Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ การอ่านทำนองเสนาะ

ใบความรู้ การอ่านทำนองเสนาะ

Published by phatthai2561, 2020-06-08 12:11:10

Description: ใบความรู้ การอ่านทำนองเสนาะ

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เร่ือง การอา่ นทานองเสนาะ ๑. ความหมายของ “การอ่านทานองเสนาะ” การอ่านทานองเสนาะคือวิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองแต่ละประเภท หรือหมายถึง การอ่านตามทานอง (ทานอง = ระบบเสียงสูงต่า ซ่ึงมีจังหวะส้ันยาว) เพื่อให้เกิดความเสนาะ (เสนาะ, น่าฟงั , ไพเราะ, วงั เวงใจ) ๒. วตั ถปุ ระสงค์ในการอ่านทานองเสนาะ การอา่ นทานองเสนาะเปน็ การอา่ นให้คนอืน่ ฟงั ฉะนน้ั ทานองเสนาะต้องอ่านออกเสียง เสียงทาให้เกิด ความรสู้ ึก-ทาให้เห็นความงาม-เห็นความไพเราะ-เห็นภาพพจน์ ผู้ฟังสัมผัสด้วยเสียงจึงจะเข้าถึงรสและความ งามของบทรอ้ ยกรองท่ีเรียกว่าอ่านแล้วฟังพร้ิงเพราะเสนาะโสต การอ่านทานองเสนาะจึงมุ่งให้ผู้ฟังเข้าถึงรส และเห็นความงามของบทร้อยกรอง ๓. รสท่ใี ช้ในการอา่ นทานองเสนาะ ๓.๑ รสถ้อย (คาพดู ) แต่ละคามรี สในคาของตัวเอง ผู้อา่ นจะต้องอ่านให้เกิดรสถอ้ ย ตัวอยา่ ง สกั วาหวานอ่ืนมหี มื่นแสน ไมเ่ หมอื นแมน้ พจมานท่หี วานหอม กล่ินประเทยี บเปรยี บดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม แมน้ ลอ้ ลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดังดดู ด่ืมบอระเพด็ ต้องเข็ดขม ผูด้ ไี พรไ่ มป่ ระกอบชอบอารมณ์ ใครฟงั ลมเมินหน้าระอาเอย (พระเจา้ วรวงศ์เธอกรมหลวงบดินทร์ไพศาลโสภณ) ๓.๒ รสความ (เรื่องราวท่ีอ่าน) ข้อความท่ีอ่านมีเร่ืองราวเก่ียวกับอะไร เช่น โศกเศร้า สนุกสนาน ตนื่ เต้น โกรธ รกั เวลาอ่านต้องอา่ นใหม้ ีลีลาไปตามลกั ษณะของเนือ้ เรอ่ื งนั้น ๆ ตัวอย่าง : บทโศกตอนทีน่ างวนั ทองไปสง่ พลายงามให้ไปหายา่ ทองประศรที ่ีสุพรรณบุรี ลกู ก็แลดูแมแ่ ม่ดูลกู ต่างพันผกู เพียงวา่ เลือดตาไหล สะอ้นื รา่ อาลาด้วยอาลยั แล้วแข็งใจจากนางตามทางมา เหลยี วหลังยังเห็นแมแ่ ลเขม้น แม่กเ็ หน็ ลกู นอ้ ยละห้อยหา แตเ่ หลียวเหลยี วเลี้ยวลับวบั วญิ ญาณ์ โอเ้ ปล่าตาต่างสะอื้นยืนตะลึง (เสภาขนุ ช้างขนุ แผน ตอนกาเนดิ พลายงาม : สนุ ทรภ)ู่ ๓.๓ รสทานอง (ระบบเสียงสูงต่าซึ่งมีจังหวะสั้นยาว) ในบทร้อยกรองไทยจะประกอบด้วย ทานองตา่ ง ๆ เช่น ทานองโคลง ทานองฉนั ท์ ทานองกาพย์ ทานองกลอนและทานองร่าย เป็นตน้ สตั ว์ พวกหนึง่ น้ีชื่อ พหุบา ทาแฮ มี อเนกสมญา ยอกยอ้ น เทา้ เกิดยง่ิ จตั วา ควรนบั เขานอ มาก จวบหม่นิ แสนซ้อน สดุ พ้นประมาณฯ (สัตวาภธิ าน : พระยาศรีสุนทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู )

๓.๔ รสคล้องจอง ในบทร้อยกรองตอ้ งมคี าคล้องจอง ในคาคล้องจองนั้นต้องให้ออกเสียงต่อเน่อื งกัน โดยเน้นสัมผัสนอกเปน็ สาคัญ เชน่ ถึงโรงเหล้าเตากลน่ั ควนั โขมง มคี ันโพงผูกสายไว้ปลายเสา โอบ้ าปกรรมน้านรกเจยี วอกเรา ใหม้ วั เมาเหมอื นหนึ่งบ้าเปน็ นา่ อาย ทาบุญบวชกรวดนา้ ขอสาเรจ็ พระสรรเพชญโพธญิ าณประมาณหมาย ถงึ สรุ าพารอดไม่วอดวาย ไมใ่ กล้กรายแกลง้ เมนิ กเ็ กินไป ไมเ่ มาเหลา้ แล้วแต่เรายังเมารัก สุดจะหักหา้ มจิตคิดไฉน ถึงเมาเหล้าเช้าสายกห็ ายไป แตเ่ มาใจน้ปี ระจาทกุ ค่าคนื (นิราศภเู ขาทอง : สุนทรภู่) ๓.๕ รสภาพ เสียงทาให้เกิดภาพ ในแต่ละคาจะแฝงไปด้วยภาพในการอ่านให้เห็นภาพต้องใช้ เสยี งสงู -ต่า ดงั - คอ่ ย แล้วแต่จะใหเ้ กิดภาพอย่างไร เช่น “มดเอ๋ยมดแดง เลก็ เล็กเรย่ี วแรงแขง็ ขยนั ” “สพุ รรณหงส์ทรงพหู่ ้อย งามชดชอ้ ยลอยหลังสนิ ธ์” “อยธุ ยายศล่มแลว้ ลอยสวรรค์ ลงฤๅ” ๔. หลักการอา่ นทานองเสนาะ มีดังนี้ ๑) กอ่ นอา่ นทานองเสนาะให้แบ่งคาแบ่งวรรคให้ถูกต้องตามหลักคาประพันธ์เสียก่อนโดยต้องระวังใน เรื่องความหมายของคาดว้ ย เพราะคาบางคาอา่ นแยกคากนั ไม่ได้ เช่น “สรอ้ ยคอขนมยุระ ยงู งาม” (ขน-มยรุ ะ, ขนม-ยรุ ะ) “หวนหว่ งมว่ งหมอนทอง อีกอกร่องรสโอชา” (อีก-อก-ร่อง, อี-กอ-กรอ่ ง) “ดุเหว่าจับเต่ารา้ งรอ้ ง เหมือนจากห้องมาหยารัศมี” (จับ-เต่า-รา้ ง, จบั -เตา่ ) “แรงเหมอื นมดอดเหมือนกา กลา้ เหมือนหญิง” (เหมือน-มด, เหมอื น-มด-อด) ๒) อ่านออกเสียงธรรมดาให้คลอ่ งกอ่ น ๓) อา่ นให้ชัดเจน โดยเฉพาะออกเสยี ง ร ล และคาควบกลา้ ใหถ้ ูกตอ้ ง เช่น “เกิดเปน็ ชายชาตรอี ยา่ ข้ีขลาด บรรยากาศปลอดโปร่งโลง่ สมอง หยิบน้าปลาตราสบั ปะรดใหท้ ดลอง ไหนเล่าน้องครมี นวดหนา้ ทาใหท้ ี เนอ้ื น้ันมีโปรตนี กินเขา้ ไว้ คนเคราะห์รา้ ยคลมุ้ คลง่ั เรื่องหนงั ผี ใชน้ า้ คลองกรองเสยี ก่อนจึงจะดี เห็นมาลคี ล่ีบานหนา้ บา้ นเอย” ๔) อ่านใหเ้ อื้อสัมผสั เรยี กว่า คาแปรเสยี ง เพ่อื ใหเ้ กดิ เสยี งสมั ผสั ทไี่ พเราะ เช่น พระสมุทรสุดลึกลน้ คณนา (อา่ นวา่ พรฺ ะ-สะ-หมดุ -สุด-ลกึ -ลน้ คน-นะ-นา) ขา้ ขอเคารพอภิวาท ในพระบาทบพิตรอดสิ ร (อ่านวา่ ขา้ -ขอ-เคา-รบ-อบ-พิ-วาด ใน-พฺระ-บาด-บอ-พดิ -อะ-ดดิ -สอน ขอสมหวงั ต้งั ประโยชน์โพธิญาณ

(อ่านว่า ขอ-สม-หฺวงั -ต้ัง-ปรฺ ะ-โหฺยด-โพด-ท-ิ ยาน ๕) ระวัง ๓ ต อย่าใหต้ กหล่น อย่าตอ่ เตมิ และอย่าตูต่ วั ๖) อ่านให้ถูกจงั หวะ คาประพนั ธแ์ ต่ละประเภทมีจงั หวะแตกต่างกัน ต้องอ่านให้ถูกวรรคตอนตามแบบ แผนของคาประพันธ์นัน้ ๆ เช่น มุทงิ คนาฉันท์ (๒-๒-๓) “ปะ๊ โท่น / ป๊ะโทน /ป๊ะโทน่ โทน่ บรุ ุษ / สโิ อน / สะเอวไหว อนงค์ / นาเคลื่อน / เขย้ือนไป สะบัด / สไบ / วไิ ลตา” ๗) อ่านให้ถกู ทานองของคาประพันธน์ นั้ ๆ (รสทานอง) ๘) ผู้อ่านต้องใส่อารมณ์ตามรสความของบทประพันธ์นั้น ๆ รสรัก โศก ต่ืนเต้น ขบขัน โกรธ แล้วใส่ น้าเสยี งให้สอดคล้องกับรสหรอื อารมณต์ ่าง ๆ เหลา่ นัน้ ๙) อา่ นให้เสียงดงั (พอทจ่ี ะได้ยนิ กนั ทว่ั ถึง)ไมใ่ ช่ตะโกน ๑๐) เวลาอ่านอย่าใหเ้ สียงขาดเปน็ ชว่ ง ๆ ต้องให้เสยี งติดตอ่ กันตลอด เชน่ “วนั จันทร มีดารากร เป็นบรวิ าร เห็นส้ินดนิ ฟา้ ในปา่ ท่าธาร มาลีคล่บี าน ใบกา้ นอรชร” ๑๑) เวลาจบให้ทอดเสยี งชา้ ๆ ๕. ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั จากการอ่านทานองเสนาะ ๑) ชว่ ยใหผ้ ้ฟู งั เขา้ ถงึ รสและเห็นความงามของบทรอ้ ยกรองทอี่ ่าน ๒) ชว่ ยให้ผู้ฟงั ได้รับความไพเราะและเกิดความซาบซึ้ง (อาการรูส้ ึกจบั ใจอยา่ งลกึ ซ้งึ ) ๓) ชว่ ยให้เกดิ ความสนุกสนาน ความเพลดิ เพลนิ ๔) ชว่ ยใหจ้ ดจาบทร้อยกรองได้รวดเร็วและแมน่ ยา ๕) ชว่ ยกลอ่ มเกลาจิตใจให้เปน็ คนออ่ นโยนและเยือกเยน็ (ประโยชน์โดยออ้ ม) ๖) ชว่ ยสบื ทอดวฒั นธรรม ในการอา่ นทานองเสนาะไว้เปน็ มรดกตอ่ ไป

ใบความรู้ เรือ่ ง ประวตั เิ สภา ประเพณีการขบั เสภามีแต่ครัง้ กรุงเก่า แตจ่ ะมขี น้ึ เมือ่ ใดและเหตุใดจงึ เอาเร่ืองขุนช้างขุนแผนมาแต่งเป็น กลอนขบั เสภา ทง้ั ๒ ขอ้ น้ยี งั ไม่พบอธิบายปรากฏเปน็ แน่ชดั แม้แต่คาที่เรียกว่า “เสภา” คาน้ีมูลศัพท์จะเป็นภาษา ใด และแปลว่ากระไร กย็ งั สบื ไม่ไดค้ วามคา “เสภา” น้ี นอกจากนี้ที่เรียกการขบั ร้องเรอ่ื งขนุ ช้างขุนแผนอย่างเรา เข้าใจกัน มีที่ใช้อย่างอ่ืนแต่เป็นช่ือเพลงป่ีพาทย์ เรียกว่า “เสภานอก” เพลง ๑ “เสภาใน” เพลง ๑ “เสภา กลาง” เพลง ๑ ชวนใหส้ นั นษิ ฐานวา่ “เสภา” จะเป็นชอื่ ลานาท่เี อามาใชเ้ ปน็ ทานองขับเรอื่ งขุนช้างขุนแผน แต่ผู้ ชานาญดนตรีกล่าวยนื ยนั วา่ ลานาที่ขับเสภาไมไ่ ดใ้ กลก้ ับเพลงเสภาเลย ดว้ ยเหตนุ จี้ ึงเปน็ อันยงั แปลไม่ออกว่า คา ท่วี า่ “เสภา” นี้ จะแปลความหมายวา่ กระไร แตม่ ีเรอ่ื งราวทป่ี รากฏอย่ใู นหนงั สอื ต่าง ๆ บ้าง ข้าพเจ้าเคยได้สดับ คา ผู้หลักผู้ใหญ่บ้างเล่ามาบ้าง สังเกตเห็นในกระบวนกลอน และถ้อยคาท่ีปรากฏอยู่ในหนังสือเสภาบ้าง ประกอบกบั ความสันนิษฐาน เหน็ มีเค้าเงื่อนพอจะคาดคะเนตานานของเสภาเร่ืองขุนช้างขุนแผนได้อยู่ ข้าพเจ้า จะลองเก็บเนือ้ ความมารอ้ ยกรองแสดงโดยอตั โนมัติ ประกอบด้วยเหตุผลซง่ึ จะชีแ้ จงไว้ให้ปรากฏแก่ท่านทัง้ หลาย ว่าด้วยมูลเหตขุ องการขบั เสภา เดิมไม่ปรากฏแน่นอน มูลเหตุคงเน่ืองมาแต่เล่านิทานให้คนฟัง การขับเสภาก็คือการเล่านิทานน่ันเอง พอจะเห็นได้ว่ามาจากการเล่านิทานท่ีฟังกันมานานก็จะเบื่อและจืดชืด จึงมีคนคิดจะเล่าโดยแต่งเป็นกระบวน กลอน เมือ่ เป็นกลอนแล้วก็สามารถทาให้ไพเราะได้โดยนามาขับเป็นกลอนเสภา ซ่ึงเหตุผลท่ีขับแต่เร่ืองขุนช้าง ขุนแผน คงเป็นเพราะว่านิทานเร่ืองขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องท่ีนิยมแพร่หลาย ด้วยว่าเป็นเรื่องที่สนุกจับใจและ เชื่อกันว่าเปน็ เรือ่ งจริง ว่าด้วยเรือ่ งขุนชา้ งขนุ แผน เรอื่ งขุนชา้ งขุนแผนเปน็ เรอื่ งจริง ตามหนงั สือคาให้การชาวกรงุ เกา่ กลา่ ววา่ มีกษตั ริย์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระองคห์ น่งึ ทรงพระนามว่า พระพันวษา ครั้งหนึ่งเกิดสงครามกับนครเชียงใหม่ เนื่องจากพระเจ้าโพธิสารราชกุมาร เจ้าเมืองเชยี งใหม่ ไมช่ อบท่พี ระเจ้ากรงุ ศรสี ัตนาคนหุตลานช้างมาเปน็ มิตรกบั อยุธยา จงึ ยกทัพมาแย่งชิงพระธิดา แห่งลานช้างไป พระพันวษาทรงพระพิโรธ จึงมีราชโองการสั่งให้เตรียมทัพและตรัสกับพระหมื่นศรีมหาดเล็ก ให้เลือกทหารที่มีฝีมือมารบ ซึ่งในบัดนั้นผู้ที่จะเก่งกล้าเกินกว่าขุนแผนน้ันไม่มี แต่พระหม่ืนศรีมหาดเล็กทูล พระพันวษาวา่ ขุนแผนยังอยู่ในคุก พระพันวษาก็ทรงระลึกได้ถึงขุนแผน จึงทรงพระกรุณาโปรดให้ขุนแผนพ้น โทษโดยเร็ว และแต่งตั้งขุนแผนเป็นแม่ทัพออกรบ ก่อนท่ีขุนแผนจะออกรบได้แวะที่เมืองพิจิตร เพื่อรับดาบ และม้าวิเศษประจาตัวขุนแผน (ดาบฟ้าฟ้ืนและม้าสีหมอก) ท่ีฝากไว้กับพระพิจิตร และขุนแผนก็สามารถตี กองทพั เชียงใหม่จนแตกพา่ ย ในคาใหก้ ารชาวกรุงเกา่ มีเร่ืองขุนช้างขุนแผนปรากฏอยู่เท่าน้ี เห็นได้ว่าไม่ตรงกับ เรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผนท่เี ราขับเสภากนั อยู่ เพราะเร่อื งนนี้ ามาเล่าเป็นนิทานนานมาแล้วและยังแต่งเป็นกลอนเสภา อีก สันนิษฐานได้ว่าคงมีการตกแต่งเรื่องให้แปลกสนุกสนานและยาวยิ่งข้ึน ขุนช้างขุนแผนท่ีเราอ่านกันจึง คลาดเคล่ือนเร่ืองเดิมมาก ตัวอย่างเช่น ในเสภา ขุนช้างกับขุนแผนแย่งชิงนางพิมพิลาไลยกันหลายตอนและ ดุเดอื ดถงึ พรกิ ถึงขงิ มาก ซ่งึ ในความเป็นจริงแลว้ ไมม่ ีปรากฏนา่ จะเป็นเพราะมผี ู้อน่ื แตง่ เพมิ่ เตมิ ข้ึน วา่ ด้วยหนังสอื เสภาเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน การเกดิ เสภาขนุ ช้างขุนแผนน้ี เร่ิมมาจากขุนช้างขุนแผนเคยเป็นนิทานซ่ึงมีความยาวมาก ยากท่ีจะเล่า ให้จบในคราวเดียว แต่ก็มีผู้เห็นความสาคัญของกลอน อย่างเช่น ในบทอัศจรรย์ บทพ้อ บทชมโฉม บทชม สถานที่ตา่ ง ๆ ซึ่งเป็นทน่ี ยิ มของคนฟงั นทิ านในสมัยนั้น จึงมผี ูน้ าบทกลอนเหล่าน้ีมาแต่งเป็นกลอนเฉพาะตอนที่ อยากฟังและเริม่ นามาขบั เสภาตงั้ แตน่ ัน้ มา

ลักษณะเด่นของเสภาขุนช้างขุนแผนท่ีทาให้เป็นท่ีนิยมน่าจะเป็นเพราะใช้คาพูดที่หยาบโลน ท้ัง ๆ ท่ี นาไปขับในวงั ทีส่ มัยก่อนถอื เป็นสถานท่ที ี่เครง่ ครัดเร่อื งการใช้คาพดู การท่คี นในวังที่ไม่เคยได้ยินได้ฟังมาก่อนจึง ทาให้เป็นท่ีช่ืนชอบ จุดประสงค์ที่ผู้แต่งใช้คาหยาบโลนอีกอย่างน่าจะเป็นเพราะความเชื่อในเรื่องของการน้ัน จะทาให้ปศี าจไมก่ ล้ามาลกั พาตัวไป หนังสือเรื่องขุนช้างขุนแผนมีสานวนหลากหลายเนื่องจากมีผู้แต่งหลายคน ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึง กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น จึงสามารถส่ือให้เห็นความคิด ค่านิยม และวิถีชีวิตของคนไทยในสมัยน้ัน ๆ ได้ดี เสภาขุนช้างขุนแผน ตอน”พลายแก้วเป็นชู้กับนางพิม” สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า เปน็ สานวนพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย (รัชกาลที่ ๒)

ใบความรู้ เรอื่ ง การอา่ นฉนั ท์ การอ่านทานองเสนาะคาฉันท์ที่ถูกต้องไพเราะจาเป็นต้องรู้จักลักษณะบังคับทั่วไปของคาฉันท์และ ลักษณะเฉพาะของคาฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์มีลักษณะบังคับพิเศษแตกต่างกับคาประพันธ์ชนิดอ่ืน โดยบังคับ คาลหุ คาครุ แทนคาธรรมดา นอกจากน้ียังบังคับสัมผัสเช่นเดียวกับคาประพันธ์ชนิดอ่ืน ๆ การอ่านทานอง เสนาะคาฉนั ท์มหี ลกั เกณฑ์การอา่ นเหมือนกบั คาประพนั ธ์ทว่ั ไป คอื ๑. อา่ นทอดจังหวะคาแตล่ ะวรรคตามแตช่ นิดของฉันท์ ๒. อ่านออกเสยี งคาให้ถูกตอ้ งตามลกั ษณะบังคบั ลหคุ รขุ องฉันท์แตล่ ะชนดิ ๓. คาสดุ ทา้ ยวรรคทใ่ี ช้คาเสียงจัตวา ต้องอ่านให้เสียงสูงเป็นพิเศษ เพ่ือความไพเราะใช้คาเสียงจัตวา ตรงทา้ ยคาบาทแรก ๔. อินทรวิเชียรย์ฉันท์ แบ่งจังหวะการอ่านวรรคหน้า ๒ จังหวะ จังหวะ ๒ คา และจังหวะ ๓ คา วรรคหลัง ๔ จังหวะ จังหวะละ ๕ คา รอนรอน / และอ่อนแสง / นภะแดง / สแิ ปลงไป เปน็ คราม / อรา่ มใส / สภุ ะสด / พสิ ุทธสิ์ ี การอ่านคาประพันธ์ประเภทฉันท์จะแตกต่างจากคาประพันธ์ประเภทอ่ืนเนื่องจากการอ่านฉันท์ จะต้องอ่านตามฉันทลักษณ์ ครุ ลหุ ของฉันท์ แต่ละชนิด ดังเช่น อินทรวิเชียรฉันท์ข้างต้นต้องอ่านออกเสียง ดงั นี้ เสียง-เจ้า/สิ-พราก-ว่า ด-ุ ร-ิ ยาง / คะ-ดดี -ใน ฟาก-ฟ้า / ส-ุ รา-ไล สุ-ระ-สบั / ทะ-เรงิ -รม ภชุ งคประยาตฉนั ท์ ๑๒ ถลนั จ้วงทะลวงจา้ บรุ ุษนาอนงค์หนนุ บรุ ุษรกุ อนงค์รนุ ประจญรว่ มประจัญบาน ถะหลนั -จ้วง / ทะ-ลวง-จา้ บ-ุ หรุด-นา / อะนง-หนนุ บุ-หรุด-รุก / อะนง-รนุ ประ-จน-รว่ ม / ประจนั -บาน วสนั ตดลิ กฉนั ท์ ๑๔ ดลฟากทิฆัมพร ชอ่ ฟา้ กเ็ ฟ้อื ยกลจะฟัด นภศูลสรา้ งลอย ดะ-ละ-ฟาก/ทิ-คา-พอน บราลีพิไลพิศบวร นะ-พะ-สูน/สะล่าง-ลอย ช่อ-ฟ้า/ก็เฟือ้ ย/กะ-ละ-จะ-ฟดั บรา-ล/ี พิ-สะ-บะ-วอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook