลุ และย่ังยืน 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรยี นรูใหเกิดข้นึ ในสังคมไทย ใหเกดิ ขึ้นอย่างกว้างขวางและท่วั ถึง เชน การพัฒนา กศน.ตำบล หองสมุด ประชาชน ทุกแหงใหมีการบรกิ ารทีท่ ันสมยั สงเสริมและสนบั สนนุ อาสาสมัครสงเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายสงเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการหองสมุดเคลือ่ นท่ี หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณ์เพื่อ จัดกิจกรรม สงเสริมการอา่ นและ การเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสร้างความพรอมใน ดา้ นบคุ ลากร สอื่ อุปกรณเ์ พอ่ื สนับสนุนการอ่าน และการจดั กิจกรรมเพือ่ สงเสริมการอ่าน อย่างหลากหลายรปู แบบ 2) จัดสร้างและพฒั นาศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษา ใหเป็นแหล่งเรยี นรูวทิ ยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ ประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งทองเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจำทองถิ่น โดย จัดทำและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เนนการเสริมสร้างความรูและสร้างแรงบันดาลใจ ด้าน วิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการ
๑๒ กระบวนการเรยี นรูที่บรู ณาการความรูด้านวิทยาศาสตร์ ควบคกู บั เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมท้ัง สอดคลองกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บรบิ ทของชมุ ชน และประเทศ รวมท้ังระดับภมู ภิ าค และระดับโลกเพื่อ ใหประชาชนมีความรูและสามารถนำความรูและทักษะไปประยกุ ตใชในการดำเนนิ ชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่ง แวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตวั รองรับผลกระทบจากการ เปลยี่ นแปลงของโลกท่ีเป็นไปอยา่ งรวดเร็วและรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธภิ าพ 3) ประสานความรว่ มมือหนว่ ยงาน องคกร หรือภาคสวนตา่ งๆ ท่มี แี หลง่ เรยี นรูอื่นๆ เพ่ือสงเสริม การ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบที่หลากหลายและตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ เรยี นรู แหล่งโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หองสมดุ รวมถึงภมู ปิ ัญญาทองถิน่ เป็นตน 2. ด้านหลักสูตร สื่อรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 สงเสรมิ การพฒั นาหลักสูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรูและกจิ กรรมเพ่ือสงเสรมิ การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่หี ลากหลาย ทนั สมยั รวมถึงการพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะ และ หลักสูตรท องถน่ิ ทีส่ อดคลองกับสภาพบรบิ ทของพน้ื ท่ีและความตองการของกลุ่มเปา้ หมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อตอการเรียนรูของ ผู้เรียน กลมุ่ เปา้ หมายทั่วไปและกลุม่ เปา้ หมายพิเศษ เพ่อื ใหผู้เรียนสามารถเรยี นรูได้ทกุ ที ทกุ เวลา 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัย หลากหลายชองทางการเรียนรู้ด้วย ระบบหองเรยี นและการควบคมุ การสอบรปู แบบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ เพื่อใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง มี การประชาสัมพนั ธ์ใหสาธารณชนไดร้ ับรูและสามารถเขาถงึ ระบบการประเมนิ ได้ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทกุ หลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานใหได้มาตรฐานโดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2.6 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การ วัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศยั รวมทง้ั ใหมกี ารนำไปสู่การปฏบิ ัติอยา่ งกวา้ งขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกบั บรบิ ทอยา่ งต่อเน่ือง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในที่สอดคลองกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย พฒั นาบคุ ลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดำเนินการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใชการประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดใหมี ระบบ สถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอย่างใกลชิด สำหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เขารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ให พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาใหได้คณุ ภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนด 3. ดา้ นเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อใหเชื่อมโยงและตอบสนอง ตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา สำหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหรูเทาทัน
๑๓ สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ รายการติวเขมเติมเต็มความรู รายการ รายการทำกินก็ได้ ทำขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน เพื่อ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเน็ต 3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และชองทางออนไลน์ต่าง ๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพื่อสงเสริม ใหครู กศน. นำเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชในการสรา้ งกระบวนการเรียนรูด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการ ออกอากาศใหกลุ่มเป้าหมายสามารถใชเป็นชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย เครือข่ายการรับฟงใหสามารถรับฟงได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มชองทาง ใหสามารถรับชม รายการโทรทัศนได้ทั้งระบบ Ku -Band C -Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอมที่จะ รองรับการพัฒนาเป็น สถานีวิทยุโทรทศั นเพ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาเพื่อใหได้หลายชองทางทัง้ ทางอินเทอรเนต็ และรูปแบบอืน่ ๆอาทิ Application บนโทรศพั ทเคลื่อนท่ีและ Tablet รวมท้ังสื่อ Offline ในรปู แบบตา่ งๆเพอื่ ให กลมุ่ เป้าหมายสามารถเลือกใชบรกิ ารเพอื่ เขาถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรูไดต้ ามความตองการ 3.5 สำรวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำผล มาใชในการพฒั นางานใหมีความถูกตองทนั สมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต ของประชาชน ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ 4. ดา้ นโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอันเก่ยี วเนือ่ งจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหรือโครงการอัน เกยี่ วเน่อื งจากราชวงศ 4.2 จัดทำฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพื่อนำไปใชในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พฒั นางานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4.3 สงเสริมการสร้างเครือข่ายการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เพื่อ ใหเกิดความเขมแข็งในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” เพื่อใหมีความพรอมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนาท่ที ีก่ ำหนดไวอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.5 จดั และสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวถิ ชี ีวติ ของประชาชนบนพืน้ ทสี่ ูง ถนิ่ ทุรกันดารและพื้นท่ีชายขอบ 5. ดา้ นการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต พื้นท่ีเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและพ้นื ทบี่ ริเวณ ชายแดน 5.1 พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูท่ีตอบสนองปญหาและความตอง การของกลมุ่ เปา้ หมายรวมทงั้ อต้ ลกั ษณและความเปน็ พหวุ ฒั นธรรมของพื้นที่ 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเพื่อให ผู้เรียน สามารถนำความรูทไ่ี ดร้ บั ไปใชประโยชนไดจ้ ริง
๑๔ 3) ใหหน่วยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากรและ นักศกึ ษา กศน. ตลอดจนผู้มาใชบรกิ ารอย่างทั่วถึง 5.2 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวของในการจัดทำแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และ บริบทของแตล่ ะจงั หวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จดั ทำหลกั สูตรการศึกษาตามบรบิ ทของพน้ื ทโ่ี ดยเนนสาขาท่ีเป็นความตองการของตลาดใหเกิดการ พัฒนาอาชพี ไดต้ รงตามความตองการของพนื้ ที่ 5.3 จัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคงของศูนยฝ์ กและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรูตนแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดำริปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพยี ง สำหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธกี ารเรยี นรูท่ีหลากหลาย 2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใชวิธีการหลากหลายใชรูปแบบเชิงรุกเพื่อการเขาถึง กลมุ่ เปา้ หมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกบั เครือข่ายการจัดอบรมแกนนำด้านอาชีพที่ เน้น เรอื่ งเกษตรธรรมชาตทิ ส่ี อดคลองกบั บรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ใหแกประชาชนตามแนวชายแดน 6. ดา้ นบคุ ลากรระบบการบริหารจัดการ และการมสี วนรว่ มของทกุ ภาคสวน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งกอนและระหว่าง การดำรงตำแหนงเพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนง ใหตรงกับสาย งาน ความชำนาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดำเนินงานของหน่วยงาน และ สถานศกึ ษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพรวมท้งั สงเสรมิ ใหขาราชการในสังกัดพฒั นาตนเองเพื่อเล่ือนตำแหนง หรือเล่ือน วทิ ยฐานะโดยเนนการประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจักษ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จำเป็นครบถวน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ในสถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตำบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตำบล/ แขวง และการปฏิบตั ิงานตามบทบาทภารกิจอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยเนนการเป็นนักจดั การความรูและผู้อำนวย ความ สะดวกในการเรยี นรูเพอื่ ใหผู้เรยี นเกดิ การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จรงิ 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรู ได้ อย่างมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัด และ ประเมนิ ผล และการวิจัยเบื้องตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถและมคี วามเป็นมอื อาชีพในการจัดบรกิ ารสงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตของประชาชน 6) สงเสรมิ ใหคณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนร่วมในการ บรหิ าร การดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทำหนาทส่ี นับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอธั ยาศัยไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๑๕ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธ์ภาพและเพิม่ ประสิทธิภาพในการทำงาน ร่วมกันใน รปู แบบทห่ี ลากหลายอยา่ งต่อเนื่องอาทิ การแขงขนั กฬี า การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาประสิทธิภาพ ในการทำงาน 6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและอัตรากำลงั 1) จดั ทำแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดำเนนิ การปรับปรุงสถานทแ่ี ละวัสดุอุปกรณใหมี ความ พรอมในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู 2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากำลังที่มีอยู่ทั้งในสวนท่ีเป็นขาราชการ พนักงาน ราชการ และลูกจ้าง ใหเป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากำลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจตามที่ กำหนดไว ใหเกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ ในการปฏิบตั ิงาน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพื่อนำมาใช ในการ ปรบั ปรุงโครงสรา้ งพน้ื ฐานใหมีความพรอมสำหรับดำเนนิ กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และ การสงเสริมการเรยี นรูสำหรบั ประชาชน 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลใหมคี วามครบถวน ถกู ตอง ทันสมัย และเช่อื มโยงกันทัว่ ประเทศ อย่างเป็นระบบเพ่ือใหหน่วยงานและสถานศึกษาในสงั กดั สามารถนำไปใชเป็นเครื่องมือสำคัญในการบรหิ าร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกับ ควบคุม และเร่งรัด การเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเป็นตามเป้าหมายทกี่ ำหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู รวมของนักศึกษา กศน. ใหมคี วามครบถวน ถกู ตอง ทันสมยั และ เชอ่ื มโยง กันทัว่ ประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานได้ทนั ความตองการเพ่ือประโยชนในการจดั การศึกษาใหกับ ผู้เรียนและการ บรหิ ารจัดการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพ่ือ สามารถนำมาใชในการพฒั นาประสิทธิภาพการดำเนนิ งานที่สอดคลองกับความตองการของประชาชน และชมุ ชนพรอม ทัง้ พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแขงขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเขาใจ และใหเกิดความร่วมมือ ในการสงเสรมิ สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใหกบั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ 6) สงเสริมการใชระบบสำนักงานอเิ ล็กทรอนิกส (e -office) ในการบรหิ ารจัดการ เชน ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองประชุม เป็นตน 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริต และ ประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจัดการบนข้อมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มุงผลสัมฤทธ์ิมีความโปรงใส 6.4 การกำกบั นิเทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหเชื่อมโยงกบั หน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครือข่ายทัง้ ระบบ
๑๖ 2) ใหหน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตามและ รายงานผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออนื่ ๆ ทีเ่ หมาะสม เพอื่ การกำกับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมปี ระสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำป ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตวั ชีว้ ดั ในคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการประจำป ของสำนกั งาน กศน. ใหดำเนินไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาที่กำหนด 5) ใหมกี ารเชอื่ มโยงระบบการนิเทศในทุกระดบั ท้งั หนว่ ยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแต่ สวน กลาง ภมู ิภาค กลุม่ จังหวดั จังหวดั อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช ข้อมลู และการพัฒนา งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๑๗ บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนนิ งาน การจัดทำโครงการสอนเสริมรายวิชาหลกั (วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ) ปีงบประมาณ 2564 จัดข้ึน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหารายวิชาในกลุ่มสาระความรู้พื้นฐานตลอดจนเป็นการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของตนเองและสถานศึกษาได้ โดยได้ดำเนินการตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ซึ่งมีขั้นตอน กระบวนการต่างๆ ดังน้ี ขั้นท่ี 1 ข้ันการเตรยี มการ (P) 1.1 สำรวจสภาพ ปัญหาและความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย 1.2 ประชุมวางแผนการดำเนินการฝกึ อบรม 1.3 เขยี นโครงการ 1.4 แตง่ ตั้งคณะทำงาน ข้ันท่ี 2 ขน้ั ดำเนินการ (D) 2.1 ดำเนินงานโครงการสอนเสริมรายวิชาหลัก (วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ) ปีงบประมาณ 2564 2.๒ นเิ ทศติดตามการดำเนนิ งาน ขั้นท่ี 3 รายงานผล / ประเมนิ ผล (C) 3.1 จดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ 3.2 จัดทำรายงานการนเิ ทศโครงการ 3.3 ประเมนิ ความพงึ พอใจ ข้นั ที่ 4 สรุปผลและปรับปรุงผลการดำเนินงาน (A) นำผลการดำเนินงาน ผลการนิเทศและแบบสรุปความพึงพอใจ มาวิเคราะห์จดั ทำเปน็ ข้อเสนอแนะเพื่อใช้ ในการจัดโครงการในคร้ังต่อไป ขน้ั ท่ี 4 สรุปผลและปรบั ปรุงผล ขนั้ ท่ี 1 ขน้ั การเตรียมการ การดำเนนิ งาน ขน้ั ท่ี 3 รายงานผล / ประเมินผล ข้นั ที่ 2 ข้ันดำเนนิ การ
๑๘ ดชั นีชว้ี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ (Key Performance Indicator : KPI) ตัวช้วี ัดความสำเร็จ สอดคล้องกับ วิธีการประเมนิ เครอ่ื งมือทใี่ ช้ มาตรฐาน กศน.ที่ ผลผลิต (outputs) กลุ่มเป้าหมายร้อย การสังเกต/ลง แบบลงลายมอื ช่ือ ละ ๑๐๐ ผ่านการร่วมกิจกรรมตาม 1 ชอื่ เข้าร่วม ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรม ผลลัพธ์ (outcomes) กลุ่มเป้าหมาย 1 ทดสอบก่อนและ -แบบทดสอบกอ่ นเรียน ร้อยละ ๑๐๐ สามารถนำประสบการณ์ หลงั สอนเสริม -แบบทดสอบหลังเรียน และองค์ความรู้ที่ได้จากร่วมกิจกรรมมี ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและ สามารถพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ได้ สำหรับเกณฑ์การให้คะแนนสำหรับแบบประเมินความพึงพอใจในโครงการสอนเสริมรายวิชาหลัก (วิชา คณิตศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ) ปีงบประมาณ 2564 โดยแบ่งระดับคุณภาพในการประเมินออกเป็น 5 ระดับ ตาม แบบของ ลิเคริ ์ต (Likert’s five point rating scale) ดังนี้ นำ้ หนักคะแนน 5 หมายถึง มคี วามเหน็ อยู่ในระดับมากท่สี ดุ นำ้ หนกั คะแนน 4 หมายถึง มคี วามเห็นอยใู่ นระดบั มาก น้ำหนกั คะแนน 3 หมายถงึ มคี วามเห็นอย่ใู นระดับปานกลาง นำ้ หนักคะแนน 2 หมายถึง มีความเหน็ อยใู่ นระดับน้อย นำ้ หนกั คะแนน 1 หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดบั น้อยท่สี ุด ในสว่ นของการวเิ คราะหผ์ ลความพึงพอใจ และระดบั ความคิดเห็นของผู้เข้ารว่ มโครงการถือว่าเป็นค่าเฉลี่ยของ คะแนนที่ได้จากการตอบแบบประเมินความพึงพอใจทั้งนี้ผู้จัดกิจกรรมได้กำหนดการวิเคราะห์ตามแนวคิดของ เบสท์ (อ้างถึงใน พวงรตั น์ ทวีรัตน,์ 2543 : 303) ดังนี้ ค่าเฉลีย่ ความหมาย 1.00 – 1.49 น้อยทส่ี ดุ 1.50 – 2.49 น้อย 2.50 – 3.49 ปานกลาง 3.50 – 4.49 มาก 4.50 – 5.00 มากท่ีสดุ
๑๙ บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน ผลการศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการ แกป้ ัญหาโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน และความพึง พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจำนวน 40 คน ผูศ้ กึ ษาแบง่ ผลการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ดงั นี้ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปเกยี่ วกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการ เรียนรผู้ ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ ผลการศึกษาในแตล่ ะสว่ นจะนำเสนอข้อมลู ในรูปแบบตารางแจกแจงเป็น คา่ เฉลีย่ และค่ารอ้ ยละจากข้อมลู ท่ไี ด้เป็นสำคัญ ซงึ่ มีรายละเอยี ดของผลการศกึ ษา ดังนี้ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปเกย่ี วกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจในการศึกษาในครั้งนี้ เป็นนักศึกษา กศน.อำเภอสุคิริน ที่เข้าร่วม โครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้ค่าร้อยละดังปรากฏใน ตารางท่ี ๑ ดงั นี้ ตาราง 4.๑ จำนวนและร้อยละของผเู้ ข้ารว่ มโครงการจำแนกตามเพศ ข้อมูลพน้ื ฐาน จำนวน ร้อยละ ๑. เพศ ๑.๑ ชาย 11 27 ๑.๒ หญิง 29 73 รวม 40 100 ชาย 27% หญิง 73% ชาย หญิง จากตารางที่ ๔.๑ กลุ่มเป้าหมายเป็นเพศชาย จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 27 รองลงมากลุ่มเป้าหมาย เป็นเพศหญิง จำนวน 29 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 73 ของกล่มุ เป้าหมายทัง้ หมด
๒๐ ตารางท่ี ๔.๒ จำนวนและรอ้ ยละของผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกตามชว่ งอายุ ข้อมูลพืน้ ฐาน จำนวน รอ้ ยละ 2. อายุ 82 18 2.๑ 15 - 25 ปี 33 0 100 2.๒ 26 - 35 ปี 7 2.๒ 36 ปี ข้ึนไป 0 รวม 40 26 - 35 ปี 18% 15 - 25 ปี 82% จากตารางที่ ๔.๒ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด มีอายุระหวา่ ง 15 - 25 ปี จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 82 อายุ ระหว่าง 26 - 35 ปี จำนวน 7 คน คดิ เป็นร้อยละ 18 ของกลมุ่ เปา้ หมายทงั้ หมด ตารางที่ ๔.๓ จำนวนและรอ้ ยละของผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกตามระดบั การศึกษา ขอ้ มูลพ้ืนฐาน จำนวน รอ้ ยละ ประถมศกึ ษา 12 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 12 30 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 27 68 รวม 40 100 มธั ยมศกึ ษาตอน ประถมศกึ ษา ปลาย 2% 68% มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 30% จากตารางที่ ๔.๓ กลมุ่ เป้าหมายส่วนใหญม่ ีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 27 คน คิดเป็น ร้อยละ 68 รองลงมาเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30 และรองลงมาเป็นระดับ ประถมศกึ ษา มจี ำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 2 ของกลุ่มเป้าหมายทง้ั หมด
๒๑ สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลเกีย่ วกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียน สง่ เสริมการ เรียนรู้ผา่ นกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ ตารางที่ ๔.4 จำนวนร้อยละ และค่าเฉลี่ยจำแนกตามปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ พฒั นาผ้เู รยี น ส่งเสรมิ การเรียนร้ผู ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ มดี งั นี้ ระดับความพึงพอใจ ที่ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ท่ีสุด กลาง ทสี่ ดุ (๕) (๔) (๓) (๒) (๑) ๑ การประชาสมั พันธ์โครงการ ฯ 28 12 0 0 0 ๒ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ของวทิ ยากร 21 19 0 0 0 ๓ เทคนคิ การถา่ ยทอด หรือบรรยายใหค้ วามรู้ 29 11 0 0 0 ๔ ความเหมาะสมของสถานทีจ่ ัดโครงการ 25 15 0 0 0 ๕ ความเหมาะสมของระยะเวลา 19 21 0 0 0 ๖ ความเหมาะสมของสื่ออปุ กรณใ์ นการจัดโครงการ 14 26 0 0 0 ๗ การจดั ลำดบั ข้ันตอนของกจิ กรรม 18 22 0 0 0 ๘ สาระความรทู้ ีไ่ ดร้ บั จากโครงการ 28 12 0 0 1 ๙ ความร้ทู ไ่ี ด้รบั จากการอบรมสามารถนำไปใช้ไดจ้ ริง 27 13 0 0 0 ๑๐ ความร้แู ละทักษะท่ีได้รบั จากโครงการสามารถนำไปปรบั ปรุงและ 31 9 0 0 0 พัฒนาต่อยอด 11 ประโยชนท์ ีท่ ่านได้รบั จากโครงการ/กิจกรรม 33 7 0 0 0 12 ความพงึ พอใจของทา่ นต่อภาพรวมของโครงการ 31 9 0 0 0 จากตาราง ๔.๔ ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ ผลการศกึ ษาได้ดงั นี้ ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อภาพรวม ในการดำเนินโครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ พบว่า ค่าของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่ในระดับมาก แสดงว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเห็นด้วยกับการจัดโครงการดังกล่าวและเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมโครงการ ภาพรวมอยู่ใน ระดบั มาก ส่วนประเด็นอนื่ ๆ ได้จำแนกการอธบิ ายตามขอ้ คำถามดงั น้ี ประเด็นคำถามที่ ๑ การประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการ ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 5 แสดงว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ อยู่ระดบั มากท่สี ุด ประเดน็ คำถามท่ี ๒ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร พบวา่ ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ มีความพึง พอใจกับความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 5 แสดงว่า ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจอยู่ระดับมากทีส่ ดุ
๒๒ ประเดน็ คำถามที่ ๓ เทคนคิ การถ่ายทอด หรอื บรรยายให้ความรู้ พบว่า ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ มคี วามพึงพอใจ ในเทคนิคการถ่ายทอด หรือบรรยายให้ความรู้ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 5 แสดงว่าผู้เข้าร่วม โครงการมคี วามพึงพอใจอยูร่ ะดับมากทส่ี ดุ ประเด็นคำถามที่ ๔ ความเหมาะสมของสถานที่จัดโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อ ความเหมาะสมของสถานที่จัดโครงการ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 5 แสดงว่าผู้เข้าร่วมโครงการมี ความพึงพอใจอยรู่ ะดบั มากทสี่ ดุ ประเด็นคำถามที่ ๕ ความเหมาะสมของระยะเวลา พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจกับความ เหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้จัดโครงการ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญอ่ ยู่ในระดับ 4 แสดงว่าผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมี ความพงึ พอใจอยรู่ ะดบั มาก ประเดน็ คำถามที่ ๖ ความเหมาะสมของสื่ออุปกรณใ์ นการจัดโครงการ พบว่า ผู้เขา้ รว่ มโครงการ มีความพึง พอใจในความเหมาะสมของสื่ออุปกรณ์ในการจัดโครงการ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4 แสดงว่า ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมีความพงึ พอใจอย่รู ะดบั มาก ประเด็นคำถามที่ ๗ การจัดลำดับขั้นตอนของกิจกรรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ความพึงพอใจต่อการ จัดลำดับขั้นตอนของกิจกรรม โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4 แสดงว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึง พอใจอยู่ระดบั มาก ประเด็นคำถามที่ ๘ สาระความรู้ที่ได้รับจากโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อสาระ ความรทู้ ไ่ี ด้รับจากโครงการ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดบั 5 แสดงวา่ ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจ อยูร่ ะดับมากท่ีสดุ ประเด็นคำถามที่ ๙ ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมสามารถนำไปใช้ได้จริง พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความ พงึ พอใจในความรทู้ ่ีไดร้ ับจากการอบรมสามารถนำไปใช้ไดจ้ ริง โดยระดบั ความพึงพอใจสว่ นใหญ่อยใู่ นระดับ 5 แสดงว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจอยรู่ ะดับมากที่สดุ ประเด็นคำถามที่ ๑๐ ความรู้และทักษะที่ได้รับจากโครงการสามารถนำไปปรับปรุงและพัฒนาต่อยอด พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะที่ได้รับจากโครงการสามารถนำไปปรบั ปรุงและพัฒนาต่อยอด โดยระดบั ความพงึ พอใจสว่ นใหญ่อยูใ่ นระดับ 5 แสดงวา่ ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจอยรู่ ะดับมากที่สดุ ประเด็นคำถามที่ ๑1 ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ ประโยชน์จากโครงการ/กิจกรรม โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 5 แสดงว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึง พอใจอยู่ระดับมากท่สี ุด ประเด็นคำถามท่ี ๑2 ความพงึ พอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ พบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มโครงการมีความพึง พอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ โดยระดับความพึงพอใจส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 5 แสดงว่าผู้เข้าร่วมโครงการมี ความพงึ พอใจอยู่ระดับมาก จากตารางสามารถสรุปความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมในการดำเนินโครงการพัฒนาผ้เู รียน สง่ เสริมการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาด้านต่างๆ พบว่า มีความพึงพอใจ อยใู่ นระดับมากท่สี ุด
๒๓ บทท่ี ๕ สรปุ ผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ จากการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ ได้จัดทำ ขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการ แก้ปัญหาโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรูค้ วามเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการแก้ปัญหาโดย ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน มีผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจหลังการอบรม จำนวน 40 คน โดยเป็นเพศชาย จำนวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 27 และเพศหญงิ จำนวน 29 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 73 สว่ นใหญ่มีอายรุ ะหว่าง 15 – 25 ปี จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 82 และอายุระหว่าง 26 - 35 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 18 ของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ มีทักษะใน การแก้ปัญหาโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งมี ระดับความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้เขา้ ร่วมการอบรม 1.ควรขยายระยะเวลาในการจดั โครงการ 2.อยากให้จดั กิจกรรมนอกสถานที่
ภาคผนวก
รปู กิจกรรรม วทิ ยากร ทกั ทายนักศกึ ษาท่เี ข้ารว่ มโครงการตามตำบลตา่ งๆผ่านระบบออนไลน์ คณะวิทยากร จากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานราธิวาส บรรยายในหัวข้อต่างๆเกี่ยวกับโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ ใหน้ กั ศึกษาเขา้ ร่วมโครงการรับฟัง นักศึกษา นำเสนอความสำเร็จของโครงงานที่ผ่านมา พร้อมคัดเลือกนักศึกษาท่ีเป็นตัวแทนสถานศึกษาไปแข่ง ในระดบั ต่อไป
คำสง่ั ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสคุ ริ นิ ท่ี /๒๕๖4 เรือ่ ง แตง่ ต้ังคณะทำงานโครงการพฒั นาผู้เรยี น สง่ เสริมการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ .................................................................... ดว้ ยศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุคิริน จะดำเนินการโครงการพัฒนา ผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการโครงงานวิทยาศาสตร์ ในวันที่ 5 - 6 สิงหาคม ๒๕๖4 ณ กศน.ตำบลทุก ตำบล อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการและกระบวนการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ มที ักษะในการแกป้ ัญหาโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ อาศัยอำนาจคำสัง่ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่๔๘๙/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๑ เรื่องมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการ สถานศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ จึงแตง่ ตงั้ คณะทำงานเพือ่ รบั ผดิ ชอบหนา้ ที่ต่าง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. ฝ่ายอำนวยการ มหี นา้ ท่ี อำนวยความสะดวก กำกับดูแล ให้ข้อเสนอแนะและแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กดิ ขึ้น เพ่ือให้ การดำเนนิ การเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ประกอบดว้ ย ๑.๑ นางสาวนเู รฮา บอื ซา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอสคุ ิริน ประธาน ๑.2 นายอบั ดนเล๊าะ สีบู ครผู ชู้ ่วย กรรมการ ๑.๓ นางสาวกาตนี ี สาเดง็ ครูผู้ช่วย กรรมการ 1.4 นายรุสลัน ดาโอะ ครูอาสาฯปอเนาะ กรรมการ/เลขานุการ ๒. คณะทำงานฝ่ายวิชาการ มีหน้าท่ีรวบรวม จัดทำ เอกสารความรู้ทคี่ รอบคลุมเนื้อหาเพ่อื ใช้ประกอบการ อบรม ประกอบด้วย ๒.๑ นายมูฮามดั สกรี ลาบอู าปี ครผู ชู้ ่วย หัวหนา้ ๒.๒ นายมะรอยาลี มะแซ ครูผู้ชว่ ย คณะทำงาน ๒.๓ นางสาวอภิชญา พรหมทา ครอู าสาปอเนาะ คณะทำงาน ๒.๔ นายสไุ ลมาน มามะ ครอู าสาฯ คณะทำงาน 2.5 นายไพศาล มะเจ๊ะฮะ ครผู ู้ช่วย คณะทำงาน ๓. คณะทำงานฝา่ ยประสานงาน มีหนา้ ท่ปี ระสานนักศึกษา ให้มาเข้าร่วมกจิ กรรมและผู้ท่เี กยี่ วข้องในการ ดำเนนิ โครงการฯ ประกอบด้วย ๓.๑ นางสาวรอฮมี ะ ล่ากดู ครูกศน.ตำบล หวั หน้า ๓.๒ นายนยิ ม ดำนอ้ ย ครูกศน.ตำบล คณะทำงาน ๓.๓ นางสาวปาซียะห์ แวสะมาแอ ครูกศน.ตำบล คณะทำงาน ๓.๔ นางสาวสุไฮนา มะวะวา ครกู ศน.ตำบล คณะทำงาน 3.5 นายกามีรี บนิ แมเราะ ครกู ศน.ตำบล คณะทำงาน 3.6 นางสาวอภิชญา พรหมทา ครอู าสาฯปอเนาะ คณะทำงาน 3.7 นายนรนิ ทร์ นลิ กระวตั ร์ ครอู าสาฯปอเนาะ คณะทำงาน
๔.คณะทำงานฝา่ ยต้อนรับและลงทะเบียน มีหน้าที่ทำบญั ชลี งเวลาและรับลงทะเบียนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม ประกอบด้วย ๔.๑ นางสาวยารูนา ดาโอ๊ะ ครูผชู้ ่วย หัวหนา้ ๔.๒ นางสาวกาตีนี สาเดง็ ครผู ู้ช่วย คณะทำงาน ๔.๓ นางรอฮมี ะ ล่ากูด ครกู ศน.ตำบล คณะทำงาน ๔.๔ นางซาวาตหี ์ ยะโกะ ครอู าสาฯ คณะทำงาน 4.5 นางสาวอภิชญา พรหมทา ครูอาสาฯปอเนาะ คณะทำงาน ๔.6 นางสาววาริณี ชเู ชิด เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด คณะทำงาน ๕. คณะทำงานฝ่ายจดั สถานทแ่ี ละถา่ ยภาพ มีหนา้ ทปี่ ระสานงานและเตรียมความพร้อมของสถานทใี่ นการจัด กจิ กรรม รวมทั้งดูแลวัสดุอปุ กรณ์ ควบคุมเครอื่ งขยายเสยี ง พรอ้ งท้ังถ่ายภาพกจิ กรรมการอบรม ประกอบดว้ ย ๕.๑ นายอานซั ดอเลา๊ ะ ครผู ู้ชว่ ย หวั หน้า ๕.๒ นายนรินทร์ นลิ กระวตั ร์ ครอู าสาฯปอเนาะ คณะทำงาน ๕.๓ นายนายนิยม ดำน้อย ครกู ศน.ตำบล คณะทำงาน ๕.๔ นายรุสลนั ดาโอะ ครอู าสาฯปอเนาะ คณะทำงาน ๕.5 นายรัฐพล ศักดน์ิ ราวงศ์ เจา้ หนา้ ทพี่ ัสดุ คณะทำงาน 5.6 นายกามีรี คณะทำงาน ๕.7 นางโนรา บแิ มเราะ ครกู ศน.ตำบล คณะทำงาน บินสะอิ พนักงานบริการ 5.8 นายสไุ ลมาน มามะ ครูอาสาฯ คณะทำงาน ๕.9 นางสาวมูอาซะห์ เตะ เจ้าหน้าทธี่ ุรการ คณะทำงาน ๖. คณะทำงานฝา่ ยนเิ ทศ/ประเมนิ ผล มหี น้าทส่ี ร้างเครอื่ งมือประเมนิ ผล สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน ประกอบด้วย สีบู ครผู ู้ช่วย หวั หน้า ๖.๑ นายอับดนเล๊าะ มามะ ครูอาสาฯ คณะทำงาน ๖.๒ นายสไุ ลมาน ๗. คณะทำงานฝา่ ยรายงานผล มีหน้าท่ี สรปุ และรายงานผลการดำเนินงาน ประกอบด้วย ๗.๑ นายมะรอยาลี มะแซ ครผู ู้ช่วย หวั หน้า ครูอาสาฯปอเนาะ เลขานุการ ๗.2 นายรสุ ลนั ดาโอะ ราชการ ขอใหเ้ จา้ หน้าที่ ทไี่ ด้รบั การแต่งตัง้ ปฏบิ ตั ิงานตามหนา้ ทใ่ี ห้เป็นไปด้วยความเรยี บร้อยและเกดิ ผลดแี ก่ ทง้ั น้ี ตง้ั แตว่ ันท่ี 5-6 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖4 ส่ัง ณ วนั ที่ 29 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖4 ( นางสาวนเู รฮา บือซา ) ผูอ้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุคิริน
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: