46 มาตรา 15 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา 34/1 และมาตรา 34/2 แห่งพระราชบัญญัติ การ สง่ เสรมิ การอนรุ ักษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 “มาตรา 34/1การรับเงิน การจ่ายเงนิ การเก็บรักษาเงนิ การจาํ หนา่ ยทรัพย์สนิ ของกองทุนและ การบญั ชี ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการกองทนุ กําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา 34/2 ให้คณะกรรมการกองทุนจัดทํางบการเงินส่งสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ บุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการกองทุนแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นผู้สอบบัญชีของกองทุน และให้ทําการตรวจสอบและรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภทของ กองทุนภายในเก้าสิบวนั นบั แตว่ ันสิ้นปงี บประมาณทุกปี ให้สํานกั งานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีตามวรรคหนึ่งจัดทํารายงานผลการสอบ และ รับรองบัญชีและการเงินของกองทุนเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่ วัน สิ้นปีงบประมาณเพื่อเสนอตอ่ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหง่ ชาตแิ ละคณะรฐั มนตรีเพอื่ ทราบ รายงานผลการสอบบัญชีและการเงินตามวรรคสอง ให้รัฐมนตรีเสนอต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อ นาํ เสนอตอ่ รัฐสภาเพ่อื ทราบและจัดใหม้ ีการประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา” มาตรา 16 ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา 38 แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารส่งเสรมิ การอนุรักษพ์ ลังงาน พ.ศ. 2535 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน “มาตรา 38 ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ส่งเงินเข้ากองทุนตามมาตรา 35 มาตรา 36 หรือมาตรา 3) ไม่ ส่งเงินเขา้ กองทุนหรือสง่ เงนิ เขา้ กองทนุ ไมค่ รบตามจาํ นวนที่ต้องส่งกองทุนภายในเวลาทก่ี ําหนดแก่ กรม สรรพสามิตสําหรับผู้ผลิตน้ํามันเชื้อเพลิง ณ โรงกลั่นและจําหน่ายเพื่อใช้ในราชอาณาจักร หรื อ กรม ศุลกากรสําหรับผู้นําเข้านํ้ามันเช้ือเพลิง หรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติสาํ หรบั ผูท้ ่ีซื้อหรือได้มาซ่ึงก๊าซ จาก ผู้รับสัมปทานตามกฎหมายว่าด้วยการปิโตรเลียมให้กรมสรรพสามิต หรือกรมศุลกากร หรือกรม เช้อื เพลงิ ธรรมชาติ แลว้ แต่กรณี ดําเนนิ คดีตามมาตรา 58 โดยเรว็ เว้นแตใ่ นกรณีดังตอ่ ไปน้ี (1) ในกรณีที่ผู้นั้นเห็นเองว่าตนมีกรณีดังกล่าว ให้ผู้นั้นส่งเงินตามจํานวนที่ต้องส่งหรือ ตาม จํานวนที่ขาด พร้อมทั้งเงินเพิ่มในอัตราร้อยละสามต่อเดือนของจํานวนเงินดังกล่าวนับแต่วันที่ครบ กําหนด ส่งเงินเข้ากองทุนจนกว่าจะครบแก่กรมสรรพสามิต กรมศุลกากรหรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ แลว้ แตก่ รณี (2) ในกรณีที่กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร หรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ แล้วแต่กรณี ตรวจ พบว่า มีกรณีดังกล่าว และแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้มีหน้าที่ส่งเงินเข้ากองทุนส่งเงินเข้ากองทุนภายใน ระยะเวลาที่กําหนด และผู้นั้นได้ส่งเงินตามจํานวนที่ต้องส่งหรือตามจํานวนที่ขาด พร้อมทั้งเงินเพิ่มใน อัตรารอ้ ยละหกต่อเดือน ของจํานวนเงนิ ดังกล่าวนบั แตว่ ันท่คี รบกาํ หนดสง่ เงนิ เข้ากองทนุ จนกวา่ จะครบ แก่กรมสรรพสามติ กรมศลุ กากร หรอื กรมเชื้อเพลงิ ธรรมชาติ แลว้ แต่กรณี ภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนด
47 เมือ่ ผู้มหี น้าท่ีส่งเงนิ เขา้ กองทนุ ได้ดาํ เนนิ การตามทกี่ าํ หนดไว้ใน (1) หรือ (2) ผนู้ ั้นไมม่ ีความผิด ให้ถือว่าเงินเพิ่มเป็นเงินที่ต้องส่งเข้ากองทุนด้วย และในการคํานวณระยะเวลาเพื่อการคํานวณ เงนิ เพมิ่ ตาม (1) หรอื (2) นนั้ หากมีเศษของเดอื นให้นับเป็นหน่งึ เดือน” มาตรา 17 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริม การ อนรุ ักษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแี้ ทน “มาตรา 42 เมื่อพ้นกําหนดสามปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 9 (1) หรือ มาตรา 21 (1) ใช้บังคับ ในกรณีที่เป็นโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมก่อนหรือในวันท่ี กฎกระทรวงดังกล่าว ใช้บังคับ หรือนับแต่วันที่เป็นโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมในกรณีเป็นโรงงาน ควบคุมหรืออาคาร ควบคุมหลังวันที่กฎกระทรวงดังกล่าวใช้บังคับ ถ้าเจ้าของโรงงานควบคุม หรือ เจ้าของอาคารควบคุม ผู้ใดไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎกระทรวงดังกลา่ ว ต้องชําระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า ตามหมวดนี้” มาตรา 18 ให้ยกเลิกความในมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน “มาตรา 46 เมื่อโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมที่ต้องชําระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟา้ ได้ ปฏิบัติตามกฎกระทรวงทอี่ อกตามมาตรา 9 (1) หรือมาตรา 21 (1) แลว้ ใหแ้ จง้ ใหอ้ ธบิ ดที ราบ ให้อธิบดีดําเนินการตรวจสอบให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งว่าโรงงาน ควบคุม หรอื อาคารควบคมุ ดงั กลา่ วได้ปฏบิ ัตติ ามกฎกระทรวงท่อี อกตามมาตรา 9 (1) หรอื มาตรา 21 (1) หรือไม่ ในกรณีที่ได้มีการปฏิบัติตามกฎกระทรวงดังกล่าวแล้ว ให้อธิบดีมีคําสั่งยุติการเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษ การใช้ไฟฟา้ และมหี นงั สอื แจ้งให้โรงงานควบคมุ หรืออาคารควบคมุ ทราบ คําสั่งยุติการเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้าตามวรรคสอง ให้มีผลใชบ้ ังคับตั้งแต่วันที่ หน่งึ ของเดือนถัดไป” มาตรา 19 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (3) ของมาตรา 47 แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริม การ อนรุ กั ษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 (3) ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน การใช้พลังงานในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ และ คุณภาพวัสดหุ รอื อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษพ์ ลังงาน ให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัติน้ี” มาตรา 20 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา 48/1 มาตรา 48/2 มาตรา 48/30 และ มาตรา 48/4 แห่งพระราชบัญญัตกิ ารสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน พ.ศ. 2535 “มาตรา 48/1 ในกรณีที่จะต้องมีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานการใช้พลังงาน ในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรา 42 (3) อธบิ ดีอาจอนญุ าตให้บุคคลหรือนติ ิบุคคลเปน็ ผดู้ ําเนนิ การแทนพนักงานเจ้าหนา้ ท่ไี ด้
48 การกําหนดคุณสมบัติ การขอรับใบอนุญาต การอนุญาต และการต่ออายุใบอนุญาตของบุคคล หรอื นิติบคุ คลตามวรรคหนึ่ง ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเง่อื นไขที่กาํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา 48/2 ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 48/1 ผู้ใดรายงานผลการตรวจสอบและรับรอง ตาม มาตรา 47 (3) อนั เปน็ เทจ็ หรอื ไม่ตรงตามความเป็นจริงและศาลไดม้ คี าํ พิพากษาถงึ ที่สุดให้ ลงโทษตาม มาตรา 56 แหง่ พระราชบัญญตั ินแ้ี ลว้ ใหอ้ ธบิ ดสี ง่ั เพิกถอนใบอนญุ าต มาตรา 48/3 กรณีที่ผู้รับอนุญาตตามมาตรา 48/1 ถูกฟ้องต่อศาลว่าได้กระทําความผิดตาม มาตรา 56 แหง่ พระราชบญั ญตั นิ ้ี ให้อธบิ ดมี อี าํ นาจสั่งพกั ใช้ใบอนุญาตไวร้ อคาํ พพิ ากษาถงึ ท่ีสุดกไ็ ด้ หา้ มมิให้ผรู้ ับอนุญาตที่ถกู ส่ังพกั ใชใ้ บอนุญาตประกอบกจิ การตามใบอนุญาตน้นั มาตรา 48/4 ผรู้ บั ใบอนญุ าตซึ่งถกู พักใชใ้ บอนุญาต มีสทิ ธิอุทธรณต์ อ่ รัฐมนตรีภายใน สามสบิ วัน นับแตว่ ันที่ไดร้ บั ทราบคาํ ส่งั คาํ ส่งั ของรัฐมนตรีให้เปน็ ทส่ี ดุ การอุทธรณ์คําสั่งรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคําสั่งพักใช้ ใบอนุญาต” มาตรา 21 ให้ยกเลิกความในมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และให้ใชค้ วามต่อไปนี้แทน “มาตรา 55 เจ้าของโรงงานควบคุม เจ้าของอาคารควบคุม หรือผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ผู้ใด ไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 9 หรือมาตรา 21 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สอง แสนบาท” มาตรา 22 ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา 56 แห่งพระราชบญั ญตั กิ ารสง่ เสรมิ การอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน “มาตรา 56 ผู้รับใบอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน การใช้พลังงานใน เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรา 48/1 ผู้ใด รายงานผลการ ตรวจสอบและรับรองตามมาตรา 47 (3) อันเป็นเท็จหรอื ไม่ตรงตามความเปน็ จริง ต้อง ระวางโทษจาํ คุก ไมเ่ กินสามเดือน หรอื ปรับไม่เกนิ สองแสนบาทหรือทั้งจาํ ท้งั ปรับ” มาตรา 23 ใหย้ กเลกิ มาตรา 57 แหง่ พระราชบัญญัตกิ ารส่งเสริมการอนรุ ักษพ์ ลังงาน พ.ศ. 2535 ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยทุ ธ์ จลุ านนท์ นายกรัฐมนตรี
49 หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติการส่งเสริมการ อนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 มีบทบัญญัติบางประการ ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน สมควร แก้ไขเพิ่มเติม บทบัญญัติดงั กล่าวเพื่อใหส้ ามารถกํากบั และสง่ เสรมิ การใช้พลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน ให้มีประสิทธิภาพ และสามารถปรับเปลี่ยนแนวทางการอนุรักษ์พลังงานให้ทันต่อเทคโนโลยี กําหนด มาตรฐานด้านประสิทธิภาพ ของการผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ์ การเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ตลอดจนการมอบหมายให้บุคคลหรือนิติบุคคลตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานการใช้พลงั งาน ในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณเ์ พ่อื การอนุรักษ์พลังงานแทนพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม จึง จาํ เป็นต้องตราพระราชบญั ญตั นิ ี้
50 ตอนที่ 3 การจัดการพลงั งาน สำหรับควบคมุ โรงงาน หรืออาคาร บทนํา การจัดการพลังงาน 1. วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดการพลงั งาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ได้เล็กเห็นถึง ประโยชน์ของการจดั การพลงั งานท่จี ะเกิดขน้ึ กับองค์กร กลา่ วคือ การใชพ้ ลงั งานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เป็น รูปธรรมและเป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง ดังนั้น จึงมีนโยบายให้โรงงานควบคุมและอาคารควบคุมดำเนินการจัดการพลังงานขึ้นภายในองค์กร ทั้งนี้ เพื่อให้โรงงานควบคุมและอาคารควบคุม มีการใช้พลังงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็นไปได้อย่าง ตอ่ เนื่อง 2. ขัน้ ตอนการจดั การพลงั งาน จากข้อกําหนดตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารจดั การพลังงานใน โรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2535 (รายละเอยี ดศกึ ษาได้จากภาคผนวก ก) ซึ่งกาํ หนดให้โรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุม จำเป็นตอ้ งเรม่ิ ให้มีวิธกี ารจดั การพลังงานเพ่ือใหเ้ กิดการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยวธิ ีการจัดการพลงั งานนน้ั ต้องมีการปฏบิ ตั อิ ย่างเป็นขนั้ ตอน รวมท้ังมกี ารวาง แผนการดำเนนิ การท่ีดแี ละเหมาะสมกบั องค์กร เพื่อให้บรรลตุ ามเป่าหมายของการจดั การพลังงาน การ ดำเนินการสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 8 ขน้ั ตอน ดงั นี้ (1) การแต่งตั้งคณะทำงานดา้ นการจัดการพลงั งาน (2) การประเมนิ สถานภาพการจัดการพลงั งานเบ้ืองต้น (3) การกำหนดนโยบายอนรุ ักษ์พลงั งาน (4) การประเมนิ ศักยภาพการอนุรกั ษ์พลังงาน (5) การกำหนดเปา่ หมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลังงาน (6) การดำเนนิ การตามแผนอนรุ ักษLพลังงาน และการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัตติ าม เปา่ หมายและแผนอนรุ ักษพ์ ลังงาน (7) การตรวจตดิ ตามและประเมินการจดั การพลงั งาน (8) การทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร้องของการจัดการพลงั งาน ทง้ั น้ี โดยรายละเอียดของการดำเนนิ การในบางขั้นตอน ได้แก่ ข้ันตอนในข้อ (4) ข้อ (5) ข้อ (6) ข้อ(7) และข้อ
51 คาํ นยิ าม การจดั การพลงั งาน หมายถงึ ระบบการดาํ เนินงานภายในองคLกรซง่ึ ประกอบด้วย บคุ ลากร ทรัพยากร นโยบาย และขน้ั ตอนการดำเนนิ การ โดยมกี ารทำงานประสานกนั อย่างมี ระเบียบและแบบ แผน เพ่ือปฏบิ ตั ิงานท่กี ำหนดไว้ หรอื เพื่อใหบ้ รรลุ หรอื รกั ษาเปา่ หมายทกี่ ำหนดไว้ การใชพ้ ลงั งานทม่ี นี ัยสําคญั หมายถงึ การใชพ้ ลงั งานในสัดสว่ นที่สงู เมื่อเปรียบเทยี บการใชพ้ ลงั งาน โดยรวม และสามารถแสดงศกั ยภาพในการอนรุ กั ษ์พลังงาน องคก์ ร หมายรวมถึงโรงงานควบคุมหรอื อาคารควบคมุ คณะทำงานดา้ นการจดั การพลังงาน หมายถงึ กลุ่มบุคคลทไ่ี ดร้ ับการแต่งต้งั จากเจา้ ของ โรงงานควบคมุ หรอื เจา้ ของอาคารควบคุม มีหน้าทร่ี ับผดิ ชอบเก่ยี วกบั การดำเนนิ การด้าน ต่างๆ ที่ เก่ยี วกบั การจดั การพลังงานท้ังหมด ผตู้ รวจสอบพลงั งาน หมายถึง ผมู้ ีอำนาจในการตรวจสอบและรบั รองการจดั การพลังงาน แทนพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีซ่ึงขนึ้ ทะเบียนกบั พพ. ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสรมิ การ อนรุ กั ษพ์ ลังงาน พนักงานเจา้ หนา้ ที่ หมายถงึ ผซู้ ง่ึ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงพลงั งานแตง่ ตัง้ ใหป้ ฏบิ ตั ติ าม กฎหมายวา่ ด้วยการสง่ เสริมการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน
52 ขั้นตอนที่ 1 คณะทำงานดา้ นการจัดการพลังงาน 1.1 ขอ้ กําหนด “ข้อ 5 เจ้าของโรงงานควบคุมและเจา้ ของอาคารควบคุมต้องจดั ให้มีคณะทำงานด้านการจัด การพลังงาน รวมทั้งกำหนดโครงสรา้ ง อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะทำงานด้านการจัด การพลังงาน โดยจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่ใหบ้ ุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมทราบ อำนาจหน้าที่ของคณะทำงานด้านการจัดการพลงั งานอยา่ งน้อยต้องมีดังต่อไปน้ี (1) ดำเนนิ การจัดการพลังงานให้สอดคล้องกบั นโยบายอนรุ ักษ์พลงั งานและวิธกี ารจัด การพลังงานของโรงงานควบคุมหรอื อาคารควบคุม (2) ประสานงานกบั หน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องเพ่ือขอความรวมมือในการปฏบิ ตั ิการตามนโยบาย อนรุ ักษ์พลังงานและวิธีการจดั การพลงั งาน รวมทั้งจัดการฝึกอบรมหรือกจิ กรรมเพื่อสรา้ งจิตสาํ นกึ ของ บคุ ลากรของโรงงานควบคมุ หรืออาคาร ควบคมุ (3) ควบคุมดูแลให้การจดั การพลังงานของโรงงานควบคมุ หรอื อาคารควบคุมเปน็ ไปตามนโยบาย อนรุ กั ษ์พลงั งานและวิธีการจดั การพลังงาน (4) รายงานผลการอนรุ กั ษแ์ ละการจัดการพลังงานตามนโยบายอนรุ กั ษ์พลังงานและวิธีการจัด การพลังงานของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคมุ ใหเ้ จ้าของโรงงานควบคุมหรือเจา้ ของอาคาร ควบคมุ ทราบ (5) เสนอแนะเก่ียวกบั การกำหนดหรือทบทวนนโยบายอนุรกั ษ์พลังงานและวิธีการจัด การพลังงานใหเ้ จา้ ของโรงงานควบคุมหรือเจา้ ของอาคารควบคมุ พิจารณา (6) สนับสนนุ เจ้าของโรงงานควบคุมหรอื เจา้ ของอาคารควบคุมในการดำเนนิ การตาม กฎกระทรวงนี้” (ทม่ี า: กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑLและวธิ ีการจดั การพลงั งานในโรงงานควบคุมและอาคาร ควบคุม พ.ศ. 2552)
53 1.2 ข้อเสนอแนะการปฏบิ ัติตามขอ้ กำหนด ความสำเร็จของการพัฒนาและนําวิธีการจัดการพลังงานมาใช้ภายในองค์กรที่สำคัญที่สุด คือ การมี คณะทำงานที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม ดังนั้นเจ้าของโรงงานควบคุมและเจา้ ของอาคารควบคุม ต้อง จัดให้มีคณะทำงานด้านการจัดการพลังงานขึ้น เพื่อทำหน้าควบคุมดูแล ดำเนินการ ประสานงาน และ รายงานผลการจัดการพลังงานในองค์กร ตลอดจนตรวจติดตามและทบทวนการดำเนินการจัด การพลังงาน ให้เป็นไปตามนโยบายอนุรักษ์พลังงานที่องค์กรได้กำหนดขึ้น โดยคณะทำงานด้าน การพลังงานทจี่ ัดตง้ั ข้นึ นนั้ อาจอยใู่ นรปู ของ คณะกรรมการหรือคณะทำงาน (ในคู่มือนี้จะอ้างอิงคํา ว่า “คณะทำงาน” แทน “คณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน ซึ่งขึ้นตรงต่อเจ้าของโรงงานควบคุม หรือ เจ้าของอาคารควบคุม ทั้งนี้ ต้องมีคำสั่งประกาศแต่งตั้งคณะทำงาน พร้อมทั้งระบุ อำนาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของคณะทำงานให้ ชัดเจน และต้องเผยแพร่คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานให้แก่ พนักงาน ทุกคนในองค์กรรับทราบอย่างทั่วถึงเพื่อให้ เกิดความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม ต่างๆ ที่เกย่ี วกบั การจดั การพลังงาน (1) เริ่มจากเจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมกําหนดให้มีคณะทำงานด้านการจัด การพลงั งานและควรให้เปน็ สว่ นหน่งึ ของโครงสร้างองคก์ ร (2) เนื่องจากการจัดให้มีการจัดการพลังงานขึ้นภายในองค์กรนั้น มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ พลังงานอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ดังนั้น วิธีการ จัดการพลังงานจึงอาจแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะการพัฒนาวิธกี ารจัดการพลังงาน (ระยะ เร่มิ แรก) และระยะบรหิ ารวิธกี ารจัดการพลังงาน ทง้ั นีค้ ณะทํางานทจี่ ัดตัง้ ขึ้นมานน้ั ต้องมคี วาม เหมาะสมกับระยะการดาํ เนนิ การดว้ ย (2.1) ระยะการพฒั นาวิธีการจัดการพลงั งาน โดยทั่วไปคณะทาํ งานทีจ่ ดั ตงั้ ข้นึ ควรประกอบดว้ ย ก. หัวหน้าคณะทํางาน 1 ตําแหน่ง: มาจากตัวแทนผู้บริหารระดับสูง ที่มี ความสามารถในการ ดําเนนิ การประชมุ มีความเข้าใจในวธิ ีการจัดการพลงั งาน และเปน็ ท่ียอมรับภายในองค์กร ข. เลขานุการ 1 ตําแหน่ง: เป็นผู้ที่มีความรู้ด้านพลังงานและดําเนินกิจกรรมด้านพลังงานและควรเป็น ผรู้ ับผิดชอบดา้ นพลงั งานในองค์กร ค. สมาชิก 3-5 ตําแหน่ง: มาจากตัวแทนแผนกหรือหน่วยงานที่สําคัญ เช่น วิศวกรกระบวนการผลิต วิศวกรไฟฟ้า หรือ ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบ สาธารณูปโภค เช่น ระบบไอน้ํา ระบบเคร่ืองปรับอากาศ เป็นต้น (ในบางกรณี องค์กรอาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารสํานักงานหรือเจ้ าหน้าที่ด้าน ประชาสัมพนั ธ์ เพือ่ ชว่ ยงานในด้านเอกสารการประชาสมั พันธ์และการกระจายขอ้ มลู ข่าวสาร หรือ อาจ แตง่ ตงั้ เจ้าหนา้ ที่ฝ่ายการเงินและบัญชีด้วยกไ็ ด้ เพื่อพจิ ารณาสนับสนุนด้านงบประมาณ)
54 (2.2) ระยะการบริหารวิธีการจัดการพลังงาน การกําหนดโครงสร้างและบุคลากรที่เหมาะสมมี ความสําคัญอย่างยิ่งในระยะยาว โดยต้องกําหนดให้เหมาะสมกับ วัฒนธรรมองค์กรนั้นๆ ดังนั้นองค์กร อาจทําการประเมนิ วฒั นธรรมองค์กร ซ่งึ สามารถใช้วธิ ีประเมินอย่างงา่ ย ๆ ได้โดยการตอบคําถาม 2 ข้อ คือ ก. องค์กรของท่านยอมรับความเสี่ยงและความไม่แน่นอน (uncertainty) ได้ในระดับใด (คําตอบ คือ องค์กร ยอมรับได้สงู หรือตํ่า) ข. องค์กรของท่านมีการมอง/วางแผนงานอย่างไร คําตอบ คอื องคก์ รมกี ารวางแผนระยะ ส้ันหรือ ระยะยาว) เมอ่ื ได้คําตอบเป็นท่เี รียบร้อยแล้ว องค์กรสามารถประเมินวฒั นธรรมขององค์กรได้โดยการ เปรยี บเทียบกบั รายละเอยี ดของแตล่ ะวัฒนธรรมองคก์ ร (3) เจ้าของโรงงานควบคุมและเจา้ ของอาคารควบคุมต้องจดั ทำหนงั สือแต่งตั้งคณะทำงาน และกําหนดอํานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะทํางานอย่างชัดเจน พร้อมลงลายมือชื่อ เจ้าของ โรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุม หรือผู้บริหารระดับสูง อํานาจหน้าที่ของคณะทํางานต้องกําหนดให้ สอดคลอ้ งกับกฎกระทรวง โดยอยา่ งนอ้ ยต้องมสี าระ ดงั นี้ ก. ดําเนินการจัดการพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบายอนุรักษ์พลังงานของโรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคมุ ทก่ี าํ หนดขนึ้ ข. ประสานงานกับหน่วยงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือในการปฏิบัติ ตามนโยบาย อนุรักษ์พลังงานและวิธีการจัดการพลังงานรวมทั้งจัดการอบรมหรือกิจกรรมด้านการ อนุรักษ์พลังงานให้ เหมาะสมกบั พนักงานในแตล่ ะหนว่ ยงาน ค. ควบคุมดูแลให้วิธีการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมดําเนินไป อย่างมี ประสทิ ธิภาพ โดยกาํ หนดใหม้ ีการดาํ เนนิ การดงั นี้ - รวบรวมข้อมูลการใช้พลังงานที่ผ่านมาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ ภายในโรงงานควบคุม หรือ อาคารควบคุม - ตรวจสอบสถานภาพการใชพ้ ลงั งานในปจั จุบนั ของหนว่ ยงานตา่ งๆ - ตรวจสอบผลการดําเนินงานและการจัดการพลังงานของหน่วยงานต่างๆ จากรายงานผลการ ดาํ เนินงานทีห่ นว่ ยงานแตล่ ะหน่วยได้จัดทําข้ึน ง. รายงานผลการดําเนินงานใหก้ บั เจ้าของโรงงานควบคมุ หรอื เจา้ ของอาคารควบคุมรบั ทราบ จ. ทบทวนนโยบายอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานอย่างสม่ําเสมอ พร้อมทั้ง รวบรวม ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายและวิธีการจัดการพลังงานให้เจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุม หรือ ผบู้ รหิ ารระดับสงู รบั ทราบ ฉ. ดาํ เนินการดา้ นอืน่ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย (4) เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมต้องประกาศคําสั่งแต่งตง้ั คณะทาํ งาน ให้ พนักงานทุกคน ในองค์กรรับทราบ และมีส่วนร่วมในการดําเนินการ ทั้งนี้ให้สื่อสาร หรือ เผยแพร่ คําสั่งแต่งตั้งโดย การติด ประกาศหรือจัดทําเป็นหนังสือเวียนหรือวิธีการอื่น ที่เหมาะสมกับองค์กร (ดู ตัวอย่างคําสั่งแต่งต้ัง คณะทํางานด้านการจัดการพลงั งาน)
55 1.3 หนา้ ทขี่ องบุคคลท่ีเกยี่ วข้อง หนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบของบคุ คลตา่ งๆ ที่มีตอ่ การจดั ตั้งคณะทาํ งานด้านการจดั การพลังงาน หน้าที่ของ เจา้ ของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคมุ 1. แตง่ ต้ังคณะทํางาน และลงนามคําสง่ั 2. กาํ หนดอาํ นาจ หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบของคณะทํางาน 3. จดั ใหม้ ีการเผยแพรค่ ําส่ังแตง่ ตง้ั คณะทํางาน 4. รบั ทราบและตดิ ตามการทํางานของคณะทํางาน พร้อมทง้ั ให้การสนับสนุนการดาํ เนินงาน เช่น บคุ ลากร งบประมาณ เปน็ ตน้ หนา้ ที่ของคณะทาํ งาน 1. ดําเนนิ การจดั การพลังงานให้สอดคล้องกบั นโยบายอนรุ ักษพ์ ลังงานและวธิ กี ารจดั การพลังงาน 2. ประสานงานกับหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องเพื่อขอความรว่ มมือในการปฏบิ ตั ิใหเ้ ป็นไปตามนโยบาย อนรุ ักษ์ พลังงานและวธิ กี ารจัดการพลังงาน 3. จดั ใหม้ ีการฝกึ อบรมหรือกิจกรรมส่งเสริมการอนุรกั ษพ์ ลังงานใหแ้ ก่พนักงาน 4. ควบคุมดูแลใหก้ ารจดั การพลงั งานเป็นไปตามนโยบายอนุรกั ษ์พลงั งานและวิธีการจดั การพลังงาน 5.รายงานผลการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานและการจดั การพลงั งานใหเ้ จา้ ของโรงงานควบคุมและเจา้ ของ อาคารควบคมุ ทราบ 6. เสนอแนะการกาํ หนดหรือทบทวนนโยบายอนรุ กั ษ์พลงั งานและวธิ กี ารจดั การพลงั งานให้เจ้าของ โรงงาน ควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคุมพจิ ารณา 7. สนบั สนนุ เจ้าของโรงงานควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคมุ ในการดําเนินการตามกฎกระทรวง กาํ หนด มาตรฐาน หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมพ.ศ. 2552 หน้าทขี่ องพนกั งาน 1. รบั ทราบคาํ สง่ั แตง่ ตั้งคณะทํางาน และอํานาจหน้าที่ของคณะทํางาน 2. ใหค้ วามรว่ มมือในการดําเนนิ การจดั การพลงั งานในหนว่ ยงานของตนอยา่ งเตม็ ที่ รวมทง้ั ให้ ข้อเสนอแนะ และความคดิ เหน็ ต่อการดาํ เนินการจดั การพลังงานของคณะทาํ งาน
56 ขน้ั ตอนที่ 2 การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบ้ืองต้น 2.1 ข้อกาํ หนด “ข้อ 3 วรรคสอง ในกรณที ีเ่ ป็นการนําวิธีการจัดการพลงั งานตามกฎกระทรวงนม้ี าใชเ้ ปน็ คร้ัง แรกให้ เจา้ ของโรงงานควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคุมประเมินสถานภาพการจัดการพลังงาน เบอ้ื งตน้ โดยพิจารณา จากการดาํ เนินงานดา้ นพลังงานทีผ่ า่ นมา ก่อนการกาํ หนดนโยบายอนุรักษ์ พลงั งาน” (ที่มา: กฎกระทรวง กาํ หนดมาตรฐาน หลกั เกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงาน ควบคมุ และ อาคารควบคมุ พ.ศ. 2552) 2.2 ข้อเสนอแนะการปฏิบตั ิตามข้อกําหนด โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมที่เริ่มนําวิธีการจัดการพลังงานเข้ามาใช้ในองค์กรขึ้นเปน็ ครั้ง แรก นั้น อาจจะไม่ทราบถึงสถานภาพของการจัดการพลังงานที่เป็นอยู่ของตนเอง เจ้าของโรงงาน ควบคุมและ เจา้ ของอาคารควบคุมจงึ ต้องจัดให้มีการประเมินสถานภาพการจดั การพลงั งานภายใน องค์กร เบอ้ื งต้น สาํ หรบั ใชใ้ นการประเมนิ เปรยี บเทียบเพื่อทาํ ใหท้ ราบถึง การจัดการด้านพลังงานขององค์กร ใน ปัจจุบันว่า มีจุดอ่อนหรือจุดแข็งในด้านใด และนําข้อมูล ท่ี ได้มาใช้เป็นแนวทางในการกําหนดนโยบาย อนรุ กั ษ์พลงั งาน รวมทง้ั ทิศทางและแผนดําเนนิ การจัดการพลังงาน ภายในองค์กรต่อไป ในการประเมิน สถานภาพการจัดการพลังงานควรเริ่มประเมินจาก หน่วยงานย่อยตาม โครงสร้างของโรงงานควบคุมหรือ อาคารควบคุมก่อน แล้วจึงนําผลการประเมินมา ประเมินเป็นภาพรวมของ โรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุมอีกครั้ง ในการประเมินสถานภาพเบื้องต้นขององค์กร คณะทํางาน ต้อง ดําเนินการโดยใชต้ าราง ประเมนิ การ จดั การดา้ นพลังงาน (Energy Management Matrix : EMM) ดังตาราง ที่ 2.1 ในการประเมิน สถานภาพการจัดการพลังงานขององค์กร จะพิจารณาองค์ประกอบที่สําคัญต่าง ๆ 6 ส่วน คือ นโยบาย การจัดองค์กร การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ ระบบข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และ การลงทนุ โดยแตล่ ะองคป์ ระกอบจะมีคะแนนระหว่าง 0-4 คะแนน คณะทํางาน จะต้องทําการประเมินองค์กรในแต่ละส่วน อย่างเป็นกลาง เพื่อให้ทราบถึงสถานภาพการจัด การพลังงานท่ีเป็นจรงิ ในปัจจุบัน จากน้นั จงึ ทําการกําหนดเป้าหมายในแต่ละองค์ประกอบเพ่ือกําหนด ทิศทาง ของนโยบายอนรุ กั ษ์พลังงานต่อไป การทบทวนสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้นนี้ จะใช้เฉพาะเมื่อมีการนําวธิ ีการนีม้ าใช้ เป็น คร้ัง แรกเท่านั้น เมื่อระบบการจัดการพลังงานดําเนินการไปได้ครบถ้วนตามข้อกําหนดแล้ว ผลจากการ ทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน (บทที่ 8) จะนําไปใช้ในการทบทวน นโยบายและ พิจารณาปรับปรงุ วธิ ีการจดั การพลังงานในรอบต่อไป อยา่ งไรกต็ าม ในกรณที ่มี ีการกําหนดนโยบายอนรุ ักษพ์ ลงั งานไปแล้วประมาณ 3-5 ปี เจ้าของ โรงงาน ควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมควรทําการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานภายใน องค์กร ของตน เพื่อให้ได้ทราบสถานภาพการจัดการพลังงานที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ใกล้เคียงกับความ เป็นจริงมาก ยิ่งขึน้
57 ตวั อย่างการประเมนิ สถานภาพการจัดการพลงั งานเบ้อื งตน้ การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานของโรงงาน ตัวอย่างโดยการใช้ตารางประเมินการ จัดการ ด้านพลังงาน อาจ เริ่มจากการตั้งคําถามเพื่อประเมินการจัดการพลังงานในปัจจุบัน ขององค์กร ตาม องค์ประกอบของการจดั การพลังงานทงั้ 6 ส่วน เมอ่ื ได้คะแนน จากการประเมนิ จากคาํ ถามในทุกองคป์ ระกอบ แล้ว ให้ทําการลากเส้นเชื่อมต่อ ระหว่างจุดตาม คะแนนที่ได้ และทําการวิเคราะห์การจัด การพลังงานของ โรงงาน โดยเปรียบเทียบรูปร่างของลักษณะ เส้นที่ได้จากการประเมินกับรูปร่างของเส้นแบบต่างๆ เพื่อแปลความหมาย หากลักษณะเส้นที่ได้ไม่ตรงกับ รปู แบบทก่ี ําหนดไว้ กใ็ หใ้ ช้รปู รา่ งของเส้นทมี่ คี วามใกล้เคียงกนั มาก ที่สดุ สมมติรูปร่างของเส้นที่ได้จากการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้นของโรงงาน ตัวอย่าง เป็นดัง รปู ที่ 2.2 ลักษณะเสน้ ทไ่ี ด้จะอยู่ในแบบ U-Shaped ซ่ึงอาจวิเคราะห์ไดว้ า่ โรงงานมีความ คาดหวังสูงต่อการจัด การพลังงานภายในองค์กร เน่อื งจากมกี ารกําหนดนโยบายการจัดการพลังงาน อย่าง เป็นทางการ รวมทง้ั ได้รับ การสนับสนุน จากผู้บริหารระดับสูงทั้งทางด้านเงินลงทุนและ ทรัพยากรในด้าน ต่างๆ (ได้คะแนนประเมิน สูงสุด 4 คะแนน ในองค์ประกอบที่ 1 และ 6) แต่การ ดําเนินการด้านการจัดการพลังงานในด้านต่างๆ ยังไม่ เป็นตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประสานงานและความ ร่วมมือระหว่างผู้รับผิดชอบด้าน พลังงานกับพนักงานทุกคน (ผู้ใช้พลังงาน) ในองค์กร (ได้คะแนนประเมิน ตําสุด 1 คะแนน) จากการวิเคราะห์ ผลการประเมินสถานภาพการจัด การพลังงานเบื้องต้นทําให้ทราบว่านโยบาย อนุรักษ์พลังงานที่จะจัดทําข้ึน ของโรงงานตัวอย่าง จําเป็นต้องมุ่งเน้นในการจัดโครงสร้างขององค์กรให้ให้ สอดคล้องกับการดําเนินงานด้าน การจัดการพลังงาน โดยต้องกําหนดให้มีการจัดตั้งคณะทํางานเข้ามา รับผิดชอบในการจัดการพลังงานของ องค์กรอย่างเป็นทางการ รวมทั้งกําหนดอํานาจและหน้าที่ของ คณะทํางานดังกล่าวอย่างชัดเจน นอกจากน้ี นโยบายอนุรักษ์พลังงานที่จัดทําขึ้นจําเป็นต้องระบุให้มีการ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารอย่าง สม่ําเสมอ เพื่อเป็นการกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้กับ พนักงานทุกคนในองค์กร รับทราบ และเพื่อนําไปสู่ ความร่วมมือและประสานงานในการดําเนินงานด้าน การจัดการพลังงาน รวมถึงกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ พลังงานตา่ ง ๆ ที่จัดขน้ึ
58 2.3 หน้าทข่ี องบคุ คลทเ่ี กยี่ วข้อง หน้าที่ และความรับผิดชอบของบคุ คลตา่ งๆ ท่ีมีต่อการประเมินสถานภาพการจดั การพลงั งานเบือ้ งต้น หนา้ ที่ของเจา้ ของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคมุ กาํ กับ ดแู ล และใหค้ าํ แนะนําการประเมินสถานการจัดการพลังงานเบื้องตน้ และใหก้ าร สนับสนุน ทรัพยากรทัง้ งบประมาณและกําลังคนที่จาํ เปน็ ตอ่ การดาํ เนินการ หนา้ ทข่ี องคณะทํางาน 1. ประเมนิ สถานภาพการจดั การพลังงานโดยใช้ตารางประเมนิ สถานภาพการจดั การด้าน พลงั งาน 2. วิเคราะหผ์ ลการประเมินเพ่ือเป็นแนวทางในการกําหนดนโยบายและทิศทางการจัด การพลังงาน หนา้ ท่ขี องพนักงาน 1. ให้ความรว่ มมือในการดาํ เนนิ การใดๆ ที่เก่ียวข้องกับการประเมินสถานภาพการจดั การพลงั งาน 2. ใหข้ ้อเสนอแนะและความคิดเหน็ ในข้นั ตอนการประเมนิ สถานภาพการจดั การด้านพลงั งาน
59 ขัน้ ตอนที่ 3 นโยบายอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 3.1 ข้อกาํ หนด ข้อ 4 ในการจัดทํานโยบายอนุรักษ์พลังงานเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม อาจต้ัง คณะทํางานเพือ่ ช่วยจัดทํานโยบายอนรุ ักษ์พลงั งานก็ได้ นโยบายอนุรักษ์พลังงานต้องแสดงเจตจํานงและความมุ่งมั่นในการจัดการพลังงานในโรงงาน ควบคุมและ อาคารควบคุม โดยจดั ทาํ เปน็ เอกสารและลงลายมือช่ือเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของ อาคารควบคุม และ อย่างนอ้ ยตอ้ งมีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ข้อความระบุว่าการอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงานของเจ้าของโรงงาน ควบคุมหรือ เจา้ ของอาคารควบคุม (2) นโยบายอนุรักษ์พลังงานที่เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณพลังงานที่ใช้ในโรงงาน ควบคุม หรืออาคาร ควบคุมน้นั (3) การแสดงเจตจาํ นงท่ีจะปฏิบตั ิตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การอนรุ ักษ์และการจดั การพลงั งาน (4) แนวทางในการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพการใช้พลังงานอย่างต่อเน่ือง (5) แนวทางในการจัดสรรทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพในการดาํ เนินการตามวิธีการจดั การพลงั งาน ให้เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมจัดให้มีการเผยแพร่นโยบายอนุรักษ์ พลังงาน โดยปิด ประกาศไว้ในที่ซึ่งเห็นได้ง่ายในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม หรือโดยวิธีการอื่น ที่เหมาะส ม เพื่อให้ บุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมทราบและปฏิบัติตามนโยบาย อนุรักษ์พลังงานได้” (ที่มา: กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานใน โรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม พ.ศ. 2552)
60 3.2 ขอ้ เสนอแนะการปฏิบัติตามขอ้ กําหนด เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมต้องกํากับดูแลให้มีการดําเนินการจัดการด้าน พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมอย่างเป็นรูปธรรม จริงจัง และมีความต่อเนื่อง ทั้งนี้ต้อง ดาํ เนินการ ดังนี้ • กาํ หนดนโยบายอนุรกั ษพ์ ลังงาน • เผยแพรน่ โยบายอนุรักษพ์ ลังงานให้พนักงาน ลูกจ้างและบุคลากรในองค์กรรับทราบ และ ปฏบิ ตั ิตามนโยบาย อนุรักษ์พลงั งานขององค์กร นโยบายอนุรักษ์พลังงาน ที่จัดทําขึ้นนั้นต้อง มีเนื้อหาหรือข้อความที่ชัดเจนและเป็นไปตาม ข้อกําหนด (ดูหัวข้อ (1) โดยต้องเขียนเป็นลาย ลักษณ์อักษรและจัดทําเป็นเอกสารที่สมบูรณ์ และ ต้องลง ลายมือชือ่ โดยเจ้าของโรงงานควบคมุ และ เจา้ ของอาคารควบคุม หรอื ผูบ้ ริหารระดับสงู เพอ่ื แสดงเจตจํานงใน การจัดการพลงั งาน และใช้ในการ สรา้ งจติ สาํ นึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน เมอ่ื กําหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน เป็นที่ เรียบร้อยแล้ว เจ้าของโรงงานหรือเจ้าของอาคาร ควบคุม ต้องดําเนินการเผยแพร่นโยบายอนุรักษ์ พลังงานในรปู แบบตา่ งๆ (คหู วั ข้อ (2) ใหก้ บั พนักงาน ลกู จ้างและบคุ ลากรทกุ ระดับในองค์กร รบั ทราบ และใช้ เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตติ ามนโยบาย อนรุ กั ษพ์ ลงั งาน (1) เนื้อหานโยบายอนรุ ักษ์พลงั งาน นโยบายอนุรักษ์พลังงานที่เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมจัดทําขึ้นนั้น ต้องมี เนอ้ื หาและสาระสําคัญอย่างน้อยต้องมรี ายละเอียด ดงั ต่อไปนี้ (1.1) ข้อความระบุว่า “การอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงาน” หรือเป็น ภาระหน้าที่ส่วนหน่ึง ขององค์กร เพื่อเป็นการแสดงข้อผกู มัด และความรับผดิ ชอบดา้ นการใชพ้ ลงั งาน ขององค์กร (1.2) ข้อความที่บ่งบอกถึงความเหมาะสมกับลักษณะและปริมาณพลังงานที่ใช้ ซึ่งมีความหมาย ว่า นโยบาย อนุรักษ์พลังงานจะต้องให้ความสําคัญให้เหมาะสม สอดคล้อง กับลักษณะและปริมาณ พลังงานที่ใช้ เช่น องค์กรมีการใช้พลังงานในการผลิตสูงซึ่ง เป็นต้นทุนหลักส่วนหนึ่ง ดังนั้นนโยบาย อนุรักษ์พลังงานควรเป็น นโยบายหลกั และใหค้ วามสําคญั สูง เพือ่ ให้เหมาะสมกับปรมิ าณพลงั งานทใ่ี ช้ เปน็ ต้น (1.3) ที่บ่งบอกถึง การปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พลังงานและการจัด การพลังงาน เช่น องค์กรต้องดําเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสม และ สอดคล้องกับกฎหมายและ ข้อกาํ หนดอืน่ ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง เป็นตน้ (1.4) ข้อความระบุถึง แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่องเช่น องค์กรจะ ดําเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรพลังงานอย่างต่อเนื่องเหมาะสมกับสภาพ ธุรกิจ และ เทคโนโลยีท่ใี ช้ เป็นตน้ (1.5) ข้อความระบุถึง แนวทางในการจัดสรรทรัพยากรให้มีอย่างพอเพียงในการดําเนินการตาม วิธีการจัด การพลังงาน หมายความวา่ องค์กรตอ้ งมกี ารสง่ เสรมิ และใหก้ ารสนับสนุนทง้ั ทรพั ยากร บุคคลและงบประมาณ
61 (2) การดําเนนิ การเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธน์ โยบายอนุรักษ์พลังงาน เมือ่ องค์กรมีนโยบายอนรุ ักษพ์ ลังงานท่ีเปน็ รูปธรรม เจา้ ของโรงงานควบคมุ หรือเจ้าของ อาคาร ควบคุมต้องทํา การเผยแพร่และประกาศแจ้งให้พนักงานทุกคนรับทราบและปฏิบัติตามนโยบาย วิธีการ เผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ซึ่งอาจทําได้โดยการติดประกาศ การจัดทําเป็นเอกสารแจกให้กับ พนักงานทุกคน การใช้เสียง ตามสาย หรือการส่งนโยบายอนุรักษ์พลังงานให้กับหัวหน้างานในทุกแผนก โดยตรง ทั้งน้ี คณะทํางานอาจ จัดทาํ เอกสารรายชือ่ ของพนกั งานทกุ คนในองค์กรลงลายมือชื่อรับทราบ และเกบ็ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน นอกจากการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ เจ้าของหรือผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้พนักงาน ทุกคนมีส่วนร่วมในการให้ความคิดเห็นหรือ ขอ้ เสนอแนะ รวมทงั้ ควรใหม้ กี ารทบทวนเปน็ ระยะๆ เพอื่ ให้แนใ่ จว่านโยบายอนุรกั ษพ์ ลงั งานที่ กําหนดขนึ้ นนั้ มี ความทันสมัยและเหมาะสมกับองค์กร (3) ขัน้ ตอนในการกาํ หนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน (3.1) คณะทํางานประชุมร่วมกับเจา้ ของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคมุ เพือ่ จดั ทํา นโยบาย อนรุ ักษ์พลังงาน ในกรณที ีโ่ รงงานควบคุมและอาคารควบคุมเร่ิม นําวธิ กี ารจดั การพลงั งานมาใช้ในองค์กรเป็น ครั้งแรก จําเป็นต้องนําผลประเมิน สถานภาพการจัด การพลังงานเบื้องต้นมาใช้เป็นแนวทางในการกําหนด นโยบาย ส่วน ในกรณีที่โรงงานควบคุม และอาคารควบคุมมีวิธีการจัดการพลังงานอยู่ก่อนแล้ว ให้ นําผลการ ทบทวนและวิเคราะห์ผล การดําเนนิ งานของวธิ ีการจดั การพลงั งานปีทผี่ า่ นมา มาประกอบการกาํ หนดนโยบาย (3.2) การกําหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานขององค์กรต้องครอบคลุมรายละเอียดตามหัวข้อ (1) เป็น อย่างนอ้ ย (3.3) เมื่อได้ข้อสรุปนโยบายอนุรักษ์พลังงานแล้ว คณะทํางานต้องเก็บรวบรวมข้อมูลหรือ เอกสารที่ เกิดขึ้นในระหว่างการประชุม ซึ่งอาจเป็นรายงานการประชุมก็ได้ โดยต้องมี รายชื่อ ผู้เข้าร่วมประชุม และ ข้อสรุปที่เกิดจากการประชุม และจัดทําเป็นเอกสาร นโยบายเพื่อนําเสนอ เจ้าของโรงงานควบคุมและอาคาร ควบคุม หรือผู้บริหารระดับสงู ลงลายมอื ช่อื ในนโยบายตอ่ ไป (3.4) คณะทาํ งานแถลงนโยบายอนรุ ักษพ์ ลังงานตอ่ พนกั งาน
62 3.3 หนา้ ท่ีของบคุ คลท่ีเกย่ี วข้อง หนา้ ท่ี และความรบั ผิดชอบของบุคลากรต่างๆ ท่ีมตี ่อการกําหนดนโยบายอนรุ กั ษ์พลงั งาน หนา้ ทีข่ องเจ้าของโรงงานควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคมุ 1. กํากับใหม้ ีการจัดทาํ นโยบายอนรุ ักษ์พลังงานที่เปน็ เอกสาร และลงลายมือชื่อ 2. ควบคุมและดูแลให้มีการประกาศนโยบายอนรุ กั ษพ์ ลังงานอยา่ งเป็นทางการ ให้พนักงานทกุ คน รับทราบ และปฏิบัตติ าม หนา้ ทข่ี องคณะทํางาน 1. กาํ หนดนโยบายอนรุ ักษ์พลังงาน และจดั ทํานโยบายเปน็ เอกสารทีส่ มบรู ณ์ 2. ดําเนินการประกาศและเผยแพร่นโยบายอนุรักษ์พลังงานโดยวิธกี ารตา่ งๆ ที่เหมาะสม เชน่ แถลงการณ์ ตดิ ประกาศ ทาํ โปสเตอร์ ประชุม หรือฝึกอบรม เป็นต้น หน้าทข่ี องพนักงาน 1. รบั ทราบนโยบายอนรุ กั ษ์พลังงาน 2. ปฏบิ ัตติ ามนโยบายอนุรกั ษ์พลังงาน 3. แสดงความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะต่อนโยบายอนรุ ักษ์พลังงาน
63 ข้นั ตอนท่ี 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษพ์ ลังงาน 4.1 ขอ้ กําหนด “ข้อ 6 ให้เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมจดั ให้มีการประเมินศักยภาพการ อนุรักษ์พลังงาน โดยการตรวจสอบและประเมินการใช้พลังงานที่มีนัยสําคัญตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ รัฐมนตรีประกาศ กําหนดในราชกิจจานเุ บกษา” (ท่ีมา : กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธกี ารจัดการพลังงานใน โรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม พ.ศ. 2552) 4.2 ขอ้ เสนอแนะการปฏบิ ัตติ ามขอ้ กาํ หนด วตั ถปุ ระสงคข์ องขนั้ ตอนน้ีเปน็ การค้นหาศกั ยภาพขององคก์ รในการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการใช้ พลังงาน เพ่ือ ใชเ้ ป็นแนวทางในการกําหนดมาตรการอนรุ ักษ์พลังงานและปรับปรุงประสทิ ธภิ าพการใช้ พลังงาน โดยเริ่มจาก การเก็บข้อมูล ตรวจวัดและวิเคราะห์การใช้พลังงาน และประเมินการใช้พลังงาน ที่มีนัยสําคัญ กล่าวคือเป็น การมุ่งเน้นไปยังกระบวนการและอุปกรณ์ที่มีการใช้พลังงานในสัดส่วนที่สูง ว่ามีการใช้พลังงานได้อย่างคุ้มค่า และเป็นไปตามข้อกําหนดที่ควรจะเป็นของแต่ละอุปกรณ์หรือไม่ หลังจากนั้นจึงนํา ข้อมูลที่ได้มาใช้เป็น แนวทางในการกาํ หนดเป้าหมายและวางแผนงานดา้ นการ อนรุ ักษพ์ ลังงานต่อไป ประโยชนท์ ี่ได้จากการประเมนิ ศกั ยภาพในการอนรุ กั ษ์พลงั งานขององค์กร กค็ ือ ก. เปน็ ดชั นีในการบง่ บอกถึงต้นทนุ ทางพลงั งานสําหรบั สนิ คา้ หรือการบริการ ข. ใช้เปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพการใช้พลังงาน ไมว่ า่ จะเป็นการเปรียบเทยี บการใช้ พลังงานขององค์กรในอดีต กบั ปจั จบุ นั หรอื เปรยี บเทียบการใช้พลังงานเบอื้ งต้นกับโรงงาน ประเภทเดยี วกนั ค. ใช้กําหนดเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและอนุรักษ์พลังงาน ในการประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์พลังงาน มีแนวทางดาํ เนินการ ดังน้ี (1) รวบรวมข้อมลู การผลติ การบรกิ าร และการใช้พลังงานของทกุ ฝา่ ยหรือแผนกท่ีเกย่ี วข้อง กับการใช้พลงั งาน โดยเปน็ ขอ้ มลู ของเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคมในรอบปที ีผ่ ่านมา และ จัดทําข้อมลู ดังกล่าวเป็นภาพรวมของ องคก์ ร (2) การตรวจสอบและประเมินการใชพ้ ลังงานขององคก์ ร โดยแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั คือ (2.1) การประเมนิ ระดบั องคก์ ร เปน็ การประเมินการใช้พลงั งานทั้งองค์กร ไมแ่ ยกเป็นหนว่ ยงานหรอื อุปกรณ์ โดย ข้นั แรกตอ้ ง ทราบข้อมูลของ ระบบไฟฟ้าขององค์กรที่ใช้ มีอัตราการใช้ไฟฟ้าประเภทใด (อัตราปกติ TOD หรือ TOU) จํานวนและขนาด หม้อแปลงที่ติดตั้งแล้วจงึ เกบ็ ข้อมลู การใช้พลังงานในรอบปีท่ีผ่าน มาตั้งแต่ เดือนมกราคมจนถงึ เดอื นธันวาคม โดยพิจารณาจากบลิ ค่าไฟฟ้า ปรมิ าณการใช้ เชื้อเพลิงและพลังงาน หมนุ เวียน รวมทั้งคาํ นวณหาสดั ส่วนการใช้ พลังงานไฟฟ้าและเชื้อเพลิง แยกตามระบบการใช้พลังงานของ โรงงานควบคุมและอาคารควบคุม (ระบบแสง สว่าง ปรับ อากาศ การทําความเย็น อัดอากาศ การผลิต อื่น ฯลฯ) การประเมินแบบนี้สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 2 รปู แบบ ก. เปรียบเทยี บขอ้ มูลการใช้พลังงานในอดีต เช่น องค์กรใชพ้ ลังงานมากข้นึ นอ้ ยลงหรอื เทา่ เดิม เม่ือ
64 เทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งมี กําลังการผลิตเท่าเดิม เป็นต้น ข. เปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานของโรงงานหรือ อาคารอ่นื ท่ีมกี ระบวนการผลติ ทค่ี ล้ายกนั หรอื ขนาดใกลเ้ คียงกนั (ถ้ามี) (2.2) การประเมนิ ระดับผลิตภณั ฑ์หรอื การบรกิ าร เป็นการเปรียบเทียบตน้ ทนุ ทางพลงั งานของการผลิตสนิ คา้ หรือการบรกิ าร ทําได้ โดยการหาคา่ การใชพ้ ลังงานจาํ เพาะ (Specific Energy Consumption : SEC) จาก อัตราสว่ นของปรมิ าณ การ ใชพ้ ลังงานต่อปจั จยั ท่มี ีผลกระทบตอ่ การใชพ้ ลังงาน ดงั นี้ สําหรับโรงงานควบคุม ปจั จยั ท่มี ผี ลกระทบต่อการใช้พลงั งานคือ หน่วยผลผลิต เชน่ นํ้าหนกั ของเส้นใย ใน กรณที ีโ่ รงงานเป็นโรงงานป่ันเส้นดา้ ย เป็นตน้ สาํ หรับอาคารควบคมุ ปจั จยั ทม่ี ผี ลกระทบต่อการใช้พลังงานอาจเป็น จาํ นวน ห้องพกั ที่ จาํ หนา่ ยไดใ้ นกรณี ของโรงแรม หรือ จาํ นวนของผูใ้ ช้บรกิ ารของโรงพยาบาล หรอื พืน้ ที่ใชส้ อย (ตาราง เมตร) ในกรณีของอาคาร ทัว่ ไป เป็นตน้ (2.3) การประเมินระดบั เคร่อื งจักร อปุ กรณ์หลกั เปน็ การประเมนิ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ หรือเคร่ืองจักรหลกั แตล่ ะตวั โดยการประเมนิ การใช้ พลังงานที่มี นยั สําคัญ ในกระบวนการผลิตหรอื การบริการของโรงงานควบคมุ และอาคาร ควบคุม โดยการตรวจวัดหา ขอ้ มลู ปริมาณการใชพ้ ลงั งาน ชว่ั โมงการ ทาํ งาน และวเิ คราะห์หาคา่ ประสทิ ธภิ าพและการสูญเสยี พลังงานใน แต่ละ เครื่องจักร/อปุ กรณห์ ลกั ทมี่ ีการใชใ้ นโรงงานควบคมุ และอาคารควบคุม ทง้ั น้ี การประเมินศักยภาพการอนุรกั ษ์พลังงานในโรงงานควบคมุ และอาคารควบคุมตามบทนี้ เปน็ ไปตาม หลกั เกณฑ์และวิธกี ารทก่ี ําหนดในประกาศกระทรวงพลังงาน เร่ือง หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการ ดําเนนิ การจัด การพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 ซึง่ มรี ายละเอียดอย่ใู น ภาคผนวก ข สาํ หรบั แบบประเมนิ การใชพ้ ลังงานในองค์กรสามารถดูได้จากรายงานการจดั การพลงั งาน สําหรบั โรงงาน ควบคมุ และรายงานการจดั การพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ พร้อมทั้งคาํ อธบิ าย ขอ้ แนะนาํ ในการจดั ทํา รายงานดังกล่าว ซง่ึ พพ. ได้จัดทําขึน้ ตามรายละเอียดในภาคผนวก ค และ ภาคผนวก งตามลําดบั
65 4.3 หน้าท่ีของบคุ คลท่ีเกี่ยวข้อง หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของบคุ ลากรตา่ งๆ ทม่ี ตี ่อการประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน ตาประกาศ กระทรวงฯ หน้าทีข่ องเจา้ ของโรงงานควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคมุ กาํ กบั ดแู ล และใหก้ าร สนบั สนนุ ในการ ดําเนินการประเมนิ ศักยภาพการอนรุ กั ษ์พลังงาน หนา้ ทข่ี องคณะทาํ งาน 1. รวบรวมและจดั ทําข้อมลู การใช้งานของอาคาร ข้อมูลการผลติ และการใชพ้ ลงั งานสําหรบั โรงงานควบคมุ และอาคารควบคุมในรอบปีที่ผา่ นมา 2. ประเมนิ หาคา่ การใชพ้ ลังงานจําเพาะของผลผลิต (โรงงานควบคมุ ) หรอื การบริการ (อาคาร ควบคุม) 3. จัดทาํ แบบบันทกึ การใช้พลังงานของเครือ่ งจักร/อปุ กรณห์ ลกั ที่มนี ัยสําคญั ของการใช้ พลงั งานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคมุ โดยการหาปรมิ าณการใชพ้ ลงั งาน ค่า ประสทิ ธภิ าพหรอื สมรรถนะการใช้พลังงาน และค่าปริมาณการสญู เสยี พลงั งาน หนา้ ท่ขี องพนกั งาน ให้ความรว่ มมือในการรวบรวมข้อมลู การใช้พลงั งาน และการประเมนิ การใช้พลังงาน
66 ขั้นตอนที่ 5 การกาํ หนดเปา้ หมายและแผนอนรุ ักษพ์ ลังงานและแผนการฝึกอบรม และกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลังงาน 5.1 ขอ้ กำหนด ข้อ 7 เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มีการกําหนดเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์ พลังงานของพลังงานที่ประสงค์จะให้ลดลง โดยกําหนดเป็นร้อยละของปริมาณพลังงานที่ใช้เดิม หรือกําหนด ระดบั ของการใช้พลังงานต่อหนึ่งหน่วยผลผลติ รวมท้งั ระบุระยะเวลาการดําเนนิ การการลงทุน และผลท่ีคาดว่า จะไดร้ บั จากการดาํ เนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการท่ีรฐั มนตรปี ระกาศกําหนดในราช กจิ จานเุ บกษา ในการดําเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงานตามวรรคหนึ่งเจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของ อาคารควบคุม ต้องจัดให้มีแผนการฝึกอบรมและจัดให้มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน โดยให้บุคลากรของโรงงาน ควบคุมหรืออาคารควบคุมเข้าร่วมฝึกอบรมและร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็น การให้ความรู้และสร้าง จิตสํานึกให้เกิดความตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้พลังงาน และเผยแพร่ให้ บุคลากรของโรงงานควบคุม หรืออาคารควบคุมทราบอย่างทั่วถึง” (ที่มา: กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัด การพลังงานในโรงงานควบคุมและ อาคารควบคมุ พ.ศ. 2552) 5.2 ข้อเสนอแนะการปฏบิ ตั ิตามขอ้ กําหนด วิธีการกําหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน แผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการ อนรุ กั ษ์พลงั งาน หลังจากการประเมินศักยภาพทางเทคนิคเพื่อค้นหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน เจ้าของโรงงาน ควบคุมและ เจ้าของอาคารควบคุมต้องกําหนดมาตรการอนุรักษ์พลังงานเพื่อนําไปสู่การกําหนดเป้าหมายการ อนุรักษ์ พลงั งาน และรวมทัง้ จดั ทาํ แผนอนุรกั ษ์พลงั งาน เพ่ือใหม้ แี ผนงานทจ่ี ะดาํ เนนิ การให้บรรลสุ ู่เปา้ หมาย ที่กําหนด ไว้ได้อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และมีแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน เพื่อ เป็นการเสริมสร้างความรู้และกระตุ้นให้พนักงาน ลูกจ้างและบุคลากรของโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม ดําเนินการอนุรักษพ์ ลงั งานบรรลุผลสาํ เร็จตามเป้าหมายและแผนฯ ที่กําหนดไว้ เมื่อดําเนินการจัดทําเป้าหมายและแผนดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว เจ้าของโรงงานควบและ เจ้าของ อาคารควบคุมต้องเผยแพร่แผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานด้วยวิธีการ ที่ เหมาะสมให้พนกั งาน ลกู จ้าง และบุคลากรของโรงงานควบคุมหรอื อาคารควบคุมทราบอยา่ งท่ัวถึง ท้งั นี้ โดยมขี ้อแนะนําในการดําเนนิ การดังนี้
67 (1) การกาํ หนดมาตรการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน แนวทางการกําหนดมาตรการอนรุ กั ษ์พลังงานหรือมาตรการที่ชว่ ยแก้ไขปัญหาเกย่ี วกับ ประสิทธิภาพของเครือ่ งจักร/อปุ กรณ์ อาจใชห้ ลักการของ Cause-and-Effect Diagram หรอื ทใี่ นบางครง้ั เรียกวา่ “Fishbone Diagram” เป็นแนวทางในการระดมความคิดเห็น โดยเริม่ จากผลท่ี ไดร้ ับ (Effect) คอื อปุ กรณ์ประสทิ ธิภาพตำเป็นหัวปลาอยู่ทางขวามือ (1.1) การใช้ระบบปัจจุบนั ท่มี ีอยูใ่ ห้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ โดย ควบคมุ การทํางานแนวทางเดิมให้ดขี นึ้ โดยการใช้ Standard OperatingProcedures (สาเหตทุ ่ีพบจากการ ทาํ Cause - and Effect Analysis คือพนักงาน) การปรับเปล่ยี นวธิ กี ารทาํ งาน โดยพจิ ารณาจาก Best Practices (สาเหตุทพ่ี บจากการทํา Cause and Effect Analysis คอื วิธกี ารทาํ งาน) การปรับปรงุ งานซ่อม บาํ รุง โดยพิจารณาใหป้ ระยกุ ตอ์ งค์ประกอบของหลกั การ Total Preventive Maintenance (TPM) ซ่ึงประกอบด้วย Preventive Maintenance, Corrective Maintenance, Maintenance Prevention และ Breakdown Maintenance ท้ังน้ี องค์กรไม่จําเป็นต้อง ประยุกต์ใชท้ ้ัง 4 องค์ประกอบ หากแต่ควรนาํ องค์ประกอบทเ่ี หมาะสมกับสภาพ/ความพร้อมมาใช้ (สาเหตุท่ี พบจากการทาํ Cause – and - Effect Analysis คอื เคร่อื งจกั ร/อุปกรณ)์ การปรับปรงุ ประสิทธิภาพ กระบวนการผลิต (สาเหตุท่ีพบจากการทํา Cause – and EffectAnalysis คอื วัสดุท่ีใช้) (1.2) การปรงั ปรุงส่ิงท่มี ีอยู่ เชน่ การปรบั สภาพของ Compressor House เพอ่ื ให้ Air Intake มอี ณุ หภมู ิลดลง เป็นตน้ (1.3) การเปลี่ยนแปลงสงิ่ ที่มีอยู่ เชน่ การตดิ ต้งั Air Compressor เคร่ืองใหมท่ ่ีมีประสิทธิภาพ สงู กวา่ ของเดิม เพื่อช่วยดงึ ค่าประสทิ ธิภาพโดยรวมในการผลิต Compressed Air ขององคก์ ร เปน็ ตน้ (2) การกาํ หนดเปา้ หมายการอนรุ กั ษ์พลงั งาน จากมาตรการอนรุ ักษ์พลังงานตา่ ง ๆ ทีก่ าํ หนดตามแนวทางทกี่ ลา่ วไปแลว้ ในข้อ (1) องคก์ รตดั สนิ ใจกาํ หนด เป้าหมายในการอนุรักษ์พลงั งานเพือ่ ใช้เปน็ หลกั ในการประเมนิ ความสาํ เรจ็ ในการ กําหนดเป้าหมายมีอยู่ 3 แนวทาง ไดแ้ ก่ แนวทางที่ 1 ผบู้ ริหารระดบั สูงเปน็ ผูก้ ําหนดเปา้ หมายโดยไมไ่ ด้พิจารณาข้อมลู ในอดีต การกําหนดเป้าหมายโดยวธิ ีนเ้ี ป็นการกาํ หนดทศิ ทางและจุดหมายเพ่ือให้ องค์กรใชค้ วาม พยายามอยา่ งเต็มความสามารถในการบรรลสุ ู่เปา้ หมาย ดังกลา่ ว ซ่ึงในทางปฏิบัติอาจจะไม่ สามารถบรรลสุ ู่จดุ หมายทีต่ ัง้ ไว้ทง้ั หมด แตอ่ งค์กรก็จะได้รบั ผลประหยัดทีเ่ กดิ ขึน้ สว่ นหน่งึ จากความพยายามดังกลา่ ว
68 แนวทางที่ 2 การใชค้ ่าต่ำสุดของอุปกรณ์ หรอื การใชพ้ ลังงานท่ีองค์กรเคยทําไดห้ รอื การ ใชค้ า่ ต่ำสุดในแผนภูมทิ ่ีได้จากความสัมพนั ธ์ระหวา่ งระดบั พลังงานทใ่ี ช้ กับตวั แปร (driver) ตัวอยา่ งเช่น แผนภมู ิแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างระดบั พลังงานทใี่ ช้กบั ปรมิ าณไอนำ้ ทผี่ ลิตได้ แนวทางที่ 3 การใชข้ ้อมูลการวิเคราะห์ทีไ่ ดจ้ ากการเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน (Benchmarking) : วิธีนี้เป็นการใช้ค่าที่ดีในลําดับถัดไป เพื่อนํามากําหนด เป็นเป้าหมายของอุปกรณ์ ตัวอยา่ งเช่น จากผลการเปรยี บเทยี บเกณฑ์ มาตรฐาน ของอุตสาหกรรมปูนซเี มนต์พบว่า ค่าเฉลี่ยมาตรฐานของคา่ การ ใชพ้ ลังงานจาํ เพาะ (SEC) ของอุตสาหกรรมปนู ซีเมนต์มีคา่ เท่ากบั 3.291 GI/Ton ในขณะที่ค่าที่ดีที่สุดมีค<าเท<ากับ 3.05 GI/Ton ดังนั้นองค์กรอาจ กําหนดเป้าหมายให้ค่าการใช้ พลังงานจําเพาะทต่ี อ้ งการมคี ่าเท่ากบั 3.29GJ/Ton เป็นตน้ ในการจัดทําท้งั เปา้ หมายและแผนอนรุ ักษ์พลังงาน นั้น คณะทํางานด้านการจัดการพลังงานของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมนั้น อาจจัดให้มีการประชุม ร่วมกับ คณะผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องเพื่อระดมความคิดและ ข้อเสนอแนะ โดยการนําข้อมูลการใช้พลังงาน และข้อมูล เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการใช้พลังงาน ตลอดจนผล การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์ พลังงาน ซึ่งรวบรวมหรือ จัดทําขึ้นไว้แล้วในบทที่ 4 มาใช้พิจารณาประกอบการจัดทํา เป้าหมายและแผน อนรุ ักษ์พลังงาน โดยในการจัดทาํ เป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลงั งานดังกล่าวต้องระบุถึงชื่อมาตรการ อนุรักษ์ พลังงานและตัวช้ีวัดความสําเร็จของการดําเนินการ มาตรการอนุรักษ์พลงั งานแต่ละมาตรการ ซึ่ง กําหนดเป็น ร้อยละของการใช้พลังงานเดิม รวมถึงเงินลงทุนและระยะเวลาคืนทุนในการดําเนินมาตรการ อนุรักษ์พลังงาน แต่ละมาตรการท่ีกําหนดไว้เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานซึ่งจากสถิติข้อมูลในการดําเนินการอนุรักษ์พลังงาน โดยการนํามาตรการจัดการพลังงานนี้มา ทดลองใช้กับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมบางส่วนที่ผ่านมา ปรากฏว่ามีผลประหยดั จากมาตรการ อนรุ ักษ์พลงั งานจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเบ้ืองตน้ ที่ไม่ต้องลงทุน สูง มีผลประหยัดโดยเฉลี่ยอย่าง น้อยร้อยละ 5-10 เทียบกับการใช้พลังงานทั้งหมด ดังนั้นเจ้าของโรงงาน ควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุม ควรตั้งเป้าหมายอนุรักษ์พลังงานให้มีการประหยัดได้อย่างน้อยร้อยละ 7 เทยี บกับการใช้พลังงานท้งั หมด
69 (3) วธิ ีการจัดทาํ แผนอนุรักษ์พลงั งาน สาํ หรับการจัดทําแผนอนรุ ักษ์พลังงานน้ัน เนอ่ื งจากวัตถุประสงค์ของการจดั ใหม้ ีวธิ ีการจัด การพลังงานข้นึ ในองค์กรก็เพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมายอนรุ ักษ์พลังงานแล้วยงั มวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ ใหเ้ กิดการ อนรุ กั ษ์ พลงั งานที่ยง่ั ยืน ดังนนั้ แผนอนรุ ักษพ์ ลังงานควรประกอบไปดว้ ย (3.1) แผนปฏบิ ตั ิการในการดําเนินการตามมาตรการอนุรักษ์พลังงาน (3.2) แผนประชาสมั พนั ธท์ ่ีเก่ียวกับการอนรุ ักษ์พลงั งาน เพื่อกระตนุ้ หรอื ปลูกจิตสาํ นึกด้าน อนรุ กั ษ์พลงั งานให้พนักงาน ลูกจ้างและบุคลากรอย่างเหมาะสม (3.3) แผนการฝกึ อบรม และกิจกรรมสง่ เสรมิ การอนุรักษ์พลังงานเพ่ือเสรมิ สรา้ งความรู้และ ความเขา้ ใจดา้ น อนรุ ักษ์พลงั งานใหพ้ นักงาน ลูกจ้างและบุคลากรอย่างเหมาะสมท้ังน้ี แผนอนุรกั ษพ์ ลงั งานท่ีดี ต้องแสดงรายช่ือ และวัตถปุ ระสงคข์ องมาตรการท่จี ะ ดาํ เนินการ ระยะเวลา งบประมาณ กล่มุ เปา้ หมาย ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั จากการดําเนนิ การ และผู้รบั ผดิ ชอบ ในการดาํ เนนิ มาตรการอนรุ ักษ์พลงั งานแต่ละ มาตรการ (4) วธิ ีการจดั ทําแผนการฝกึ อบกรมและกจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การอนุรักษ์พลงั งาน สาํ หรับการฝกึ อบรมและกจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสริมการอนรุ กั ษ์พลังงานควรจะต้อง ประกอบด้วยรายละเอยี ดเกี่ยวกบั ชื่อหลักสตู รการฝกึ อบรมหรอื กิจกรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์ พลงั งาน กลมุ่ เปา้ หมายของผู้อบรม ระยะเวลาในการฝกึ อบรม และผู้รบั ผดิ ชอบในการฝึกอบรมแตล่ ะ หลกั สูตรหรือ กิจกรรมเพื่อสง่ เสริมการอนุรักษ์พลงั งานแต่ละกิจกรรม รายละเอียดในการจัดทําเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน แผนการฝึกอบรมและกิจกรรม เพ่ือ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลงั งานให้เป็นไปตามที่กําหนดในรายงานการจัดการพลงั งานสําหรับโรงงาน ควบคุมหรือ รายงานการจัดการพลังงานสาํ หรบั อาคารควบคุม ซึ่งดไู ดจ้ ากภาคผนวก ค และ ภาคผนวกง 5.3 หนา้ ท่ขี องบคุ คลท่เี กยี่ วข้อง หน้าที่ และความรบั ผิดชอบของบุคลากรต่างๆ ทม่ี ตี อ่ การกําหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์ พลงั งาน รวมท้งั แผนการฝกึ อบรมและกิจกรรมสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน หน้าทข่ี องเจ้าของโรงงานควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคุม กํากับ ดูแล และมีส่วนร่วมในการกําหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนการ ฝึกอบรม และกจิ กรรมส่งเสริมการอนรุ ักษ์พลงั งาน พร้อมทง้ั ใหก้ ารสนบั สนนุ ทางด้านงบประมาณและ บุคลากรที่ จาํ เป็นต่อการดาํ เนินการ
70 หน้าทข่ี องคณะทาํ งาน 1. กําหนดและจัดทําเปา้ หมายและแผนการอนุรกั ษ์พลงั งานใหเ้ ป็นไปตามข้อกําหนด 2. ดําเนนิ การวางแผนและจัดให้มกี ารฝึกอบรมและกิจกรรมส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์พลงั งาน 3. กําหนดผู้รบั ผดิ ชอบในการดําเนนิ การตามแผนอนุรักษ์พลงั งาน การฝกึ อบรมและกิจกรรม 4. ประเมนิ ผลผู้เขา้ รับการฝึกอบรม หรือผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม พรอ้ มท้ังจดั ทำประวตั กิ ารฝกึ อบรมของพนกั งานทกุ คน 5. เผยแพร่แผนการฝกึ อบรมให้พนกั งานทุกคนในองค์กรรบั ทราบ หนา้ ท่ีของพนักงานที่เก่ียวข้อง ให้ความร่วมมือกบั คณะทาํ งานในการกาํ หนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลงั งานขององค์กร รวมท้งั เข้ารว่ ม ฝึกอบรม และกิจกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกับตนเอง
71 ขน้ั ตอนท่ี 6 การดําเนนิ การตามแผนอนุรกั ษ์พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตาม เปา้ หมายและแผนอนรุ กั ษพ์ ลังงาน 6.1 ข้อกาํ หนด ข้อ 8 เจ้าของโรงงานควบคุมและเจา้ ของอาคารควบคุมต้องควบคุมดูแลให้มีการดาํ เนนิ การตาม แผน อนุรักษ์พลังงานให้เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมตรวจสอบและวิเคราะห์กาปฏิบัติตาม เป้าหมายและแผนอนรุ ักษพ์ ลังงานทีจ่ ัดทําขึ้นตามข้อ 7 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด ในราชกิจจานุเบกษา” (ที่มา: กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัการพลังงานในโรงงาน ควบคมุ และ อาคารควบคมุ พ.ศ. 2552) 6.2 ขอ้ เสนอแนะการปฏิบตั ิตามขอ้ กําหนด ภายหลังจากที่เป้าหมายและแผนอนรุ ักษพ์ ลังงาน รวมทั้งแผนการฝึกอบรมและกิจกรรม ส่งเสริมการ อนรุ ักษ์พลงั งาน ผา่ นการอนุมตั ิจากเจา้ ของโรงงานควบคมุ และเจา้ ของอาคารควบคมุ หรือ ผบู้ ริหารสูงสุดแล้ว คณะทํางานมีหน้าที่ในการควบคุมดูแลให้มีการดําเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงานแลแผนการฝึก อบรมฯ รวมถึงตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน เพื่อ ติดตามความก้าวหน้า ของการปฏิบตั ิงานว่ามีการดําเนินการเป็นไปตามกาํ หนดเวลาท่รี ะบุไว้ในแผนงาน หรือไม่ ซ่ึงหากมีความล่าช้า หรือการปฏิบัติไม่เป็นไปตามเป้าหมายและแผนงานที่วางไว้ คณะทํางานจะต้องดําเนินการค้นหาสาเหตุว่า ทําไมการดําเนินงานจึงไม่ประสบผลตามที่ได้วางไว้ พร้อมทั้งหาแนวทางแก้ไขใน การดําเนินงานเพื่อปรับปรุง ใหก้ ารทาํ งานบรรลุตามเป้าหมาย เพอื่ นาํ เสนอตอ่ ผบู้ ริหารระดบั สูงตอ่ ไป ในการดําเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมฯ รวมทั้งการตรวจสอบและ วเิ คราะหก์ ารปฏบิ ตั ิตามเปา้ หมายและแผนอนุรกั ษ์พลังงาน คณะทํางานควรดําเนนิ การดังน้ี (1) ควบคุมให้มีการดําเนินมาตรการตามระยะเวลาที่กําหนดในแผนอนุรักษ์พลังงานและแผนการ ฝึกอบรมฯ โดยการให้ผู้รับผิดชอบในแต่ละมาตรการรายงานผลการดําเนินการ รวมทั้งปัญหาและ อปุ สรรคอยา่ งสมำ่ เสมอ โดยการรายงานความกา้ วหนา้ อาจระบใุ นรปู ของเปอรเ์ ซน็ ตข์ องผลสําเรจ็ ในกา ดําเนนิ งาน รวมท้ังพจิ ารณาปรบั เปลี่ยนแผนดําเนนิ การในกรณีทมี่ ีความจําเป็น (2) ตรวจสอบผลการดําเนนิ งานในแตล่ ะแผนงานหรอื แตล่ ะมาตรการโดยเทยี บกับแผนอนุรักษ์ พลงั งานและแผนการฝกึ อบรมฯท่กี ําหนดไว้ (3) หากมาตรการใดมีการดําเนินการล่าช้า ไม่เป็นไปตามแผน ต้องวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทําให้การ ดําเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย อาจใช้วิธีที่เรียกว่าไดอะแกรมแบบก้างปลา(FishboneDiagram) ใน
72 การหาสาเหตุ (ตัวอย่างดังรูปที่ 6.1) เพื่อหาแนวทางแก้ไขและสรุปผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นไว้ในรายงานผลการ ดาํ เนินงานตอ่ ไป (4) สําหรับมาตรการที่ดําเนินการแล้วเสร็จตามท่ีกําหนดไว้ คณะทํางานต้องจัดให้มีการดําเนินการตรวจสอบ และวเิ คราะห์การปฏิบัติตามเปา้ หมายและแผนฯ ท้งั นี้อาจมอบหมาย ใหพ้ นักงานทรี่ ับผดิ ชอบมาตรการนเ้ี ป็นผู้ ควบคุมการตรวจสอบ และส่งผลการตรวจสอบให้กบั คณะทํางานอกี ทหี นึง่ (5) การตรวจสอบและการวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานดังกล่าวให้รวมทั้งการ ตรวจสอบและวเิ คราะหก์ จิ กรรมเพือ่ ส่งเสริมการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน โดยควร ทําเป็นประจํา อยา่ งน้อย 3 เดือนต่อ ครั้ง และจัดทําเป็นรายงานเสนอให้เจ้าของโรงงาน ควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมทราบ โดยในรายงาน ดงั กลา่ วต้องประกอบด้วย ผลสรุปการตดิ ตามการดาํ เนินการของมาตรการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน โดยระบชุ ื่อมาตรการอนุรกั ษ์ พลงั งาน สถานภาพการดาํ เนนิ งาน และปัญหาและอปุ สรรคในการดาํ เนนิ งาน ผลการตรวจสอบและวเิ คราะห์การปฏิบตั ิตามมาตรการอนุรักษ์พลงั งานแยกตามมาตรการ ด้านไฟฟ้าและมาตรการด้านความร้อน โดยระบุชื่อมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่ดําเนินการแต่ละมาตรการ ระยะเวลาการดําเนนิ การแต่ละมาตรการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน และระยะเวลาท่ีเกิดข้นึ จริง สถานภาพการ ดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริง เงินลงทุนตามแผนและเงินลงทุนที่เกิดขึ้นจริง ผลการอนุรักษ์พลังงานตามแผนและท่ี เกดิ ขนึ้ จริง ปญั หาและอปุ สรรคในระหว่างการดําเนินการ และความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ผลสรุปการตรวจติดตามการดําเนินการของการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน โดยระบุชื่อหลักสูตรการฝึกอบรมหรือกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สถานภาพการ ดําเนินการ ปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินการ (ถ้ามี) และจํานวนผู้เข้าอบรมรายละเอียดในการจัดทํา รายงานผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนการ ฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสรมิ การอนุรักษพ์ ลังงาน รวมทั้งแผนการ ฝึกอบรมและกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการ อนรุ ักษพ์ ลังงานให้เปน็ ไปตามที่กําหนดในรายงานการจดั การพลงั งาน สาํ หรบั โรงงานควบคุม หรอื รายงานการ จดั การพลงั งานสาํ หรับอาคารควบคมุ ซึง่ ดไู ด้ 6.3 หน้าทข่ี องบุคคลทีเ่ กยี่ วขอ้ ง หน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคลากรต่างๆ ที่มีต่อการดําเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน และ แผนการฝึกอบรมฯ รวมทั้งการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบตั ิตามเปา้ หมายและแผนอนุรักษ์พลังงานและ แผนการฝึกอบรมฯ
73 หนา้ ทข่ี องเจ้าของโรงงานควบคมุ และเจา้ ของอาคารควบคุม กาํ กับ และดูแลให้มีการดาํ เนินการตามแผนอนรุ กั ษ์พลังงาน และแผนการฝกึ อบรมฯ รวมทั้ง ตรวจสอบและ วิเคราะหก์ ารปฏบิ ตั ิตามเป้าหมายและแผนอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน และแผนการฝึกอบรมฯ หน้าท่ขี องคณะทํางาน 1. ติดตามและควบคมุ ให้มกี ารปฏบิ ตั ิตามแผนอนรุ ักษ์ลงั งาน และแผนการฝึกอบรมฯ 2. ตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านตามเป้าหมายและแผนอนรุ ักษ์พลงั งาน รวมถงึ แผนการฝกึ อบรมฯของฝ่ายหรือ แผนกที่เกีย่ วข้อง 3. วิเคราะห์หาสาเหตแุ ละแนวทางแก้ไข หากเกิดปัญหาในการดาํ เนินการ 4. จัดทาํ รายงานผลการตรวจสอบและวิเคราะหก์ ารปฏิบตั ิตามเปา้ หมาย และแผนการอนุรกั ษ์พลงั งานรวมถึง แผนการฝกึ อบรมและกจิ กรรมเพื่อสง่ เสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน และรายงาน ใหผ้ ู้บรหิ ารทราบหน้าที่ของ พนกั งานให้ความร่วมมือกบั คณะทาํ งานในการตรวจสอบการดาํ เนนิ การตามเป้าหมายและแผน สาํ หรับผู้ ท่มี ี หน้าที่รับผดิ ชอบในการดาํ เนินมาตรการอนรุ ักษพ์ ลังงาน รวมทงั้ การฝกึ อบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การ อนรุ กั ษ์พลงั งาน และรายงานความกา้ วหนา้ ของการดําเนินการให้คณะทํางานทราบเปน็ ระยะ
74 ขัน้ ตอนท่ี 7 การตรวจติดตามและประเมนิ การจัดการพลงั งาน 7.1 ขอ้ กําหนด “ข้อ 9 เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มีการตรวจติดตาม และประเมิน การจัดการพลังงาน รวมถึงการทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงานตาม ช่วงเวลา ที่กําหนดอย่างเหมาะสมเป็นประจําอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรี ประกาศ กําหนดในราชกิจจานุเบกษา” (ที่มา: กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานใน โรงงานควบคุมและอาคาร ควบคมุ พ.ศ. 2552) 7.2 ข้อเสนอแนะการปฏิบัติตามขอ้ กําหนด การปฏิบัติตามข้อกําหนดในบทที่ 7 นี้ ให้พิจารณาการตรวจติดตาม และประเมินผลการจัด การพลังงานขององค์กร เพื่อให\\ทราบถึงปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการที่ผ่านมา องค์กรควรจัดให้มีคณะ ผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กรเพื่อติดตามและตรวจสอบวิธีการจัดการพลังงานที่จัดทําขึ้น วา่ มีการปฏบิ ตั ิงานตามแผน และดําเนินการจัดการพลังงานทจ่ี ดั ทาํ ข้นึ หรือไม่ รวมท้ังรวบรวมเอกสาร หลักฐาน ทเี่ ก่ยี วข้องเพื่อจัดทาํ เป็นรายงานการตรวจติดตามขององค์กร สาํ หรบั ชว่ งเวลาและความถใ่ี นการ ตรวจติดตาม นั้นต้องกําหนดให้เหมาะสมและสม่ำเสมอ โดยความถี่ของการตรวจติดตามนั้นสามารถกําหนด ขึ้นเองโดย องค์กร แต่ควรทําเป็นประจาํ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ในส่วนของคณะผู้ตรวจประเมินฯน้ันต้องเป็นผู้ ที่มีความรู้ และความเข้าใจในวิธีการจัดการพลังงาน อีกทั้งต้องมีความเป็นกลางและเป็นอิสระต่อกิจกรรมที่จะ ทําการ ประเมนิ การดาํ เนินการตรวจตดิ ตามภายในควรกําหนดแผนงาน และขอบเขตของการตรวจ ประเมินทแี่ น่นอน ในการตรวจติดตามและประเมนิ วธิ ีการจดั การพลังงานคณะทํางานดา้ นการจดั การพลังงานควร ดําเนินการดงั นี้ (1) ดําเนินการประชุมร่วมกบั เจา้ ของโรงงานควบคุมและเจา้ ของอาคารควบคุม เพ่ือจดั ตงั้ คณะผู้ตรวจ ประเมินการจัดการพลังงานภายในองค์กร พร้อมทั้งกําหนดวาระการทํางานของ คณะผู้ตรวจประเมินฯ ตาม ความเหมาะสม คณะผู้ตรวจประเมินฯ ควรมีสมาชิกอย่างน้อย 2 คน ซึ่งอาจประกอบด้วยบุคคลที่มาจาก ภายนอกหรอื ภายในองคก์ รก็ได้ ท้ังนี้ แลว้ แต่ ความเหมาะสมและอัตรากําลังคนขององค์กรน้ัน (2) เจ้าของโรงงานควบคมุ และเจา้ ของอาคารควบคุม ลงนามคาํ ส่งั แต่งตัง้ คณะผูต้ รวจประเมินฯและเผยแพร่ให้ พนักงานขององค์กรรบั ทราบ (ตวั อย่างคําสัง่ แต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินฯ (3) ขอ้ กําหนดของการจดั การพลังงานที่ต้องไดร้ ับการตรวจประเมินมีหัวดงั นี้ ก. การจัดต้งั คณะทาํ งานดา้ นการจัดการพลงั งาน ข. การประเมนิ สถานภาพการจดั การพลังงานเบ้อื งตน้ ค. การมีนโยบายอนุรักษ์พลงั งาน ง. การประเมินศักยภาพอนรุ ักษ์พลงั งาน จ. การมีเป้าหมายและแผนอนรุ ักษ์พลังงาน รวมท้งั แผนการฝึกอบรม และกิจกรรมสง่ เสริมการอนุรักษ์พลังงาน
75 ฉ. การดําเนนิ การตามแผนอนรุ ักษ์พลังงาน และการตรวจสอบและ วเิ คราะห์การปฏิบัตติ ามเป้าหมายและแผน อนรุ กั ษ์พลังงาน ช. การตรวจตดิ ตามและประเมนิ การจัดการพลงั งาน ซ. การทบทวนวเิ คราะห์และแกไ้ ขข้อบกพร่องของการจดั การพลงั งาน (4) การตรวจตดิ ตามและประเมินการจัดการพลงั งานของคณะผูต้ รวจประเมินฯ ตามข้อ (3) ให้ดําเนินการโดย การประเมิน ค. จากรายงาน เอกสาร (5) ภายหลังการตรวจสอบและประเมินการจัดการพลังงานตามข้อ (4) เรียบร้อยแล้ว คณะผู้ตรวจประเมินฯ ต้องทําการสรุปผลการตรวจติดตามและประเมินวิธีการจัดการพลังงาน ดังกล่าว พร้อมทั้งลงลายมือชือ่ รับรอง โดยประธานคณะผู้ตรวจประเมินฯ และจัดส่งให้กับ คณะทํางานด้านการจัดการพลังงานและเจ้าของโรงงาน ควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม ร่วมกันพิจารณาผลการ ตรวจประเมินการจัดการพลังงาน เพื่อทําการ ทบทวน วเิ คราะห์ และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง โดยมรี ายละเอยี ดเพมิ่ เติมในบทที่ 8 ตอ่ ไป ท้งั นี้ ผลสรุปการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานดังกล่าวที่คณะผ้ตู รวจประเมินฯ จัดทํา ขึ้นตามข้อ (5) ให้เป็นไปตามแบบที่กําหนดในรายงานการจัดการพลังงานสําหรับโรงงานควบคุมหรือ รายงาน การจัดการพลงั งานสาํ หรบั อาคารควบคุม ซึง่ ดไู ดจ้ าก 7.3 หน้าทขี่ องบคุ คลท่ีเก่ยี วข้อง หนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบของบคุ ลากรตา่ งๆ ที่มีต่อการตรวจตดิ ตามและประเมินวธิ ีการจดั การพลังงาน หนา้ ทข่ี องเจา้ ของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุม 1. แต่งตัง้ คณะผูต้ รวจประเมินการจดั การพลังงานภายในองคก์ รเปน็ ลายลักษณ์อักษรและลงนาในคําส่ังแต่งต้ัง 2. กํากบั ดแู ล ให้มีการดาํ เนินการตรวจติดตาม และประเมนิ การจดั การพลงั งาน หนา้ ท่ีของคณะทาํ งาน 1. จดั เตรยี มเอกสาร หลักฐานในการดาํ เนินการตามขอ้ กาํ หนดของวธิ กี ารจัดการพลังงาน 2. นาํ ผลการตรวจประเมินมาทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพรอ่ ง หนา้ ทข่ี องคณผู้ตรวจประเมินฯ 1. กาํ หนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และแผนการดาํ เนินการตรวจประเมนิ 2. ดาํ เนินการตรวจประเมนิ ตามแผนทกี่ าํ หนด 3. ทาํ การสรปุ ผลการตรวจประเมิน และรายงานใหก้ บั คณะทาํ งานด้านการจดั การพลังงานและเจา้ ของ โรงงานควบคุมและอาคารควบคมุ และผบู้ รหิ ารระดบั สงู หนา้ ท่ีของพนักงาน เตรียมความพร้อมและให้ความร่วมมือกบั คณะผตู้ รวจประเมนิ ฯ ในการตรวจประเมินภายใน
76 ขัน้ ตอนที่ 8 การทบทวน วิเคราะห์ และ แกไ้ ข้ขอบกพร่องของการ จดั การพลังงาน 8.1 ขอ้ กําหนด ขอ้ 9 เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มกี ารตรวจตดิ ตาม และประเมินการ จัดการพลังงาน รวมถึงการทบทวนวิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน ตาช่วงเวลาที่ กําหนดอย่างเหมาะสมเป็นประจําอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ รัฐมนตรีประกาศ กําหนดในราชกิจจานุเบกษา” (ที่มา: กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงานใน โรงงานควบคุมและ อาคารควบคมุ พ.ศ. 2552) 8.2 ข้อเสนอแนะการปฏิบตั ติ ามข้อกําหนด การดําเนินการตามบทที่ 8 นี้ เปน็ การดาํ เนนิ การทตี่ ่อเนื่องมาจากบทที่ 7 โดยนาํ ผลการประเมิน การ จัดการพลังงานจากการตรวจติดตามภายในมาวิเคราะห์ความเหมาะสม จุดอ่อน จุดแข็ง กิจกรรมหรือการ ดําเนินการที่เป็นประโยชน์ต่อการอนุรักษ์พลังงานขององค์กร รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ดําเนินการตามข้อกําหนดต่างๆ ของวิธีการจัดการพลังงาน (นโยบายอนุรักษ์พลังงาน แผนฝึกอบรม หรือ เป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน เป็นต้น) ในกรณีที่พบอุปสรรคหรือปัญหาในการดําเนินการ โดย คณะทํางานต้องทําการวิเคราะห์หาสาเหตุว่าเกิดจากข้อบกพร่องของการจัดการพลังงานว่ามาจากปัจจัย ภายในองคก์ ร หรอื เนื่องมาจากปจั จยั ภายนอก จากนนั้ จงึ หาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงวธิ กี ารจดั การพลังงาน ใหม่ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่าง ต่อเนอ่ื ง ในการประชุมทบทวน วิเคราะห์ และ แก้ไขข้อบกพร่องของวิธีการจัดการพลังงานนัน้ ต้อง จัดขึ้นเป็น ประจําอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และกําหนดขึ้น ในช่วงเวลาที่เหมาะสม โดยผู้เข้าประชุมควร ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูง ประธานและ คณะทํางานด้านการจัดการพลังงาน รวมทั้งตัวแทน จากหน่วยงานอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องในการทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องวิธีการจัดการพลังงาน คณะทํางานด้านการจัด การพลังงานควรดําเนินการดงั น้ี (1) จดั ให้มีการประชุมทบทวนผลการดาํ เนนิ การภายหลังการตรวจประเมินภายใน โดยแจง้ให้ผูร้ ับผิดชอบด้าน พลังงานหรือตวั แทนจากหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้องทราบถึงวัตถุประสงคร์ ปู แบบ กําหนดเวลา และเขา้ รว่ มประชุม (2) การจัดการประชุมทบทวนผลการดําเนินการ ควรมีตัวแทนจากทุกฝ่ายเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและ รับทราบผลการประชุม ดังนั้นควรให้มีการเชิญผู้เข้าร่วมประชุมทั้งจากฝ่ายบริหาร คณะทํางาน และตัวแทน พนักงานทกุ ระดบั จากหน่วยงานตา่ งๆ
77 (3) รวบรวมผลประเมินการดําเนินการจากหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร แล้วทําการสรุปผลกาทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน และรายงานให้ เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของ อาคารควบคุมทราบ โดยผลสรุปดังกล่าว ควร ประกอบด้วยผลการทบทวนการดําเนินการจัดการพลังงานใน แตล่ ะข้ันตอนตามที่ กําหนดในกฎกระทรวงฯ ว่ามคี วามเหมาะสมหรือควรปรับปรงุ พรอ้ มท้ังระบุ ข้อบกพร่อง ทต่ี รวจพบในกรณที ่ีเหน็ วา่ สมควรต้องมกี ารปรับปรุง และแนวทางการปรับปรงุ ข้อบกพร่องดังกล่าวท่ีเกิดในแต่ ละข้ันตอนของการดําเนนิ การจดั การพลังงาน (4) ในระหว่างการประชุมทบทวนและวิเคราะห์วิธีการจัดการพลังงาน ผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วม ประชุมแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ทั้งในส่วนที่เป็นเชิงบวกและ เชิงลบต่อการดําเนินการ โดยในกิจกรรม หรือการดําเนินการใดๆ ที่เป็นประโยชน์ในการ พัฒนาวิธีการจัดการพลังงาน ก็ควรให้การสนับสนุนและ ส่งเสริมต่อไป สําหรับปัญหา อุปสรรค หรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ควรร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุ และแนวทาง ในการแก้ไขท่ีเหมาะสม (5) ผู้บริหารระดับสูงควรนําข้อมูลที่ได้จากการประชุมทบทวนฯ ไปใชใ้ นการปรับปรงุ วิธีการจัดการพลังงานให้ ดขี ้ึน เพอ่ื การพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ืองและยัง่ ยนื (6) เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้พนักงานทุกคนรับทราบถึงผลการประชุมทบทวนวิธีการจัดการพลังงาน รวมทั้งแนวปฏิบัติในการทํางานเพื่อพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานซึ่งได้จากการประชุมผลสรุปการทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงานที่จัดทําขึ้นตามข้อ (3) ให้เป็นไปตามแบบที่กําหนดใน รายงานการจัดการพลังงานสําหรับโรงงานควบคุม หรือรายงานการจัด การพลังงาสําหรับอาคารควบคุม ซึ่งดู ได้จากภาคผนวก ค และภาคผนวกง 8.3 หน้าที่ของบุคคลที่เกย่ี วข้อง หน้าท่ี และความรบั ผดิ ชอบของบคุ ลากรต่างๆ ทมี่ ตี อ่ การทบทวน วิเคราะห์ และแกไ้ ข ขอ้ บกพรอ่ งของวธิ กี ารจดั การพลังงาน หนา้ ทขี่ องเจา้ ของโรงงานควบคุมและเจา้ ของอาคารควบคุม 1. ควบคุมใหม้ กี ารดาํ เนนิ การทบทวนผลการดําเนนิ วิธกี ารจดั การพลงั งาน 2. รว่ มทบทวน วเิ คราะห์ และรบั ทราบ ผลการดาํ เนนิ การจัดการพลงั งาน 3. แสดงเจตจํานงใหม้ กี าร ปรับปรุงวธิ กี ารจดั การพลงั งานอย่างตอ่ เนอ่ื งหนา้ ท่ีของคณะทํางาน 1. รวบรวมข้อมูลและสรปุ ผลกา ประเมินการดาํ เนนิ การของหนว่ ยงานต่างๆ ภายในองคก์ ร 2. ดาํ เนินการจดั การประชุมทบทวน วเิ คราะห์ และแก้ไขข้อบกพรอ่ งของการจัดการพลังงาน เผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธผ์ ลการประชมุ และ แนวทางปฏบิ ัติทไ่ี ดจ้ ากการประชมุ ให้พนักงานทกุ คนรับทราบหนา้ ทข่ี องพนกั งาน คดั เลือกผแู้ ทนเขา้ ร่วมแสดงควาคดิ เห
78 บทสรุป จากการปฏบิ ตั ติ ามข้อกําหนดทง้ั 8 ขน้ั ตอนข้างตน้ จะนาํ ไปสกู่ ารพฒั นาวิธีการจัด การพลังงานให้ เกดิ ขึ้นภายในองค์กร อย่างไรกต็ ามวิธีการจัดการพลงั งานท่ีดีนนั้ จําเปน็ จะตอ้ งมีการพัฒนา และปรบั ปรุงอย่าง ตอ่ เนื่อง เพ่ือนําไปสู่การอนรุ ักษ์พลงั งานท่ียงั่ ยืน สง่ิ สําคญั ในการพัฒนา วิธกี ารจดั การพลังงานนัน้ กค็ ือ การ สร้างบคุ ลากรในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และจิตสาํ นึกดา้ นการอนุรักษ์ พลังงาน รวมทง้ั องค์กร จาํ เปน็ ต้องมรี ะบบการจดั ทําเอกสารและฐานข้อมลู ทด่ี ี เพอื่ ใชเ้ ป็นขอ้ มลู อ้างอิงและ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ ของการดาํ เนินการจัดการพลังงานในการประเมนิ การจัดการพลงั งานนน้ั นอกจากการตรวจประเมนิ ภายใน โดยคณะผู้ตรวจ ประเมินฯ ที่องค์กรจัดให้มีข้นึ แล้ว วิธีการจัดการพลงั งานยังจําเป็นต้องไดร้ ับการตรวจสอบ และรบั รอง จากทีมงานของผู้ตรวจสอบพลงั งานที่ขึน้ ทะเบียนกบั พพ. การจัดทาํ รายงานการจัดการพลงั งาน เจา้ ของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคมุ ตอ้ งจดั ทาํ รายงานการ จดั การพลังงานเพ่ือ จดั สง่ ให้อธิบดกี รมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนุรักษพ์ ลังงานภายในเดือนมีนาคมของทุก ปี โดยใน รายงานดังกล่าวตอ้ งมรี ายละเอียดของข้อมูล พร้อมท้ังเอกสารและหลกั ฐานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกบั การ ดาํ เนนิ การจัดการพลังงานท้ัง 8 ขั้นตอน ตามที่ไดก้ ล่าวไปแล้วในบทท่ี 1 ถงึ บทท่ี 8 โดยรายงานการจัด การพลังงานดังกลา่ วนั้น จะต้องไดร้ บั การตรวจสอบและรบั รองจากผตู้ รวจสอบพลงั งาน ซ่งึ จะพิจารณา จาก เอกสารและหลักฐานที่เจา้ ของโรงงานควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคุมจัดทําขึ้นตามขน้ั ตอนต่างๆ ของการ ดําเนินการจดั การพลงั งาน และอาจรวมถึงการสอบถามหรอื สมั ภาษณ์พนกั งานหรือบุคลากรที่ เก่ียวข้องเพ่ือ เป็นหลกั ฐานอ้างองิ วา่ โรงงานควบคมุ หรืออาคารควบคมุ นน้ั ไดด้ ําเนนิ การจดั การพลังงาน จรงิ และในการ ดาํ เนนิ การแตล่ ะขนั้ ตอนน้ันมีความถูกต้องและครบถว้ นมากนอ้ ยเพยี งใด ควรตอ้ งมีการ ปรับปรงุ หรือไม่ การจดั ส่งรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน เจา้ ของโรงงานควบคมุ และเจ้าของอาคารควบคุมตอ้ งจดั ทํารายงานการจดั การพลงั งาน และ จัดส่ง รายงานผลการตรวจสอบและรบั รองการจัดการพลังงานทีด่ ําเนนิ การ โดยผู้ตรวจสอบพลังงานทข่ี ึน้ ทะเบียน กับ กรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ใหแ้ ก่อธิบดีกรมพฒั นาพลงั งาน ทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน ภายในเดือนมนี าคมของทกุ ปี เวน้ แตใ่ นกรณที ี่ในปที ลี่ ว่ งมานนั้ เจา้ ของ โรงงานควบคมุ หรอื อาคาร ควบคุมมรี ะยะเวลาที่ต้องดําเนนิ กาจดั การพลงั งานตามที่กําหนดใน กฎกระทรวงนีจ้ นถึงวนั ที่ 31 ธันวาคม นอ้ ยกวา่ 180 วนั ให้ส่งรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการจดั การพลงั งานของระยะเวลาดงั กล่าวภายใน เดือนมีนาคมของปีถัดไป โดยรายงานผลการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลงั งานที่จัดสง่ ให้ กรมพฒั นา พลังงานทดแทนและอนรุ ักษ์พลังงานนน้ั ต้อง ประกอบด้วย รายการตรวจสอบการจัดการพลงั งาน และ รายงานการจัการพลงั งาน
79 บรรณานกุ รม https://greedisgoods.com/tpm-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD/ http://etheses.aru.ac.th/PDF/1255661063_05.PDF http://www.dms.eng.su.ac.th/filebox/FileData/MM001.pdf https://besterlife.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0 %B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0 %B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%99%E0% B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87/ http://www.tpmconsulting.org/topmenu_show.php?id=4
Search