การวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม รายวิชาภาษาไทย ท๓๓๑๐๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖ ครูผูส้ อน นางสาวปัทมา จนั ทรศ์ รี
ความหมายของวรรณคดแี ละวรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม บทประพันธท์ ่ไี ด้รับยกย่องว่า งานหนังสอื , งานประพันธ,์ แต่งดี มคี ุณค่าทางวรรณศลิ ป์ บทประพันธท์ กุ ชนดิ ท้งั ท่เี ป็นร้อย เช่น สามกก๊ รามเกยี รต์ิ ลิลิต แก้วและร้อยกรอง ตะเลงพ่าย
ความหมายการวิเคราะหว์ รรณกรรม
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม การวเิ คราะหว์ รรณกรรมมีหลกั เกณฑก์ ารปฏบิ ตั ิอย่างกวา้ ง ทง้ั นี้เพือ่ ใหค้ รอบคลุมงานเขียนทุกประเภท แตล่ ะประเภท ผู้ วเิ คราะหต์ ้องนาแนวการวิเคราะหไ์ ปปรับใช้ ใหเ้ หมาะสมกับงาน เขียนแตล่ ะชิ้นงานซึง่ มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ไป ซึง่ ประพนธ์ เรือง ณรงค์ และคณะ (๒๕๔๕ : ๑๒๘) ไดใ้ หห้ ลกั เกณฑก์ วา้ ง ๆ ในการ วิเคราะห์วรรณกรรม ดังนี้ ๑. ความเป็นมา/ประวตั ขิ องหนังสือ/ผแู้ ต่ง ๒. ลกั ษณะคาประพันธ์ ๓. เรือ่ งย่อ ๔ .เน้อื เรือ่ ง ๕. แนวคดิ ๖. คณุ ค่าของวรรณกรรม
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๑. ความเปน็ มา/ประวตั ิของหนังสือ/ผูแ้ ต่ง เปน็ การบอกเลา่ ทีม่ าของเรือ่ ง หรือประวัติ ของหนงั สือเล่มที่วิเคราะห์ บอกชือ่ ผแู้ ต่งและ ประวตั ิของผแู้ ต่ง
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๒. ลักษณะคาประพันธ์ รูปแบบคาประพันธ์ ที่ผู้ประพันธ์ เลือกใช้ในการนาเสนอเนื้อหาไปสู่ผู้อ่าน รูปแบบคาประพันธ์ได้ เช่น กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ เป็นต้น ลักษณะคา ประพันธ์แต่ละชนิด กวีจะเลือกใช้ให้ เหมาะสมกบั เน้ือหาได้
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๓. เนือ้ เรื่องยอ่ ให้วิเคราะห์เรื่องในหัวข้อต่อไปนี้ตามลาดับ โดยบางหัวข้ออาจจะมี หรือไม่มีก็ได้ตามความ จาเป็น เช่น โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแต่ง ลักษณะการเดินเรื่อง การใช้ถ้อยคา สานวนใน เรือ่ งท่วงทานองการแต่ง วิธีคิดสร้างสรรค์ ทัศนะ หรือมมุ มองของผเู้ ขียน เป็นต้น
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๓. เนือ้ เรือ่ งย่อ เป็นการเล่าเรื่องอย่างย่อๆ เพ่ือให้ทราบ เน้ือหาของเรือ่ งคร่าว ๆ
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๔. เนือ้ เรือ่ ง ใ ห้ วิ เ ค ร า ะ ห์ เ รื่ อ ง ใ น หั ว ข้ อ ต่ อ ไ ป นี้ ตามลาดับ โดยบางหัวข้ออาจจะมี หรือไม่มีก็ ได้ตามความจาเป็น เช่น โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วธิ กี ารแต่ง ลักษณะการเดนิ เรื่อง การใช้ ถ้อยคา สานวนในเรื่องท่วงทานองการแต่ง วิธีคิดสร้างสรรค์ ทัศนะหรือมุมมองของ ผเู้ ขียน เปน็ ต้น
แนวในการวิเคราะหว์ รรณกรรม ๕. แนวคิด แนวคิด จุดมุ่งหมาย เจตนาของผู้เขียนที่ ฝากไว้ในเรื่อง ซึ่งต้องวิเคราะห์ออกมา
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๖. คุณค่าด้านตา่ งๆ การพนิ ิจคณุ คาวรรณคดีและวรรณกรรม มี ๔ ด้าน ดงั น้ี
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๖. คณุ คา่ ด้านตา่ งๆ ๑) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความ ไพเราะของบทประพันธ์ ซึ่งอาจทาให้ผู้อ่าน เกิดอารมณ์ ความรู้สึกและจินตนาการตาม รส ความหมายของถ้อยคาและภาษาที่ผู้แต่ง เลอื กใช้เพอ่ื ให้มคี วามหมายกระทบใจผอู้ ่าน
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๖. คุณค่าด้านต่างๆ ๒) คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิด และกลวธิ นี าเสนอ ๓) คุณค่าด้านสงั คม วรรณคดีและ วรรณกรรมจะสะท้อนใหเ้ ห็นสภาพของสงั คม และวรรณคดีที่ดสี ามารถจรรโลงสงั คมได้อกี ด้วย
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๖. คณุ คา่ ดา้ นตา่ งๆ ๔) ก าร น า ไป ปร ะยุ กต์ ใช้ ใน ชีวิ ต ประจาวัน ผู้อ่านสามารถนาแนวคิดและ ประสบการณ์จากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้ หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
แนวในการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ๖. คณุ คา่ ด้านตา่ งๆ ๑) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความ ไพเราะของบทประพันธ์ ซึ่งอาจทาให้ผู้อ่าน เกิดอารมณ์ ความรู้สึกและจินตนาการตาม รส ความหมายของถ้อยคาและภาษาที่ผู้แต่ง เลอื กใช้เพอ่ื ให้มคี วามหมายกระทบใจผอู้ ่าน
ตดิ ตามตอนตอ่ ไปจา้
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: