Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนวิชาศิลปะ ม ต้น

หนังสือเรียนวิชาศิลปะ ม ต้น

Published by nusau24, 2020-06-01 02:02:13

Description: หนังสือเรียนวิชาศิลปะ ม ต้น

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนื้อหาทต่ี อ งรู รายวิชาศิลปศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน รหสั ทช21003 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ หามจาํ หนาย หนงั สือเรยี นน้ีจดั พิมพดว ยเงินงบประมาณแผนดินเพอื่ การศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลขิ สิทธเิ์ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน.สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

3

4 สารบญั หนา คํานํา คําแนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เน้อื หาทตี่ อ งรู บทที่ 1 ทศั นศลิ ปไ ทย เรือ่ งที่ 1.1 จดุ เสน สี แสง เงา รปู รา ง และรูปทรงท่ีใชใ นทศั นศลิ ปไ ทย 1 เรอ่ื งที่ 1.2 ความหมายและความเปนมาของทัศนศิลปไ ทย 4 เรอ่ื งที่ 1.3 ความงามและคุณคาของทศั นศลิ ปไทย 16 เรื่องท่ี 1.4 การนําความงามของธรรมชาตมิ าสรา งสรรคผลงาน 17 เรอ่ื งท่ี 1.5 ความคดิ สรา งสรรค ในการนําเอาวัสดุและส่งิ ของตาง ๆ มาตกแต รางกายและสถานท่ี 18 เรอ่ื งท่ี 1.6 คุณคาของความซาบซงึ้ ของวัฒนธรรมประเพณขี องชาติ 21 กิจกรรมทา ยบท 23 บทที่ 2 ดนตรีไทย เรอ่ื งท่ี 2.1 ประวัติดนตรไี ทย 27 เรอ่ื งที่ 2.2 เทคนิคและวิธกี ารเลน ของเครือ่ งดนตรีไทย 32 เรอ่ื งท่ี 2.3 ประวตั ิคุณคา ภูมปิ ญ ญาของดนตรีไทย 41 เรื่องท่ี 2.4 คุณคา ความงาม ความไพเราะ ของเพลงและเครื่องดนตรีไทย 43 กิจกรรมทายบท 45 บทที่ 3 นาฏศลิ ปไทย เรอ่ื งที่ 3.1 ความหมายและความเปนมาของนาฏศิลปไทย 49 เรื่องท่ี 3.2 ประเภทของนาฏศลิ ปไทย 51 เรื่องท่ี 3.3 นาฏยศัพท 57 เรอ่ื งท่ี 3.4 ราํ วงมาตรฐาน 60 เรื่องที่ 3.5 การอนรุ ักษนาฏศิลปไ ทย 63 กจิ กรรมทายบท 65

สารบัญ (ตอ ) 5 บทท่ี 4 นาฏศลิ ปไ ทยกบั การประกอบอาชีพ หนา เรอื่ งท่ี 4.1 แนวทางการนาํ นาฏศิลปไ ปใชใ นการประกอบอาชีพ เรอื่ งที่ 4.2 อาชพี การแสดงหนงั ตะลงุ 70 เรือ่ งที่ 4.3 อาชีพการแสดงลิเก 70 เรื่องท่ี 4.4 อาชีพการแสดงหมอลํา 71 กิจกรรมทา ยบท 72 75 เฉลยกิจกรรมทา ยบท 77 บรรณานกุ รม 93 คณะผจู ดั ทํา 94

6 คําแนะนําการใชเอกสารสรปุ เนื้อหาทต่ี องรู หนังสอื เรยี นสรปุ เนอ้ื หา รายวิชาแบบเรียน กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 เปนหนังสอื สรปุ เนอ้ื หาเรยี นทจ่ี ดั ทาํ ข้ึน เพื่อใหผเู รยี น ที่เปนนักศกึ ษา กศน. สามารถทําความเขาใจ และเรียนรูในสาระสาํ คัญของเน้อื หารายวิชา สาํ คญั ๆ ไดสะดวกและสามารถเขาถึงแกน ของเนอื้ หาไดดขี ึ้น ในการศกึ ษาหนังสอื สรุปเนอ้ื หารายวิชา ผูเรยี นควรปฏิบัติดงั นี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าจากหนงั สือเรยี นใหใ นหวั ขอ สาระสาํ คญั ผลการเรียนรูท่ี คาดหวัง และขอบขายเนือ้ หาของรายวิชานน้ั ๆ เขา ใจกอ น 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนอ้ื หาของหนังสือสรุปเน้ือหาหนงั สือเรยี นเลม นี้ โดยศกึ ษาแต ละบทอยางละเอียด ทําแบบฝก หดั หรอื กจิ กรรมตามทกี่ าํ หนด และทาํ ความเขา ใจในเนอื้ หา นัน้ ใหมใ หเขา ใจ กอนที่จะศึกษาเรอื่ งตอ ๆ ไป 3. หากตองการศกึ ษา รายละเอยี ดเนือ้ หาเพ่มิ เตมิ จากหนงั สอื สรปุ เนอ้ื หาหนังสือ เรยี นนี้ ใหผเู รยี นศึกษาเพิ่มเติมจากหนงั สอื เรยี น หรือครผู สู อนของทา น

1 บทท่ี 1 ทัศนศลิ ปไทย เรือ่ งท่ี 1.1 จดุ เสน สี แสง เงา รปู รา ง และรปู ทรงท่ใี ชในทัศนศลิ ปไ ทย จุดและเสน ใหค วามรูสกึ ทางทัศนศลิ ปอ ยา งไร จดุ เปน องคประกอบทเี่ ล็กทีส่ ดุ การนาํ จดุ มาเรยี งตอกนั จะเปนเสน โดยเสน ตาง ๆ ให ความรสู ึก ดงั นี้ เสน ตรงแนวต้ัง ใหความรูส ึกแข็งแรง สูงเดน สงางาม นา เกรงขาม เสนตรงแนวนอน ใหความรูส ึกสงบราบเรยี บ กวา งขวาง การพกั ผอน หยุดน่งิ เสนตรงแนวเฉียง ใหค วามรสู กึ ไมป ลอดภยั การลม ไมห ยดุ นิง่ เสน ตดั กัน ใหความรสู ึกประสานกัน แขง็ แรง เสนโคง ใหความรสู กึ ออ นโยนนมุ นวล เสน คด ใหค วามรสู ึกเคลอื่ นไหวไหลเลื่อน ราเริง ตอเน่ือง เสนประ ใหความรูสึกขาดหาย ลกึ ลบั ไมส มบรณู  แสดงสว นทม่ี องไมเ ห็น เสน ขด ใหค วามรสู ึกหมนุ เวยี นมนึ งง เสน หยกั ใหความรสู กึ ขดั แยง นากลวั ตน่ื เตน แปลกตา นักออกแบบนําเอาความรสู กึ ทีม่ ีตอ เสน ที่แตกตา งกนั มาใชใ นงานศิลปะประยกุ ต โดย ใชเสน มาเปลย่ี นรูปรา ง เพอื่ ใหเกิดความรสู กึ เคลอ่ื นไหวและทาํ ใหส อ่ื ความหมายไดดยี ิง่ ข้นึ สีคอื อะไร แบงเปน กป่ี ระเภท สี หมายถงึ ลกั ษณะของแสงทป่ี รากฏแกส ายตาของเรา ใหเ ห็นเปน สีขาว ดํา แดง เขียว ฯลฯ หรอื การสะทอ นของรัศมขี องแสงมาสูตาเรา แมสี คือ สีซึ่งเปนสีหลัก ( สีท่ีไมมีสีอ่ืนมาผสมเปนแมสีได ) แบงออกเปน 2 ประเภท คอื แมส ีของแสง และแมส ีวตั ถุธาตุ 1. สีของแสง เกดิ จากการหักเหของแสงผานแทง แกว ปรซิ มึ มี 7 สี คือ มวง คราม น้ํา เงิน เขียว เหลือง แสด แดง แมสีของแสง ประกอบดวย สีแดง สีเขียว และสีนํ้าเงิน โดย สามารถผสมแมส ใี หเกิดเปนสอี น่ื ๆไดด งั นี้ สแี ดง + สีเขียว = สีเหลือง, สีแดง + สีนํ้าเงิน = สมี ว งแดง, สีเขียว + สนี ้ําเงิน = สฟี า อมเขยี ว

2 2. แมสวี ัตถธุ าตุ เปน สที ่ไี ดม าจากธรรมชาติ และจากการสังเคราะหโดยกระบวนทาง เคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีนํ้าเงิน เม่ือนํามาผสมกันจะทําใหเกิด วงจรสี โดยมี หลักการผสมสีดงั น้ี สีแดง + สีเหลอื ง = สสี ม , สีแดง + สีน้ําเงนิ = สีมวง, สเี หลือง + สีน้ําเงนิ = สเี ขียว วรรณะของสคี ืออะไร ประกอบดวยสีใดบาง วรรณะของสี คือ สีทใ่ี หความรสู กึ รอ น-เยน็ ในวงจรสจี ะมสี ีรอ น 7 สี และสีเยน็ 7 สี โดยจะมีสมี ว งกบั สเี หลือง ซึ่งเปนไดท งั้ สองวรรณะ 1. สรี อ น ใหค วามรสู ึกรนุ แรง รอ น ตน่ื เตน ประกอบดวย สเี หลอื ง สีเหลอื งสม สสี ม สีแดงสม สแี ดง สมี ว งแดง สมี ว ง 2. สีเยน็ ใหความรสู ึกเย็น สงบ สบายตาประกอบดว ย สเี หลอื ง สเี ขยี วเหลือง สีเขียว สเี ขยี วนํา้ เงิน สีน้ําเงิน สมี วงนา้ํ เงิน สมี ว ง สตี รงขา ม หรือสตี ัดกนั หรอื สคี ูปฏปิ กษ เปน สีท่ีมีคา ความเขมของสีตัดกันอยางรุนแรง โดยมากไมนยิ มนํามาใชรว มกนั การนําสตี รงขา มกันมาใชรว มกนั อาจกระทําไดโดย 1. มีพื้นที่ ของสีหนง่ึ มาก อีกสีหนึ่งนอย 2. ผสมสีอื่น ๆ ลงไปในสีใดสีหนึ่ง หรือท้ังสองสี 3. ผสมสีตรง ขา มลงไปในสีทัง้ สองสี สีกลาง คือ สีท่ีเขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีน้ําตาล กับ สีเทา สี นา้ํ ตาล สีใหค วามรสู ึกอยางไร สีแดง ใหความรสู ึกรอ น รุนแรง ทา ทาย ตื่นเตน เราใจ มพี ลัง ความรกั ความสําคัญ สีสม ใหความรสู ึกรอน อบอนุ สดใส มชี วี ิตชวี า การปลดปลอ ย ความเปรยี้ ว การระวงั สเี หลอื ง ใหค วามรสู ึก แจม ใส ความรา เริง ความเบกิ บานสดช่นื ชวี ิตใหม ความสด ใหม สีเขยี วแก จะทําใหเ กดิ ความรูส ึกเศรา ใจความแกช รา สีน้ําเงิน ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สฟี า ใหความรูสึก ปลอดโปรงโลง กวา ง เบา สะอาด ปลอดภัย สวาง ลมหายใจ ความ เปนอิสระเสรีภาพ การชว ยเหลือ แบง ปน สีคราม จะทําใหเกิดความรูสึกสงบ

3 สีมวง ใหค วามรสู กึ มีเสนห  นาตดิ ตาม เรน ลับ ซอนเรน มอี ํานาจ มพี ลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ สีนํ้าตาล ใหค วามรูสึกเกา หนกั สงบเงียบ สีขาว ใหความรสู ึกบริสทุ ธิ์ สะอาด ใหม สดใส สดี าํ ใหค วามรสู กึ หนัก หดหู เศรา ใจ ทึบตนั สีชมพู ใหความรูสึก ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส หนุมสาว นารัก สดใส สีไพล จะทําใหเ กิดความรสู ึกกระชุมกระชวย ความเปน หนุมสาว สเี ทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ลึกลับ หดหู ความชรา ความสงบ เงียบ สุภาพ สุขมุ ถอมตน สที อง ใหค วามรูส กึ หรหู รา โออา มีราคา สูงคา ส่ิงสําคัญ ความเจริญรุงเรือง ความสุข ความรา่ํ รวย การแผกระจาย การประยุกตใ ชสี ควรคาํ นงึ ถงึ สิ่งใดบาง 1. การใชสกี ลมกลืนกนั เปน การใชส ีหรอื นํา้ หนกั ของสีใหใกลเคียงกัน หรือคลายคลึง กัน เชน การใชสแี บบเอกรงค เปนการใชสเี ดยี วทม่ี ีน้าํ หนกั ออนแกหลายลําดับ 2. การใชสีตัดกนั จะชวยใหเ กดิ ความนา สนใจในทนั ทที ่ีพบเหน็ โดยควรคํานึงถงึ ความ เปนเอกภาพดวย วธิ ีการใชม หี ลายวิธี เชน ใชสใี หมีปริมาณตา งกนั เชน ใชสีแดง 20 % สีเขียว 80% แสงและเงาคอื อะไรมคี วามสาํ คัญอยา งไร แสงและเงา หมายถึง แสงที่สองมากระทบพ้ืนผิวที่มีสีออนแกและพ้ืนผิวสูงต่ํา โคงนูน เรียบหรือขรขุ ระ ทําใหปรากฏแสงและเงาแตกตา งกนั ความเขมของเงาจะข้ึนอยูกับความเขม ของแสง แสงสวางมากเงาจะเขมข้ึน แสงสวา งนอย เงาจะไมชัดเจน ความสาํ คัญของคา นาํ้ หนกั ของแสงและเงา คอื ใหค วามแตกตางระหวา งรปู และพน้ื หรอื รูปทรงกับทว่ี าง ใหค วามรสู กึ เคล่อื นไหว ใหความรูส ึกเปน 2 มติ ิ แกร ูปราง และความ เปน 3 มิตแิ กร ปู ทรง ทาํ ใหเ กิดระยะความตน้ื - ลึก และระยะใกล - ไกลของภาพ และทาํ ให เกดิ ความกลมกลืนประสานกนั ของภาพ

4 เรอื่ งที่ 1.2 ความหมายและความเปนมาของทศั นศิลปไ ทย ศิลปะไทยมีความเปน มาอยางไร ศิลปะไทยแบง ไดเปน ยคุ ตา ง ๆ ดังนี้ 1. ยคุ กอ นประวตั ิศาสตรไ ทย หมายถึง ชว งกอ นที่คนไทยจะรวมตวั กันเปนปกแผน ยัง ไมม ี ราชธานขี องตนเองทีแ่ นน อน แบง เปน 1.1 แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200) ศูนยกลางอยูนครปฐม เปน ศิลปะแบบอุดมคติ รุนแรกเปนฝมือชาวอินเดีย แตมาระยะหลังเปนฝมือของชาวพื้นเมือง ศิลปะท่ีสาํ คญั คอื - ประติมากรรม พระพทุ ธรปู แบบทวาราวดี สงั เกตไดชัดเจนคอื พระพุทธรูปน่ังหอย พระบาทและยกพระหัตถขึ้น โดยสวนมากสลักดวยหินปูน เชน บริเวณพระปฐมเจดีย คือ ธรรมจกั รกับ กวางหมอบ - สถาปต ยกรรม ไดแก โบราณสถาน เชน เจดีย วดั สถูป สําหรับเจดียนครปฐม ถา ยกเอาพระปรางคท่ีอยขู า งบนออกจะเห็นวามรี ปู รา งคลายสถูปท่ีสรางครั้งพระเจาอโศก ไดรับ อิทธพิ ลจากศลิ ปะอนิ เดยี โดยมกี ารทาํ เปนฐานสี่เหลี่ยม มีองคระฆังเปนรูปโอคว่ํา และมียอด แหลมอยูขา งบน สว นอกี แบบหน่ึงมีฐานเปนรูปเหลี่ยมเชนกัน แตมีองคระฆังเปนรูปคลายกับ บาตรควํ่าและมียอดทําเปน แผนกลม ๆ วางซอนกันขึน้ ไป บนยอดสดุ มลี กู แกว 1.2 แบบศรีวิชัย (ราว พ.ศ. 1200 - 1700) เปนศิลปะแบบอินเดีย - ชวา ศูนยกลางของศลิ ปะน้ีอยูท ไี่ ชยา จังหวัดสุราษฎรธานี - ประติมากรรม พระพทุ ธรูปและพระโพธสิ ตั วส วนมากทาํ ดวยสัมฤทธิและศิลา พบ ท่อี ําเภอไชยา จังหวดั สุราษฎรธานี พระโพธสิ ตั วทเ่ี กา ที่สุดคือพระโพธิสัตวซ่ึงสลักดวยศิลา ซึ่ง ไดรับอิทธิพลแบบคุปตะ สวนพระโพธิสัตวท่ีสวยงามท่ีสุด คือพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ซ่ึง หลอดวยสัมฤทธิ์ แตเหลือเพียงคร่ึงองค ไดรับอิทธิพลศิลปะแบบหลังคุปตะและ ปาละเสนะ พระพิมพสว นมากทาํ ดว ยดนิ ดิบ - สถาปต ยกรรม มีอยูมากที่อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎธานี เชน พระบรมธาตุไช ยา ซึ่งมีลกั ษณะคลา ยคลึงกบั บรรดาเจดยี ใ นเกาะชวามาก มีฐานเตีย้ รองรับ อาคารแบบยอมุม และมีมขุ ยืน่ ออกมาทง้ั สี่ทิศและมยี อดทาํ เปนฉัตร 1.3 แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800) มีลักษณะคลายของขอม ศูนยกลางอยูท่ี เมืองลพบุรี ศาสนาพราหมณเขามามบี ทบาทตามความเช่อื สรางเทวาสถานอนั ใหญโตแข็งแรง คงทน

5 - ประตมิ ากรรม ลักษณะพระพทุ ธรูปมหี นาผากกวา ง คางเปน เหล่ียม ปากแบะ ริม ฝป ากหนา พระขนงนนู เปน สัน พระนาสิกโคงและยาว พระหณเุ ปน ปมปา น ไรพระศกท่ีตอกับ พระนลาฏหนาโต อุณหิศใหญเปนรูปฝาชี มีลวดลายคลายมงกุฎเทวรูป มีท้ังพระพุทธรูป ประทับนั่งและยืน นิยมสรางพระพุทธรูปน่ังขัดสมาธิปางนาคปรกกันมาก พระพุทธรูปมีทั้ง หลอดวยสัมฤทธ์ิ และสลักดวยศิลา นอกจากนี้ก็ยังมีพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร หรือนาง ปญญาบารมี เทวรูปก็มี เชน พระอิศวร พระนารายณ นอกจากนี้ก็ยังมีพระพิมพ ท้ังท่ีสราง ดวยดนิ เผาและโลหะ - สถาปต ยกรรม สรางปรางคเ ปนเทวสถาน การกอสรางใชวัสดทุ ่ีแขง็ แรงทนทาน ท่ี มอี ยตู ามทองถ่นิ เชน ศิลาแลง หินทราย สรางขึ้นท้ังในศาสนาพราหมณ และศาสนาพุทธ ท่ี สําคัญไดแก ปรางคสามยอด จังหวัดลพบุรี, ปรางคแขก จังหวัดลพบุรี, ปราสาทหินพิมาย อําเภอพิมาย จงั หวดั นครราชสีมา, ปราสาทหินศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร, ปราสาทหินพนมรุง จงั หวดั บรุ รี มั ย, ปราสาทเมืองตํา่ จังหวดั บรุ ีรมั ย 2. ชวงศิลปะไทย หมายถึง ชวงท่ีคนไทยรวมตัวกันเปนปกแผน มีราชธานีท่ีแนนอน แลว เปนการผสมผสานของวฒั นธรรมอนิ เดีย จีนและชาติทางตะวันตก แบงออกเปน 5 สมัย คือ 2.1 สมัยเชียงแสน ศิลปะเชียงแสน นับเปนศิลปะไทยอยางแทจริง เปนศิลปะท่ี กาํ เนิดขึ้นในบริเวณภาคเหนอื ของประเทศไทย ซง่ึ เปนช่อื เมืองเกา ในจังหวัดเชียงราย - ประติมากรรม ไดแ ก พระพุทธรปู ท้งั ท่หี ลอ ดว ยสาํ ริดและปนดวยปูน พระพุทธรูป เชียงแสนมี 2 รุน คือ รุนที่ 1 เปนพระพุทธรูปท่ีมีพระรัศมีเปนดอกบัวตูมหรือลูกแกว ขมวดพระเกศา ใหญ พระพักตรกลมอมย้ิม พระหนุ (คาง) เปนปม พระองคอวบ พระอุระนูนและกวาง ดุจ หนา อกสงิ ห ชายจีวรเหนอื พระองั สาซา ยส้ันปลายมีแฉกเปน เขยี้ วตะขาบ ชอบทําปางมารวิชัย และขัดสมาธเิ พชร (แลเห็นฝาพระบาททัง้ 2 ขาง) และท่ีฐานจะทาํ เปนรูปบัวควํ่าและบัวหงาย เปนพระพทุ ธรปู ที่มีอทิ ธพิ ลแบบปาละของอินเดีย รนุ ท่ี 2 เรียกวาเชยี งแสนรนุ หลังหรือเชียงใหม เปนพระพุทธรูปท่ีไดรับอิทธิพลจาก ศิลปะสุโขทัย มีลักษณะ พระรัศมีเปนดอกบัวตูมที่สูงข้ึน บางคร้ังก็เปนเปลวแบบสุโขทัย ขมวดพระเกศาเลก็ พระวรกายบางองคก็อวบอวนและพระอุระนูน แตมีชายจีวรยาวลงมาถึง พระนาภี ชอบทําน่ังขัดสมาธิราบ ประติมากรรมรูปปนรูปเทวดาและนางฟา ที่ประดิษฐาน

6 เจดีย วดั เจ็ดยอด สรา งในสมยั พระเจา ติโลกราช มที รวดทรงเชนเดียวกบั พระพทุ ธรูปเชียงแสน รุน 2 - สถาปต ยกรรม โบสถ วิหาร ตัวอาคารกออิฐถือปูน หลังคาเปนแบบทรงสูงซอน กันหลายช้ัน ลดหลั่นข้นึ ไปถงึ ยอด หลังคาโบสถ วหิ ารสมัยเชียงแสนมีลักษณะพิเศษคือ “เปน หลังคาท่ีแสดงโครงสรา งเปด เผย” คือไมมฝี า เพดาน จงึ สามารถมองเหน็ เครือ่ งหลังคาเกือบทุก ชนิ้ การประดบั ตกแตง อาคารนยิ มตกแตง ดวยเครื่องไมแกะสลักและลายรูปปน ลักษณะเจดีย แบบท่วั ๆ ไปของเชยี งแสนจะมฐี านสูงมาก องคระฆงั ถูกบบี ใหเลก็ ลง มีบัลลังกปลองไฉนและที่ ยอดมีฉตั รกนั้ เจดียบ างองคเ ปน 8 เหลี่ยม และบางองคเ ปนเจดียท รงกลม 2.2 สมัยสโุ ขทัย สุโขทัยไดรับการยอมรบั กนั วาเปนสมัยทศี่ ิลปะไทยเจริญถึง ขน้ั สงู สดุ โดยเฉพาะการสรา งพระพทุ ธรูปมลี กั ษณะเปนของตนเองมากที่สดุ - ประตมิ ากรรม การสรางพระพุทธรปู มกี ารสราง พระพทุ ธรูปครบ 4 อิริยาบถ คือ พระพุทธรูปยนื นงั่ เดนิ นอน พระพุทธรปู สมยั สโุ ขทยั แบงออกไดเปน 4 หมวด คอื 1. หมวดใหญ มีพระพักตรรูปไข พระขนงโกง พระนาสิกงุม ไมมีไรพระศก ถามีก็ เปน เสนตน้ื ๆ ไมน ูนขึน้ มากนกั พระโอษฐอ มยม้ิ รศั มีเปนเปลว พระอังสาใหญ บ้ันพระองคเล็ก พระองคออนชอย งามสงา จีวรไมแข็งกระดาง ครองจีวรหมเฉียง ชายจีวรยาวลงมาถึงพระ นาภี ปลายเปนลายเข้ียวตะขาบ ชอบทําปางมารวิชัยประทับนั่งขัดสมาธิราบ ฐานเปนหนา กระดานเกลีย้ ง พระพทุ ธรูปหมวดใหญจ ัดวา เปนแบบสโุ ขทยั แท 2. หมวดกําแพงเพช แบบน้ีรูปรางหนาตาดูจืดกวาหมวดใหญ พระพักตรตอนบน กวาง พระหนุเสยี้ ม 3. หมวดพระพุทธชินราช พระพักตรรูปไขคอนขางกลม พระปรางคคอนขางอวบ พระอาการสงบเสงี่ยม พระองคแข็งมากกวาออนชอย นิ้วพระหัตถท้ังส่ีมีปลายเสมอกัน เชน พระพุทธชินราชองคจรงิ ท่วี ัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก และพระพุทธชินราชองค จําลองทว่ี ัดเบญจมบพติ ร 4. หมวดเบด็ เตล็ด หรอื หมวดวัดตะกวน พระพทุ ธรปู มีรศั มีเปนดอกบัวตูม ชายจีวร หรือสังฆาฏิส้ัน พระนลาฏแคบ ฐานประดับดวยกลีบบัว พระพุทธสิหิงคก็ไดมากจากเกาะ ลังกา ในสมัยพอ ขุนรามคาํ แหง แตล กั ษณะฝม ือชา งเปนศิลปะไทยปนลังกา พระพิมพมีทั้งทํา ดวยดินเผาและโลหะ แตชอบทําพระปางลลี ามาก และชอบทําพระประทับนั่งหลายๆ สิบองค ในแผนพิมพอันเดียวกัน เรียกวา พระกําแพงหารอย นอกจากนี้ก็ยังมีเทวรูปในศาสนา พราหมณ คอื พระอนิ ทร และพระนารายณ

7 - สถาปตยกรรม การสรางโบสถจะมีขนาดเล็กกวาวิหารมาก สวนหลังคาประดับ ดวยเคร่ืองสังคโลก เชน สวนของชอฟา ใบระกา หางหงส อันเปนลักษณะพิเศษของ สถาปตยกรรมสโุ ขทัย เจดยี  รูปแบบของเจดยี ไดรับอทิ ธพิ ลจากเจดียล ังกา คือ เจดียทรงระฆัง กลม ท่ีฐานเจดียมีรูปชางลอมรอบ เชน เจดียวัดชางลอม ที่อําเภอศรีสัชนาลัย สุโขทัย นอกจากนั้นสุโขทัยยังสรางเจดียท่ีมีลักษณะของสุโขทัยเอง เปนแบบสุโขทัยแทเรียกวา “เจดียทรงพมุ ขาวบณิ ฑ” คอื เปนเจดียท ่ีมีฐานสูงยอมุมไม 20 ท่ีสําคัญคือ องคระฆังทําเปน รปู ดอกบัวตมู หรือพมุ ขาวบิณฑ น่คี ือเจดียท่ีมีลักษณะพเิ ศษไมเ คยมใี นสมยั อ่นื มากอนเลย - จติ รกรรม พบหลกั ฐานมีนอยมาก สวนใหญเขียนตกแตงสถาปตยกรรมดวยสีฝุน จึงสลายตัวไปตามกาลเวลา แตเ ทา ทีพ่ บ เชน ที่ผนังสถูปวัดเจดียเจ็ดแถวศรีสัชนาลัย ซุมสถูป วัดมหาธาตสุ โุ ขทัย สีทใ่ี ชเขยี นภาพไดม ากจากธรรมชาติโดยตรง คือ ดินและยางไม มักระบาย สีแดง ตดั เสนดาํ ผมดํา ผวิ เน้อื ขาว ลวดลายมีสเี หลืองบางเล็กนอย จิตรกรรมอีกลักษณะหน่ึง คือการเขียนลวดลายลงบนเครื่องถวยชามสังคโลก ซึ่งเปนศิลปะหัตถกรรมท่ีเปน ลักษณะเฉพาะของศลิ ปะสมัยสโุ ขทัย สามารถสง ขายเปน สินคาออก แหลงผลิตท่ีสําคัญ ไดแก ทเ่ี ตาทุเรยี ง ปจจบุ นั อยใู นเขตเมืองศรสี ัชนาลัย 2.3 สมยั อทู อง เปนศลิ ปะทเ่ี กิดข้นึ ในภาคกลางของประเทศไทย ไดรบั อทิ ธิพลจาก ศลิ ปะทวาราวดี ขอม เชยี งแสนและศลิ ปะสโุ ขทัย พบมากทส่ี ุดในบรเิ วณรอบเกาะเมืองอยุธยา เมอื งลพบุรี สุพรรณบุรี และเมืองสรรคบุรี (อยูในเขตจังหวัดชัยนาท) ศิลปะอูทองเปนศิลปะ อันเนือ่ งมาจาก พระพทุ ธศาสนานกิ ายหินยาน - ประติมากรรม พระพุทธรูปแบบอูทอง มีไรพระศก ชายจีวรหรือสังฆาฏิตัดเปน เสนตรง ประทับขดั สมาธริ าบ ปางมารวิชยั และมีฐานเปนหนากระดานแอนเปนรองเขาขางใน สําหรบั อิทธิพลทวาราวดีและขอมผสมกัน พระพุทธรูป มักมีรัศมี เปนรูปบัวตูม สวนอิทธิพล ขอมหรือลพบรุ ี พระพุทธรปู จะมรี ศั มี เปน เปลว ถงึ แมจ ะมีอิทธพิ ลของ ศิลปะสโุ ขทัยเขามาปน อยมู าก แตพ ระพทุ ธรปู ก็ยังคงมีไรพระศก และฐานเปนหนา กระดานแอนเปนรอ งเขา ขา งใน - สถาปตยกรรม เจดยี ท ่มี ที รวดทรงสูงชะลดู และเปน เจดียท ราย ทีบ่ รเิ วณวัดพระศรี รัตน-มหาธาตุ เมืองลพบุรี เจดียวัดแกว เมืองสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สวนพระมหาธาตุ ท่ี จังหวดั ชัยนาท เจดียแบบอูทองมีลักษณะเปนเจดียทรงกลม มีเจดียบริวารประกอบโดยรอบ ปรางคแบบอทู องก็มี เชน ปรางคอ งคใหญท่ีวัดพระศรีรตั นมหาธาตุ เมืองลพบุรี ซ่ึงเปนปรางค ที่เลยี นแบบปรางคข อม แตไ ดแ กไขใหมรี ปู ทรงสงู ข้ึน

8 2.4 สมยั อยุธยา (ราว พ.ศ. 1893 - 2310) มีความเชื่อวากษตั รยิ คอื สมมุติเทพ อัน ไดรับอทิ ธิพลจากลทั ธิเทวราชของขอม - ประตมิ ากรรม พระพทุ ธรปู ในสมยั อยธุ ยาไดร ับอิทธิพลจากศลิ ปะสุโขทัย แตยังคง ลักษณะของอูทองไวบาง จึงดูไมงดงามเทาท่ีควร แตฐานมีลวดลายเครื่องประดับมากมาย หลังจากรัชกาลของพระรามาธบิ ดที ีแ่ ลว พระพุทธรปู นยิ มสลักดว ยศิลาทรายมาก พระพุทธรูป ในสมัยพระเจาปราสาททองและพระนารายณมหาราช มักจะมีพระเนตรและพระโอษฐเปน ขอบสองชัน้ หรอื ไมกม็ พี ระมสั สเุ ล็ก ๆ อยูเหนือพระโอษฐ นอกจากการสลักพระพุทธรูปแลว ก็มพี ระพทุ ธรูปทรงเคร่อื ง ซงึ่ นิยมทํากันมากในปลายสมยั อยธุ ยาทเ่ี รยี กวา พระทรงเครื่องใหญ และทรงเคร่ืองนอย โดยเฉพาะพระทรงเคร่ืองนอยจะมีกรรเจียกยื่นเปนครีบออกมาเหนือใบ พระกรรณดว ย ซ่ึงแสดงใหเหน็ วา เปน ลกั ษณะแบบอยธุ ยาอยา งแทจรงิ - สถาปต ยกรรม แบงออกเปน 4 สมยั คอื 1. สมยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ 1 (พระเจาอูทอง) และสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สถาปตยกรรมในสมยั นไี้ ดรับอทิ ธพิ ลจากศิลปแบบลพบุรีหรอื อทู องมากกวาสมัยสโุ ขทัย เชน ที่วัดพุทไธสวรรย วัดพระราม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดราชบูรณะ ที่จังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา และวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ที่จังหวดั พิษณุโลก วัดเหลาน้ีจะสรางสถูปราย รอบภายในวัด เพราะถือวาสถูปเปนประธานของพระอาราม และมักสรางเปนปรางคอยาง แบบลพบรุ ีหรอื อทู อง 2. สมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สถาปตยกรรม เปล่ียนจากการสรางพระสถูป เปนพระเจดียอยางทรงลังกา เชน พระเจดียใหญสามองคในวัดพระศรีสรรเพ็ชญ พระเจดีย ใหญทวี่ ดั ใหญช ยั มงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3. สมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง อิทธิพลทางศิลปะขอมไดรับการฟนฟูอีกครั้ง หนง่ึ เชน การสรางปรางคเ ปน ประธานของวดั ท่วี ัดไชยวัฒนาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยามี การสรา งเจดียแ บบยอ มมุ ไมสบิ สองขน้ึ ดวย ท่ีงดงามมากคือ เจดียยอมุมไมสิบสอง ท่ีวัดชุมพล นิกายาราม อาํ เภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. สมัยสมเดจ็ พระเจา บรมโกศ นยิ มสรา งเจดยี ไมส ิบสอง มกี ารบูรณะปฏสิ งั ขรณวัด เกา เชน พระเจดยี ใหญท ีว่ ัดภเู ขาทอง ในระยะปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาโบสถวิหารมักทําฐาน และหลังคาเปนเสนออนโคง แบบตกทองชางหรือแบบกาบสําเภา อันถือเปนลักษณะเฉพาะ ของสถาปตยกรรมแบบอยุธยา สว นผนงั โบสถ วหิ าร กออิฐและเจาะผนงั เปนชองลกู กรง

9 เสากออิฐเปนเสากลมและแปดเหล่ียม มีบัวหัวเสาเปนรูปบัวตูม ไมนิยมสรางใหมีชายคาย่ืน ออกมาจากบัวหัวเสามาก - จติ รกรรม นิยมใชส หี ลายสี มกั ปด ทองบนรปู และลวดลาย แตการเขียนภาพตนไม ภูเขาและนํ้ายังแสดงใหเห็นอิทธิพลจีนอยู ไดแก จิตรกรรม ฝาผนังท่ีโบสถวัดใหญ จังหวัด เพชรบุรี เขียนเรื่องเทพชุมนมุ จิตรกรรมฝาผนังทีพ่ ระวหิ ารหลวงวัดมหาธาตุ ภาพเขียนในพระ สถปู ใหญ ในวัดพระศรสี รรเพช็ ญ จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เปนตน จิตรกรรมอีกประเภทหน่ึงของศิลปะอยุธยา คือ ลายรดน้ําที่เขียนประดับตูพระ ธรรม ท่จี ัดวา งดงามที่สดุ ไดแก ลายน้าํ บนตูพระธรรมฝม อื ครวู ดั เชิงหวาย 2.5 ศิลปะสมัยรตั นโกสนิ ทร เรม่ิ ตง้ั แตสถาปนากรงุ เทพฯ ขึ้นเปน ราชธานี (พ.ศ. 2325) ศลิ ปะสมยั รตั นโกสนิ ทร แบง ออกเปน 3 ยุค คอื ยุคท่ี 1 ต้งั แตร ัชกาลที่ 1 ถงึ รชั กาลที่ 3 - ประติมากรรม ในรัชกาลท่ี 1 ไมคอยพบวาไดสรางประติมากรรมประเภท พระพทุ ธรปู ข้ึนมาใหมม ากนัก แตนิยมการอัญเชิญพระพุทธรูปจากโบราณสถานท่ีรกรางจาก เมืองอ่ืน มาเก็บรักษาไว การสรางพระพุทธรูปทรงเคร่ืองนิยมสรางตอเน่ืองจากสมัยอยุธยา ตอนปลาย มีทั้งพระพุทธรูปทรงเครื่องใหญและทรงเครื่องนอย แตสมัยรัตนโกสินทรเนน เคร่อื งประดับองคม ากกวา ทรวดทรงและสีพระพกั ตร - สถาปตยกรรม ในสมัยรัชการท่ี 1 และ 2 นิยมสรางโบสถ วิหาร ปราสาทราชวัง เลียนแบบสถาปต ยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลา เชน พระอุโบสถวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม เจดยี พ ระศรีสรรเพชญที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และเจดียทรงลังกา เจดียและปรางค ไดรับอิทธิพลจากอยุธยาและอิทธิพลขอม แตไดมีการแกไขรูปทรงจนไดลักษณะเฉพาะของ ปรางคสมัยรัตนโกสินทร คือ เปนปรางคท่ีมีฐานสูงเรือนธาตุและยอดเล็ก สวนยอดมีปรางค เล็กประดับสี่ทิศ เชน ปรางควัดอรุณราชวราราม และปรางคท่ีวัดราชบูรณะเชิงสะพานพุทธ ยอดฟาฯ กรงุ เทพฯ สมยั รัชกาลที่ 3 นิยมสรางโบสถ วิหาร อันไดรับอิทธิพลจากจีน ลักษณะ สถาปต ยกรรมคอื โบสถ วิหาร จะไมม ี ชอ ฟา ใบระกา หางหงสด งั แตกอน เชน พระวิหารที่วัด เทพธิดาราม วิหารวัดกัลยาณมิตร กรุงเทพฯ เปนตน การประดับตกแตงสถาปตยกรรมนิยม ตกแตงดวยชามเบญจรงคเปนลายดอกไม เชน ท่ีหนาบันโบสถ วิหาร มณฑป และซุมประตู ทรงมงกฎุ ทําใหดงู ดงามแปลกตา - จิตรกรรม ไดรบั อิทธิพลจากจติ รกรรมอยธุ ยาตอนปลาย จิตรกรรมที่สําคัญ ไดแก จิตรกรรมฝาผนังที่หอไตรวัดระฆังโฆสิตาราม จิตรกรรมฝาผนังเจริญถึงขั้นสูงสุดในสมัย

10 รัชกาลที่ 3 เปนยุคทองของจิตรกรรมไทย จิตรกรรมฝาผนังในสมัยนี้ มีลักษณะการจัด องคป ระกอบภาพคือ ตอนบนของผนังเขียนภาพ เทพชุมนุม เรียงข้ึนไป 2 - 4 ชั้น ทุกภาพหัน หนาไปทางพระประธานในโบสถ ตอนลางแถวเดียวกับหนาตาง เขียนเปนภาพพุทธประวัติ หรือทศชาติ ดานหนาพระประธาน เขียนภาพพุทธประวัติตอนมารวิชัย ภาพเขียนในสมัยน้ี ลวนใชสีหลายสแี ละปดทองบนภาพทงั้ ส้ิน สีพื้นเปนสเี ขม กวา สมัยอยุธยาอยางมาก ยคุ ที่ 2 ตัง้ แตร ัชกาลท่ี 4 ถงึ รัชกาลที่ 6 ในสมัยรัชกาลท่ี 4 เปนตนมา อยูในชวงท่ีประเทศไทยกําลังเปลี่ยนแปลงพัฒนา บานเมือง มีการเปดสัมพันธไมตรีกับตางชาติ โดยเฉพาะกับชาติตะวันตก ทําใหเกิดมีการ ผสมผสาน การสรางงานศิลปกรรมข้ึนระหวางรูปแบบศิลปะเดิมของไทย กับรูปแบบและ กฎเกณฑท างศิลปกรรมตะวันตก สง ผลใหศลิ ปกรรมของไทยในยุคท่ี 2 นี้ มีลักษณะใหมแปลก ตาข้ึน -จิตรกรรม มีการนาํ ความเชือ่ ในการสรา งจติ รกรรมแนวอุดมคตแิ บบไทย ผสม กลมกลืนกบั แนวเหมือนจริงแบบตะวันตก มีการนาํ วธิ ีการทัศนียวิทยาทีแ่ สดงความลกึ เปน 3 มิติ มรี ะยะใกล ไกล และวิธีการจัดภาพแบบเปนจรงิ ในธรรมชาติมาใชในการเขยี นภาพ จิตรกรคนสาํ คญั ไดแก ขรัวอินโขง ซ่งึ มีผลงานปรากฏในโบสถวัดบรมนิวาส วัดบวรนิเวศวิหาร กรงุ เทพฯ วดั มฌั มิ าวาส จังหวดั สงขลา ในสมยั รัชกาลท่ี 5 เรยี กไดวาเปนยุคของการปฏิรูป (Age of Reform) หรือยุคของ การทําประเทศใหทนั สมยั มีการสรา งศิลปะแนวตะวันตกเพิ่มขึ้น เชน มีการเขียนภาพเหมือน ของบุคคล ซ่ึงแตกอนไมนิยม และการเขียนภาพไมใชเพ่ือตกแตงโบสถ วิหาร ตามความ ศรัทธาในศาสนาเพยี งอยา งเดยี วแลว แตเปนการเขียนภาพเพื่อประดับในวังหรือในบาน สวน ลักษณะการเขียนภาพคน ก็มีการเขียนกลามเน้ือและสัดสวนใหถูกตองตามความเปนจริงใน ธรรมชาติ ในสมัยรชั กาลท่ี 6 ไดส่ังชางเขียนจากอิตาลี คือ นายคารโล ริโกลี่ (Carrlo Rigoli) มารว มกบั ชา งเขยี นไทย เขียนภาพตกแตง พระราชวัง และพระท่ีนั่งตางๆ เชน ภาพพระกรณีย กิจของรชั กาลที่ 5 ภายในโดม ของพระที่นั่งอนนั ตสมาคม เปน ตน -สถาปตยกรรม สมัยรัชกาลท่ี 5 เกิดอาคารรูปทรงแปลกตาเกิดข้ึนมากมาย เชน พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท เปนแบบตะวันตกผสมแบบไทย อาคารพระที่น่ังอนันตสมาคม สรา งตามแบบสถาปตยกรรมสมัยเรเนอซองสของอิตาลี โบสถวัดนิเวศธรรมประวัติที่อําเภอ บางปะอนิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สรางเลียนแบบสถาปตยกรรมของโกธิค (Gothic) และ

11 ในการสรางงานสถาปตยกรรมเหลานั้น ไดมีการนําเอาจิตรกรรมและประติมากรรมเขาไป ตกแตงดว ย -ประตมิ ากรรม นอกจากการสรา งพระพุทธรปู เลียนแบบพระพทุ ธรปู สมยั อืน่ ๆ แลว ยงั หนั มาสรางพระพทุ ธรปู ท่มี รี ูปรา งเหมือนคนจริง มีกลามเนื้อ และมีสัดสวนถูกตอง เชน พระพุทธสิหิงคป ฏิมากร พระพทุ ธรปู ปางไสยาสนประดษิ ฐาน ณ วัดราชาธวิ าส พระพทุ ธ วชิรญาณในพระวิหารเกง วัดบวรนิเวศ พระพุทธอังคีรส และพระพุทธชินราชในพระอุโบสถ วัดราชบพิธและวัดเบญจมบพิตร มีการสรางประติมากรรมและงานตกแตงศาสนสถานเปน จํานวนมาก เชน การปนหลอพระราชานุสาวรียประจํารัชกาลท่ี 1 , 2 และ 3 สัตวหิมพานต เทพชุมนุม ครุฑ ยกั ษ ประดับในวัดพระศรีรตั นศาสดาราม สมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรดใหตั้งกรมศิลปากรขึ้นในป พ.ศ. 2455 ในป พ.ศ. 2456 ทรงโปรดใหตัง้ โรงเรยี นทางดา นงานชางศิลปของไทยข้นึ โดยพระราชทานชอื่ วา โรงเรียนเพาะ ชาง ในป พ.ศ.2488 จึงส่ังประติมากรจากอิตาลี ชื่อ ศาสตราจารย คอราโด เฟอโรช่ี (ศลิ ป พรี ศร)ี มาดาํ เนินงานเก่ียวกับอนุสาวรียพระมหากษตั ริยไทยทีส่ ําคัญไวหลายแหง ยุคที่ 3 ต้งั แตรัชกาลท่ี 7 ถงึ รชั กาลที่ 9 ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการฉลองกรุงรัตนโกสินทรครบ 150 ป ไดมีการบูรณะ ภาพเขียนในวัดพระศรีรัตนศาสดารามคร้ังใหญ ภาพเขียนในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มี วธิ กี ารเขียนภาพแบบตะวันตกทแ่ี สดงระยะใกลไกล มีความลึกทั้งในการจัดองคประกอบภาพ และสิง่ กอสรางของปราสาทราชวัง แตล ักษณะรูปทรงของตัวพระ ตัวนาง ตัวละครอ่ืน ๆ และ เรอื่ งราวเนอื้ หาทีน่ ํามาเปน โครงเรอื่ ง ยังคงลกั ษณะรูปแบบจติ รกรรมไทยอยู ในยคุ นี้ มีจิตรกรที่สําคัญ คอื พระอนุศาสตรจิตรกร (จันทร จิตรกร) ใชเทคนิคการ เขยี นภาพโดยใชสีนาํ้ มัน ท่ีแสดงกายภาคและหลักทางทัศนียวิทยา ที่ถูกตอง มีการใชแสงเงา สรางบรรยากาศใหภ าพดเู ปน จริงตามธรรมชาติ ในสมัยรัชกาลท่ี 8 อยูในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 ศิลปกรรมไทยชวงน้ี มีการ ตื่นตวั ในการสรา งสรรคส งู ทงั้ ในแนวไทยประเพณี และแนวตะวันตก ในสมัยรัชกาลท่ี 9 เปนยคุ ทศ่ี ิลปะไทยกาวเขาสูความเปนตัวของตัวเอง และคนหา แนวทางสวนตัวศิลปน มีอิสระในการนําเสนอรูปแบบท่ีมีเน้ือหา เชน การสรางงานศิลปะท่ีมี แรงบันดาลใจจากธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีการพัฒนาลักษณะท่ีเปนเอกลักษณของตน อยางกวางขวาง ศิลปะที่เกิดข้ึน จึงไดสะทอนแนวคิด ปรัชญา และเทคนิควิธีการ ตามการ

12 เปลยี่ นแปลงของสภาพสังคม และส่ิงแวดลอม ทําใหศิลปกรรมไทยไดกาวยางเขาสูความเปน ศลิ ปะรวมสมัยกบั ศลิ ปะสากลอยา งแทจ รงิ ศลิ ปะไทย มีลกั ษณะอยางไร ศิลปะไทยไดรับอิทธิพลจากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในสังคมไทย ซึ่งมีลักษณะเดน คือ ความงามอยา งน่มิ นวล มคี วามละเอยี ดประณีต ศิลปะไทยมาจากธรรมชาติ เชน หางหงส ติดต้ังอยูปลายจันทันมีลักษณะคลายหาง หงส, รวงผึ้ง ใชประดับอยูใต ข่ือ ดานหนาของโบสถ วิหาร มีลักษณะเปนรูปคลายรังผ้ึง, สาหราย สวนที่ติดอยูกับเสาตอจากรวงผ้ึงลงมา, บัวหัวเสา กลีบบัวประดับบนหัวเสา มี รปู แบบมาจากดอกบัว จติ รกรรมไทยคืออะไร จิตรกรรมไทย จัดเปนภาพเลาเรื่องท่ีเขียนข้ึนดวยความคิดจินตนาการของคนไทย โดยท่ัวไปมักเปน 2 มิติ ไมมีแสงเงา สีพ้ืน จะเปนสีเรียบ ๆ เชน ดํา น้ําตาล เขียว เสนที่ใช มักจะเปนเสนโคงชวยใหภาพดูออนชอย นุมนวล ไมแข็งกระดาง จิตรกรรมไทยมักพบในวัด ตาง ๆ เรียกวา “จติ รกรรมฝาผนัง” มีลักษณะตามอดุ มคตขิ องชางไทย คอื 1. เขยี นสีแบน ไมคํานึงถึงแสงและเงา นยิ มตดั เสน ใหเ ห็นชดั เจน และเสนท่ีใช จะแสดง ความรูส ึกเคลอื่ นไหวนุม นวล 2. เขยี นตวั พระ-นาง เปน แบบละคร มลี ีลา ทาทางเหมอื นกนั ผิดแผกแตกตางกันดวยสี รา งกายและเคร่ืองประดับ 3. เขียนแบบตานกมอง หรือเปนภาพตํ่ากวาสายตา โดยมุมมองจากท่ีสูงลงสูลาง จะเหน็ เปนรปู เร่ืองราวไดต ลอดภาพ 4. เขยี นตดิ ตอกันเปน ตอน ๆ สามารถดูจากซายไปขวาหรือลางและบนไดท่ัวภาพ โดย ขั้นแตละตอนของภาพดวยโขดหิน ตนไม กาํ แพงเมือง เปนตน 5. เขียนประดับตกแตงดวยลวดลายไทย มีสีทองสรางภาพใหเดนเกิดบรรยากาศ สุข สวางและมีคณุ คามากข้นึ

13 ประตมิ ากรรมไทยคืออะไร แบงเปน กป่ี ระเภท ประติมากรรมเปนผลงานศิลปกรรมที่เปนรูปทรง 3 มิติ มีความสูง ความกวางและ ความนูน หรือความลึก มีปริมาตรที่จับตองไดและกินระวางเนื้อที่ในอากาศ เกิดขึ้นจาก กรรมวิธีการสรางสรรคแบบตาง ๆ เชน การปนและหลอ การแกะสลัก การฉลุหรือดุน โดยท่ัวไปมี 3 แบบคือ ประติมากรรมแบบลอยตัว สามารถดูไดโดยรอบ ประติมากรรมนูน มพี ื้นรองรบั สามารถดูไดเฉพาะดานหนา และดา นเฉียงเทา นน้ั และประตมิ ากรรมแบบเจาะลึก ลงไปในพ้ืน สวนใหญเนนเน้ือหาทางศาสนา มักปรากฏอยูตามวัดและวัง มีขนาดต้ังแตเล็ก ที่สุด เชน พระเครื่อง เคร่ืองรางของขลัง จนถึงขนาดใหญที่สุด เชน พระอัจนะหรือพระ อัฏฐารส ซงึ่ เปนพระพทุ ธรูปขนาดใหญ ผลงานประตมิ ากรรมไทย แบง ออกไดเปน 4 ประเภท สรุปไดด ังนี้ 1. ประติมากรรมไทยทีเ่ กดิ ข้ึนจากความเช่ือ ความศรัทธา คตินิยมเกี่ยวของกับศาสนา เชน พระพุทธรูปปางตา ง ๆ ลวดลายของฐานเจดยี ห รอื พระปรางคตาง ๆ 2. ประติมากรรมไทยพวกเครือ่ งใชใ นชีวติ ประจําวนั เชน โอง หมอ ไห ครก กระถาง 3. ประตมิ ากรรมไทยพวกของเลน ไดแก ตกุ ตาดินปน ตุกตาจากกระดาษ ตุกตาจากผา หุนกระบอก ปลาตะเพียนสานใบลาน หนา กาก วสั ดุจากเปลือกหอย ชฎาหวั โขน 4. ประติมากรรมไทยพวกเคร่ืองประดับตกแตง เชน กระถางตน ไม โคมไฟดนิ เผา สถาปตยกรรมไทยคอื อะไร แบงเปน กปี่ ระเภท สถาปตยกรรมไทย หมายถึง ศิลปะการกอสรางของไทย โดยมีมูลเหตุท่ีมาของการ กอสรางอาคารบานเรือนในแตละทองถ่ิน จะมีลักษณะผิดแผกแตกตางกันไปบางตามสภาพ ทางภมู ศิ าสตร และคตนิ ยิ มของแตล ะทองถิน่ สถาปตยกรรมไทย สามารถแบงตามลักษณะการใชง านได 2 ประเภท คอื 1. สถาปต ยกรรมทใ่ี ชเ ปนท่ีอยอู าศัย มีท้ังเรือนไมและเรือนปูน เรือนไมมีอยู 2 ชนิด คอื เรือนเคร่ืองผูก และเรือนเครื่องสับ ลักษณะเรือนไมของไทยในแตละทองถ่ินแตกตางกัน แตโดยท่ัวไปแลวจะมีลักษณะสําคัญรวมกันคือเปนเรือนไมช้ันเดียว ใตถุนสูง หลังคาทรงจ่ัว เอียงลาดชัน

14 ตําหนักและวัง เปนเรือนท่ีอยูของชนช้ันสูง พระราชวงศ หรือท่ีประทับชั้นรองของ พระมหากษัตรยิ  สาํ หรบั พระราชวังเปนท่ีประทับของพระมหากษัตริย พระที่น่ังเปนอาคารที่มี ทอ งพระโรง ซงึ่ มีท่ีประทับสําหรับออกวาราชการหรอื กจิ การอนื่ ๆ 2. สถาปตยกรรมที่เก่ียวของศาสนา ซึ่งสวนใหญอยูในบริเวณสงฆท่ีเรียกวา วัด ซึ่ง ประกอบไปดวยสถาปตยกรรมหลายอยาง ไดแก โบสถ วิหาร กุฏิ หอไตร หอระฆังและ หอกลอง สถปู เจดีย ซึง่ แบง ได 4 ประเภท คอื 1) ธาตุเจดีย 2) ธรรมเจดีย 3) บริโภคเจดีย และ 4) อเุ ทสิกเจดีย โบสถแ ละวิหาร คืออะไร โบสถ หมายถึง สถานท่สี ําหรบั พระสงฆใ ชป ระชุมทาํ สงั ฆกรรม เชน สวดพระปาฏิโมกข และอปุ สมบทเปน ตน ความงามทางศลิ ปะของโบสถม ี 2 ประเภท 1. ความสวยงามภายในโบสถ เนนไปท่ีความสงบน่ิง เพ่ือใหผูเขามากราบไหวมีสมาธิ เย็นตาและเยน็ ใจ ความงามท่ีแทจริงจะเนนท่ีองคพระพุทธรูปที่ประดิษฐานเปนพระประธาน โดยเฉพาะ 2. ความสวยงามภายนอก เปนความงามท้ังโครงสรางและลวดลายประดับตกแตง ความงามภายนอกเนนสะดุดตา โดดเดน สีสันแวววาว ท้ังสีทองและกระจกสี แตยังคงความ เปนเอกลักษณของการเคารพนับถอื สถานที่ใดเรยี กวาโบสถ จะมีวธิ ีสังเกตคอื โบสถจะมใี บเสมา หรือซุม เสมาลอมรอบ โบสถ วหิ าร หมายถึง ทอ่ี ยูอาศัย การสังเกตสถานท่ีใดเรียกวาวิหาร เม่ือเขาไปอยูในบริเวณ วัดสถานที่สรางเปนวิหารจะไมมีใบเสมาลอมรอบ ปจจุบันวิหารใชเปนท่ีประดิษฐาน พระพทุ ธรูป เพ่อื ใหป ระชาชนกราบไหว เปรียบเสมอื นเปนทอี่ ยูข องพระพทุ ธเจา การกําหนดความสําคัญในการวางแปลนของอาคารทั้งสอง โบสถจะมีความสําคัญกวา วิหาร โบสถจะมีโครงสรางใหญกวา สวนใหญจะวางแปลนใหอยูตรงกลาง โดยมีวิหารสราง ประกบอยูดานขา ง

15 โครงสรางของโบสถ – วหิ าร ประกอบดวย ชอฟา หนาบัน ใบระกาและหางหงส สถปู เจดยี  คอื อะไร สถูป - เจดีย คอื ส่งิ กอ สรางสําหรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจา คําวา สถูปเปน ภาษาบาลีหมายถึงมูลดินทีก่ องสงู ขึน้ สันนิษฐานวามลู ดินนั้นเกดิ จากกองเถาถานของ กระดูกคนตายท่ีถูกเผาทับถมกันสูงข้ึนมาจากกองดิน มีการกออิฐปดทับมูลดิน เพื่อปองกัน ไมใหถูกฝนชะลาง ในท่ีสุดการกออิฐปดทับก็สูงขึ้นและกลายเปนเจดียอยางท่ีเราเห็นใน ปจ จุบนั สถปู - เจดยี  ในประเทศไทยไดรับอิทธิพลมาจากอินเดียและลังกา ตอมาชางไทยแตละ ยุคสมัยพัฒนา ปรับปรุงและกลายเปนรูปทรงของไทยตามอุดมคติในการสรางสรรค จินตนาการของชางไทย เชน เจดียยอมุม เจดยี ทรงระฆงั ภาพพิมพ หมายถงึ อะไร การพิมพภาพ หมายถงึ การถา ยทอดรูปแบบจากแมพิมพออกมาเปน ผลงานที่มี ลกั ษณะ เหมือนกันกบั แมพ ิมพท กุ ประการ และไดภาพท่เี หมือนกนั มีจาํ นวนต้ังแต 2 ชนิ้ ข้ึนไป การพมิ พภ าพมีองคป ระกอบทสี่ ําคัญ คอื 1. แมพ มิ พ เปน ส่งิ ที่สาํ คัญท่ีสดุ ในการพมิ พ 2. วสั ดทุ ่ใี ชพ ิมพลงไป 3. สีทีใ่ ชในการพิมพ และ 4. ผพู ิมพ ผลงานทีไ่ ดจ ากการพิมพ มี 2 ชนดิ คือ 1. ภาพพิมพ เปนผลงานพิมพท่เี ปนภาพตา ง ๆ เพอ่ื ความสวยงามหรือบอกเลาเร่ืองราว ตางๆ อาจมขี อความ ตวั อักษร หรอื ตัวเลขประกอบ หรือไมมกี ไ็ ด 2. ส่ิงพิมพ เปนผลงานพิมพท่ีใชบอกเลาเรื่องราวตาง ๆ เปนตัวอักษร ขอความ ตัวเลข อาจมีภาพประกอบหรอื ไมมกี ไ็ ด

16 ประเภทของการพมิ พ แบง ออกไดห ลายประเภทตามลกั ษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. แบงตามจุดมุงหมายในการพิมพ ได 2 ประเภท คือ ศิลปภาพพิมพ และออกแบบ ภาพพิมพ 2. แบง ตามกรรมวิธีในการพิมพ ได 2 ประเภท คือ ภาพพิมพตนแบบ และภาพพิมพ จาํ ลองแบบ 3. แบงตามจํานวนครั้งท่ีพิมพ ได 2 ประเภท คือ ภาพพิมพถาวรและภาพพิมพครั้ง เดยี ว 4. แบงตามประเภทของแมพิมพ ได 4 ประเภท คือ แมพิมพนูน, แมพิมพรองลึก, แมพิมพพน้ื ราบ, แมพมิ พฉ ลุ เรอ่ื งที่ 1.3 ความงามและคณุ คาของทศั นศิลปไ ทย ทศั นศิลปไ ทย มคี ณุ คา อยางไร “ชวี ิตสลาย อาณาจกั รพินาศ ผลประโยชนข องบุคคลมลายหายส้ินไป แตศิลปะเทาน้ัน ท่ยี งั คงเหลือ เปน พยานแหง ความเปน อัจฉริยะของมนุษยอยูตลอดกาล” (ศาสตราจารยศิลป พรี ะศร)ี จากคาํ กลา วขางตน แสดงใหเ ห็นวางานศิลปะเปนสมบัติอันล้ําคาของมนุษยท่ีแสดง ความเปน อัจฉรยิ ะบงบอกถึงความเจรญิ ทางดา นจติ ใจ และสติปญญาอันสงู กวา ซ่ึงมีคุณคาตอ ชวี ิต และสงั คม ผลงานทัศนศิลปส ามารถแบงคณุ คาไดเปน 1. คณุ คาทางความงาม (Aesthetics Value) 2. คณุ คาทางเร่อื งราว (Content Value) 3. คณุ คาในการยกระดบั จิตใจ จะเหน็ ไดวา ศิลปกรรมหรอื ทศั นศิลปเ ปนสง่ิ ทมี่ นุษยสรา งขน้ึ จึงมีการขัดเกลาตกแตงให สวยงาม เปน วัตถสุ ุนทรยี  เปนส่ิงที่มีความงาม ผูดูรับรูคาความงามไดในระดับพื้นๆ ใกลเคียง กัน เชน เปนภาพเขียน ภาพปน แกะสลัก หรือเปน ส่งิ กอสรา งท่ีสวยงาม แตการรับรูในระดับท่ี ลึกลงไปถงึ ขั้นชอบ ประทับใจ หรือชน่ื ชมนั้น เปน เร่ืองของแตล ะบุคคล

17 เรอื่ งท่ี 1.4 การนาํ ความงามของธรรมชาตมิ าสรา งสรรคผลงาน ความคิดสรางสรรคค ืออะไร ความคิดสรางสรรค คือ กระบวนการคิดของสมองซ่ึงมีความสามารถในการคิดได หลากหลายและแปลกใหมจากเดิม โดยสามารถนําไปประยุกตทฤษฎี หรือหลักการไดอยาง รอบคอบและมีความถูกตอง จนนําไปสูการคิดคนและสรางสิ่งประดิษฐที่แปลกใหมหรือ รปู แบบความคิดใหม ทศั นศลิ ปไ ทยนําธรรมชาตมิ าสรา งสรรคผ ลงานอยา งไร ภาพลายไทย เปนลายท่ีประดิษฐขึ้นโดยมีธรรมชาติมาเปนแรงดลบันดาลใจ โดยดดั แปลงธรรมชาตใิ หเ ปนลวดลายใหมอ ยา งสวยงาม เชน ตาออย กามปู เปลวไฟ รวงขาว และดอกบวั ฯลฯ ลายไทยเดิมทเี ดียวเรียกกนั วา “กระหนก” หมายถึงลวดลาย เชน กระหนก ลาย กระหนกกา นขด ตอมามีคาํ ใชว า “กนก” หมายถงึ ทอง กนกปด ทอง กนกตูลายทอง ชางไทยโบราณแบงหมวดหมขู องศิลปะไทยออกได 4 หมวดดวยกนั คือ 1. กนก ภาษาสันสกฤต แปลวา“หนาม” สําหรับชา งเขยี นโบราณ กนก คือ ดงปาดงไม มแี บบฟอรมคือเปลวไฟเปน รูปสามเหล่ียม กนกแบบตาง ๆ เชน กนกสามตวั กนกใบเทศ กนก เปลว ฯลฯ 2. นารี คอื การเรยี นรฝู กฝนเกย่ี วกับการเขียนหนา มนษุ ย เทวดา นางฟา พระ และนาง ทั้งดานหนาตรงและดานหนา เพล ซ่งึ ถือวา เปนภาพหลักของภาพไทย เม่ือเขียนไดคลองแคลว ดแี ลว จงึ ฝก เขยี นทงั้ ตวั ในอรยิ าบถตาง ๆ ภาพเหลา นจ้ี ะแสดงอารมณด ว ย 3. กระบี่ คือ การฝก เขยี นภาพอมนษุ ยตางๆ ไดแ ก พวกยกั ษ วานร เปน ตน 4. คชะ คือ การฝกเขยี นภาพสตั วสามัญและภาพสตั วป ระดิษฐตางๆ ในหมวดนี้จะแบง สัตวที่เขียนเปนสองประเภท ประเภทแรกคือสัตวท่ีมีอยูบนโลกมนุษย เชน ชาง มา วัว นก เปนตน ประเภทท่ีสอง คอื สัตวประดษิ ฐห รือสตั วหมิ พานต เชน กินรี ราชสงิ ห เปนตน

18 เร่อื งที่ 1.5 ความคิดสรางสรรคในการนําเอาวัสดแุ ละสิ่งของตาง ๆ มาตกแตง รา งกาย และสถานท่ี เลอื กเครอื่ งแตงกายอยา งไรใหเ หมาะสม 1. การพจิ ารณาตนเอง ควรพจิ ารณาขอดอยของตนเองเพื่อนาํ มาปรบั ปรงุ การแตงกาย ใหเหมาะสม เชน การเลอื กเสื้อผา ทเี่ หมาะกบั รูปรา งทีผ่ อมหรอื อวน รปู รา งสูงหรือตํา่ สีผิวกาย เพศและวัยรวมถึงบุคลกิ ภาพ 2. การรับฟงคําวิจารณ การเปดใจกวางรับฟงคําวิจารณจากบุคคลรอบขาง จะเปน ขอ มูลทช่ี วยใหเ ราสามารถทราบจุดเดนจุดดอยของรางกายเรา เพ่ือหาทางปรับปรุงแกไขใหดี ขึ้น 3. การแตงกายใหเหมาะสม การแตงกายใหเหมาะสมกับเพศ วัย เวลา สถานที่ จะ ชว ยเสรมิ สรางบุคลกิ ภาพไดอ ีกทางหนง่ึ 4. การพรางสว นดอ ยเนน สวนดี บุคคลทุกคนจะมีจดุ เดน และจุดดอยของรางกาย เชน บางคนหนาสวยแตขาไมสวย จึงตองพยามทําใหดึงความสนใจใหคนอ่ืนมองที่จุดเดน จนกระทง่ั ลืมมองทจ่ี ุดดอย หรอื ใชเ ส้ือผาชว ยพรางสวนดอ ยของรางกาย 5. บคุ คลทร่ี า งกายเต้ยี ลา่ํ ควรใชเ สอื้ ผาลายเสนแนวตั้งหรือเฉียงข้ึน เส้ือผาควรใชทรง แคบยาวคลมุ สะโพก กางเกงควรเปนแบบเรียบ ๆ ไมมีจีบ กระโปรงแบบเรียบ ๆ ควรใชผาสี เขมแบบทิง้ ตัว หลกี เล่ียงการใชเขม็ ขดั เสนใหญ เครือ่ งประดบั ควรมขี นาดใหญกําลังดี อยาเลอื กแบบที่ใหญเกินไป และควรจะเปน แบบท่ีสอื่ ถึงความเบาสบาย 6. บุคคลที่มรี างกายอวน ควรใชเ สอื้ ผา ลายเสน แนวตั้ง หลีกเลี่ยงลายเสนโคงหยักหรือ ทรงกลม ไมควรใชเส้ือรัดรูปหรือหลวมมากจนเกินไป แบบเสื้อควรเปนแบบเรียบ ควรใช เสอ้ื ผาสีเขมหรือโทนหมน ๆ เปนผาท่ีมีน้ําหนัก ควรหลีกเลี่ยงการใสเส้ือแขนกุดและผาท่ี มันวาว 7. บุคคลทมี่ ีรางกายผอม ควรสวมเส้อื ผา ลายขวางหรอื เสนโคง เสอ้ื ผาควรมีการหนุน ไหล ควรใชเสอื้ คอปด เพอ่ื บังความผอมของลาํ คอ ถาใสเ ส้ือสทู ควรใหย าวคลมุ สะโพก เขม็ ขดั ควรใชเสน ใหญ ถาสวมกระโปรงควรเปน กระโปรงยาวปดขา ถา เปนกางเกงควรเลือกแบบมี จบี ที่เอว ควรเลือกใชเ สอื้ ผาสีสวางหรือสอี อน 8. บุคคลทีม่ ีรางกายสงู ใหญ จะแตงตัวไดคอ นขางงา ย สามารถใชเ ส้อื ผาไดหลายแบบ แตท ่สี าํ คัญก็คอื ควรเลือกใหเหมาะสมกบั เวลาและสถานที่

19 องคป ระกอบทางศลิ ปะทีน่ าํ มาใชก บั ทอ่ี ยอู าศยั มีอะไรบาง องคประกอบทางศิลปะทน่ี าํ มาใชในการจดั แตง ท่อี ยอู าศัย ไดแ ก 1. ขนาดและสัดสวนนาํ มาใชใ นการจัดท่ีอยูอาศัย ไดแก ขนาดของหอง ควรกําหนด ขนาดของหองใหมีพ้ืนที่รองรับกิจกรรมตาง ๆ ใหเหมาะสม เชน หองอาหาร หองครัว หองรับแขก จํานวนของสมาชิกในครอบครวั เครือ่ งเรอื น ควรกาํ หนดใหมีขนาดพอดีกับหอง และสมาชิก ไมส งู หรือเต้ยี จนใชง านไมส ะดวก 2. ความกลมกลืน ไดแ ก 2.1 ความกลมกลนื ของการตกแตง ท่อี ยอู าศัย 2.2 ความกลมกลนื ของเครื่องเรอื น 2.3 ความกลมกลนื ของสีในการตกแตง โดยควรคํานงึ ถึงวัตถปุ ระสงคของหอ งผใู ช 3. การตัดกัน โดยทวั่ ไปของการจัดตกแตง ที่อยอู าศัยนิยมทําในรูปแบบของการขัดกัน ในการใชเครอ่ื งเรอื นในการตกแตง เพอ่ื สรา งจดุ เดน หรอื จุดสนใจในการตกแตงไมใหเกิดความ กลมกลืนมากเกินไป 4. เอกภาพ ในการตกแตงสิ่งตาง ๆ หากขาดเอกภาพงานท่ีสําเร็จจะขาดความ สมบรู ณ ในการตกแตง ภายใน การรวมพื้นที่ในหองตา ง ๆ ใหเ หมาะสมกับกิจกรรมจึงเปนการ ใชเ อกภาพในการจัดพ้นื ท่ีที่ชัดเจน การจัดเอกภาพของเคร่ืองเรือนเคร่ืองใช หากเครื่องเรือน จดั ไมเปนระเบยี บยอ มทาํ ใหผ อู าศยั ขาดการใชส อยท่ดี แี ละขาดประสทิ ธิภาพในการทํางาน 5. การซ้ํา ทําใหเกิดความสอดคลองของการออกแบบตกแตงภายใน เชน การปู กระเบือ้ งปูพื้น หรอื การตดิ ภาพประดบั ผนัง 6. จังหวะ การจดั จังหวะของท่อี ยอู าศัยทาํ ไดหลายลกั ษณะ เชน การวางผังบรเิ วณหรือ การจดั แปลนบานใหมีลกั ษณะทเ่ี ชื่อมพน้ื ทตี่ อเนอ่ื งกนั เปน ระยะหรอื จงั หวะ ทําใหเกิดระเบียบ และสะดวกตอการทํางาน 7. การเนน ไดแ ก การเนน ดว ยสี การเนนดวยแสงการเนนดวยการตกแตง การใชวัสดุ เครื่องเรือน เครอื่ งใชหรอื ของตกแตงตา ง ๆ 8. ความสมดุล ไดแ ก จัดตกแตงเครอ่ื งเรือนหรอื วสั ดตุ าง ๆ ใหมีความสมดุลตอการใช งาน หรือเหมาะสมกับสถานท่ี เชน การจัดทิศทางของเคร่ืองเรือนใหเหมาะสมกับ สภาพแวดลอมและการทาํ งาน

20 9. สี มีความสมั พันธก ับงานศลิ ปะและการตกแตงสถานที่ เพราะสีมผี ลตอสภาพจิตใจ และอารมณข องมนษุ ย สใี หผ ูอ ยอู าศัยอยอู ยา งมคี วามสุข เบิกบานและร่ืนรมย ดังน้ันสีจึงเปน ปจ จยั สาํ คญั ของการจดั ตกแตงที่อยูอ าศยั ในการใชสตี กแตงภายใน ควรใชส ีอยา งไร ใหเ หมาะกบั แตล ะหอ ง 1. วัตถุประสงคของหองหรือสถานท่ี การใชสีตกแตงสถานที่ตาง ๆ ภายในบาน แบง ออกเปน หองตา ง ๆ ดังนี้ หองรับแขก เปนหองท่ีใชในการสนทนา หรือตอนรับผูมาเยือน ดังน้ันหองรับแขก ควรใชสอี บอนุ เชน สีครีม สสี มออ น หรือสีเหลืองออ น เพ่ือกระตนุ ใหเบกิ บาน หองอาหาร ควรมีสีทีด่ ูสบายตา เพ่ือเพิ่มรสชาติอาหาร อาจใชสีท่ีกลมกลืน นุมนวล เพราะสนี ุมนวลจะทาํ ใหเ กดิ ความสบายใจ หอ งครวั ควรใชสที ด่ี สู ะอาดตา และรักษาความสะอาดงาย หองควรเปนหองท่ีใชทํา กิจกรรมจงึ ควรใชส ีกระตุนใหเ กิดความสนใจในการทาํ กิจกรรม หองนอน เปนหองที่พักผอน ควรใชสีที่สบายตา อบอุน หรือนุมนวล แตการใชใน หอ งนอนควรคํานึงถงึ ผูใ ชดว ย หองน้ํา ควรใชสีที่สบายตาเปนธรรมชาติและสดช่ืน เชน สีฟา สีเขียว หรือสีขาว และควรเปนหองท่ที ําความสะอาดไดงาย การใชสีตกแตงภายในควรคํานึงถึงทิศทางของหอง หองที่ถูกแสงแดดสองควรใชสีออน เพื่อสะทอนแสง สวนหองท่ีอยูในท่ีมืด หรืออับ ควรใชสี ออนเพอ่ื ความสวางเชนกนั 2. เพศและวัย เพศชายหรือหญงิ จะใชสีในการตกแตงไมเหมือนกัน เพศชายจะใชสีเขมกวาเพศหญิง เชน สีเขียวเขม สีฟา หรือเทา สวนเพศหญิงจะใชสีท่ีออน และนุมนวลกวา เชน สีครีม สี เหลอื ง เปน ตน วยั ในแตล ะวยั จะใชสีไมเหมือนกัน เชน หองเด็กจะใชสีออนหวานนุมนวล หองผูใหญ จะมีสที ่อี บอนุ หอ งผสู งู อายจุ ะใชส ีท่นี มุ นวล

21 เรอื่ งที่ 1.6 คณุ คา ของความซาบซ้งึ ของวฒั นธรรม ประเพณขี องชาติ วัฒนธรรมและประเพณไี ทย หมายถึงอะไร วฒั นธรรม เปนสงิ่ ทีแ่ สดงความเปนชาติใหปรากฏชัดเจนขึ้น ประเทศไทยมีวัฒนธรรม ทีโ่ ดดเดน ทําใหคนไทยแตกตางจากชาติอื่น ๆ มีเอกลักษณประจําชาติท่ีเห็นไดจากภาษาที่ใช อุปนิสัยใจคอ ความรูสึกนึกคิดตลอดจนการแสดงออกท่ีนุมนวล อันมีผลมาจากสังคมไทยที่ เปนสังคมแบบประเพณนี าํ และเปน สังคมเกษตรกรรม เนือ่ งจากประชากรสวนใหญใชชีวิตอยู ในชนบท สภาพของสิ่งแวดลอมท่ีดี กลอมเกลาจิตใจมีความโอบออมอารี มีนํ้าใจเอ้ือเฟอ เกอ้ื กูลซงึ่ กันและกนั ตลอดมา ประเพณี คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติท่ีเห็นวาดีกวา ถูกตองกวา หรือเปนท่ี ยอมรับของคนสวนใหญในสังคมและมีการปฏิบัติสืบตอกันมา เกิดจากความเช่ือในสิ่งที่มี อาํ นาจเหนอื มนษุ ย เชน อาํ นาจของดนิ ฟา อากาศ และเหตุการณท่ีเกิดขึ้นโดยไมทราบสาเหตุ ตาง ๆ ฉะนั้น ประเพณี คือ ความประพฤติของคนสวนรวมท่ีถือกันเปนธรรมเนียม หรือเปน ระเบยี บแบบแผน และสบื ตอ กันมาจนเปนพิมพเดียวกัน และยังคงอยูไดก็เพราะมีสิ่งใหมเขา มาชวยเสริมสรางสิ่งเกาอยูเสมอ และกลมกลืนเขา กันไดด ี ศลิ ปะไทย มีความสาํ คัญอยา งไร ศิลปวฒั นธรรมไทย แสดงถงึ ความเปน เอกลกั ษณม าชานาน เปนประเทศที่มีความเปน อิสระทางความคดิ บุคคลในประเทศมีความสงบสุข รัก สามัคคี จึงเกิดมีศิลปวัฒนธรรมตาง ๆ ที่เปนระเบียบแบบแผน มีความเปนมา มีคุณคา เปนวิธีการท่ีมีความสําคัญ ทุกคนแมแต ชาวตา งชาตเิ หน็ แลวรทู ันทวี า นีค่ อื “ประเทศไทย” คนไทยทกุ คนควรมีจติ สาํ นึกที่จะอนุรกั ษศ ิลปวัฒนธรรมและความเปนไทย โดยอาจใช แนวทาง ดงั น้ี 1. ศึกษาความเปนมา ทุกส่ิงทุกอยางท่ีเกิดขึ้นจะตองมีประวัติ ความเปนมา โดยเฉพาะสิง่ ท่ีมนษุ ยสรางสรรคดวยความประณตี แลวจะตองมีความเปนมา มีการพัฒนาการ มาอยางตอ เนื่อง จงึ เปนศิลปะท่งี ดงาม วัฒนธรรมที่ทุกคนยอมรับเห็นแลวเกิดความภาคภูมิใจ เชน ศิลปะดานการเขียนภาพ การสรางบานทรงไทย วัฒนธรรมการไหว การรับประทาน อาหาร เปน ตน

22 2. ศึกษาคณุ คาของศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย ไมว า จะเปนศิลปะหรือวัฒนธรรมที่สืบ ทอดกนั มาจนเปนเอกลักษณ ตองมีคุณคาท่ชี ัดเจนหรือคุณคาแฝงอยูมากมาย เชน วัฒนธรรม การไหว ประเพณีสงกรานต ศิลปะแตล ะสมัย 3. ศึกษาวิธีการของศิลปะและวัฒนธรรมใหเขาใจ ปฏิบัติไดถูกตองตามหลักการที่ วางไว อยา ใหผดิ เพี้ยนจะเกิดความเสียหาย เชน การไหวท่ีถูกตอง แตละสถานการณ แตละ บุคคลทําอยางไร แตกตางกนั อยางไร เปน ตน ปจจุบัน “ศิลปะไทย” กําลังจะถูกลืมเม่ืออิทธิพลทางเทคโนโลยีสมัยใหมเขามา แทนที่สังคมเกาของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งโลกแหงการสื่อสารไดกาวไปลํ้ายุคมาก จนเกิด ความแตกตา งอยางเหน็ ไดชดั เม่ือเปรียบเทียบกับสมัยอดีต โลกใหมยุคปจจุบันทําใหคนไทยมี ความคิดหางไกลตัวเองมากขึ้น และอิทธิพลดังกลาวนี้ทําใหคนไทยลืมตัวเราเองมากขึ้นจน กลายเปนสิ่งสับสนอยูกับสังคมใหมอยางไมรูตัว มีความวุนวายดวยอํานาจแหงวัฒนธรรม ส่อื สารท่ีรบี เรง รวดเรว็ จนลืมความเปนเอกลักษณข องชาติ ถา เรามีปจจุบันโดยไมมีอดีต เราก็ จะมีอนาคตที่คลอนแคลนไมม่นั คง อนุชนจงึ ควรมองถงึ ความสาํ คัญของบรรพบรุ ุษ ผสู รางสรรคศลิ ปะไทย และทําหนา ที่สืบสานตอไปในอนาคต

23 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 1.1 จุด เสน สี แสง-เงา รปู รา ง มีความสาํ คญั ในการสรา งงานทัศนศิลปไทยไดอยางเหมาะสม ขอท่ี 1 จากการศึกษาถึงความสําคัญของ \"แสง-เงา\" ใหผูเรียนเขียน สรุปความรูสึก ท่ีแสง-เงาทาํ ใหภ าพท่มี องเห็นมคี วามรูสกึ เปน 3 มิติ (2 คะแนน) 1.2 ทัศนศิลปไทย ประกอบดวย จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม ภาพพิมพ ขอที่ 2 ใหผูเรียนเขียน สรุปลักษณะวิธีการเขียนภาพจิตรกรรมไทย 6 ขอ (3 คะแนน) .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

24 1.3 ความงามของทัศนศิลปไ ทย สามารถเกิดจากความงามตามธรรมชาติได ขอท่ี 3 ใหผูเรียนเขียน สรุปส่ิงตาง ๆ ที่มีผลหรือมีอิทธิพลตอการสรางผลงาน ทัศนศลิ ปไทย 2 ขอ (2 คะแนน) .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 1.4 จนิ ตนาการ เปน วธิ ีการหนึ่งทนี่ ําความงามจากธรรมชาตมิ าสรา งสรรคใ หเ ปนความงามทาง ทศั นศลิ ปไทยได ขอ ท่ี 4 ใหผูเรียนเขียน สรุปงานศิลปะไทยประเภทลายไทย 3 ขอ และบอกที่มาของ การนําธรรมชาติมาสรา งสรรค เปนผลงานลายไทย (3 คะแนน) .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

25 ขอ ท่ี 5 ใหผ ูเรียนเขยี น สรปุ องคป ระกอบศลิ ปของงานสถาปต ยกรรมไทยท่ีนําธรรมชาติ มาสรา งสรรค 3 ขอ (3 คะแนน) .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 1.5 ความงามทเี่ กิดจากความสรางสรรคข องมนษุ ย นบั วา มคี ณุ คา ในงานทัศนศิลปไ ทย ขอที่ 6 ใหผูเรียนเขียน ระบุงานทัศนศิลปไทยมีคุณคาอยางไร และคุณคาผลงาน ทัศนศลิ ปไทยมกี ่ีประเภท (3 คะแนน) .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ขอ ท่ี 7 ใหผูเรยี นนาํ หลักการจดั ทางศลิ ปะไปใชในการออกแบบทอ่ี ยูอ าศัย 3 ขอ โดยใชหวั ขอตอไปน้ี (3 คะแนน) 1) ความกลมกลนื 2) การตดั กนั 3) เอกภาพ 4) การซ้าํ 5) การเนน 6) ความสมดลุ

26 .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ขอท่ี 8 ใหผูเรียนใชดินสอหรือปากกาลูกลื่น วาดภาพลายเสนโดยใชเสนประเภท ตา ง ๆ เชน เสนตรงแนวตัง้ /เสนตรงแนวนอน/เสน ตรงแนวเฉยี ง/เสน ตัดกัน/เสน โคง /เสน คด/ เสน ประ/เสนขด/เสนหยกั ฯลฯ ลงในพนื้ กรอบสี่เหล่ยี ม (3 คะแนน) เกณฑก ารใหคะแนน สามารถวาดภาพโดยใชเสน ตางๆได 3 ประเภทให 1 คะแนน สามารถวาดภาพโดยใชเ สนตางๆได 6 ประเภทให 2 คะแนน สามารถวาดภาพโดยใชเสนตา งๆได 9 ประเภทให 3 คะแนน

27 บทที่ 2 ดนตรไี ทย เรอ่ื งท่ี 2.1 ประวตั ดิ นตรไี ทย เคร่อื งดนตรีไทยมีวิวฒั นาการมาอยางไร ดนตรไี ทย ไดแ บบอยางมาจากอินเดีย สามารถจําแนกเปน 4 ประเภท คือ เครื่อง ดีดเครือ่ งสี เครอ่ื งตี เคร่ืองเปา การกําเนิดและวิวัฒนาการของเครอื่ งดนตรีไทยนนั้ มีการสนั นษิ ฐานวา ดนตรีไทย เกิด จากความคิดและสตปิ ญ ญาของคนไทย เกิดข้นึ มาพรอมกบั คนไทย ต้งั แตส มัยที่ยงั อยทู างตอน ใต ของประเทศจีนแลว ท้ังนจี้ ะสงั เกตเหน็ ไดวา เครอ่ื งดนตรี ดั้งเดิมของไทย จะมีชอ่ื เรียกเปน คําโดด ซงึ่ เปน ลกั ษณะของคําไทยแท เชน เกราะ, โกรง, กรบั ฉาบ, ฉิ่ง ป, ขลยุ ฆอ ง, กลอง เปน ตน ตอมาเม่ือไทยไดอพยพลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอนิ โดจนี จึงรับเอาวัฒนธรรม ทางดนตรีแบบอนิ เดีย ผสมกับแบบมอญและเขมร เขามาผสมกบั ดนตรีที่มมี าแตเดิมของตน จงึ เกดิ เครื่องดนตรเี พม่ิ ข้ึนอีก ไดแก พณิ สังข ปไฉน บณั เฑาะว กระจับป และจะเข เปน ตน ตอมาเมื่อไทยไดต้ังถ่ินฐานอยูในแหลมอินโดจีนอยางม่ันคงแลวไดติดตอสัมพันธกับ ประเทศเพื่อนบานในแหลมอินโดจีนและประเทศทางตะวันตกบางประเทศที่เขามาติดตอ คา ขาย ทําใหไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอยางของประเทศตาง ๆ เหลานั้นมาใช เชน กลอง แขก ปชวาของชวา (อินโดนิเซีย) กลองมลายูของมลายู (มาเลเซีย) เปงมาง ตะโพนมอญ ป มอญ และฆอ งมอญของมอญ กลองยาวของพมา ขิม มา ลอของจนี กลองมริกัน (กลองของชาว อเม ริกัน ) เ ปยโ น อ อรแ กน และ ไว โอลี นขอ งปร ะเท ศทา งตะ วันต ก เ ปนต น ววิ ฒั นาการของดนตรไี ทย สามารถสรุปเปน ยคุ สมยั ไดดงั น้ี 1. สมยั สุโขทยั มีลกั ษณะเปน การขับลาํ นาํ และรองเลน กันอยางพนื้ เมือง เครอื่ งดนตรไี ทยท่ีปรากฏ หลักฐานในหนังสือไตรภูมิพระรวง ไดแก แตร, สงั ข, มโหระทึก, ฆอง, กลอง, ฉง่ิ , แฉง (ฉาบ), บณั เฑาะว, พณิ , ซอพุงตอ (สันนษิ ฐานวาคือ ซอสามสาย) ปไฉน, ระฆงั และ กังสดาล เปนตน

28 การผสมวงดนตรีไทยในสมัยสโุ ขทยั มีดังน้ี คอื 1. วงบรรเลงพิณ มีผูบรรเลง 1 คน ทาํ หนาท่ีดดี พิณและขบั รองไปดว ย 2. วงขบั ไม ประกอบดวยผบู รรเลง 3 คน คอื คนขบั ลํานํา 1 คน คนสี ซอสาม สาย คลอเสียงรอ ง 1 คน และ คนไกวบณั เฑาะว ใหจ ังหวะ 1 คน 3. วงปพาทย เปนลกั ษณะของวงปพ าทยเ ครือ่ ง 5 มี 2 ชนดิ คือ วงปพ าทยเ คร่อื งหา อยา งเบา ประกอบดว ยเครอื่ งดนตรีชนิดเลก็ ๆ จาํ นวน 5 ชนิ้ คอื 1. ป 2. กลองชาตรี 3. ทบั (โทน) 4. ฆอ งคู 5. ฉ่ิง ใชบ รรเลงประกอบการแสดง ละครชาตรี วงปพาทยเคร่ืองหา อยางหนัก ประกอบดว ย เครื่องดนตรีจาํ นวน 5 ช้นิ คือ 1. ป ใน 2. ฆองวง (ใหญ) 3. ตะโพน 4. กลองทัด 5. ฉงิ่ ใชบรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลง ประกอบ การแสดงมหรสพตาง ๆ จะเห็นวา วงปพ าทยเ คร่อื งหา ในสมยั นีย้ งั ไมมีระนาดเอก 4. วงมโหรี เปน วงดนตรีทน่ี าํ เอาวงบรรเลงพณิ กบั วงขบั ไม มาผสมกัน เปน ลักษณะ ของวงมโหรเี คร่ืองส่ี ประกอบดวยผบู รรเลง 4 คน คือ 1. คนขบั ลํานาํ และตกี รับพวงให จังหวะ 2. คนสี ซอสามสาย คลอเสียงรอ ง 3. คนดดี พณิ 4. คนตที ับ (โทน) ควบคมุ จังหวะ 2. สมัยกรงุ ศรีอยุธยา จากหลกั ฐานในกฎมณเฑยี รบาล เครอื่ งดนตรที เี่ พ่งิ เกิดในสมยั น้ี ไดแก กระจับป ขลยุ จะเข และ ราํ มะนา ลกั ษณะของวงดนตรไี ทยในสมัยน้มี ีการเปลย่ี นแปลง และพฒั นาข้ึน กวาในสมยั สุโขทัย ดงั นี้ 1. วงปพาทย ในสมยั นี้ ก็ยงั คงเปน วงปพาทยเ คร่อื งหา เชน เดียวกับในสมัยสุโขทัย แตมี ระนาดเอก เพม่ิ ขึน้ วงปพ าทยเ ครือ่ งหา ในสมัยน้ปี ระกอบดวย เคร่อื งดนตรี 1. ระนาด เอก 2. ปใ น 3. ฆอ งวง (ใหญ) 4. กลองทดั ตะโพน 5. ฉิง่ 2. วงมโหรี พัฒนาจาก วงมโหรีเคร่อื งสี่ ในสมยั สโุ ขทยั เปน วงมโหรีเครอ่ื งหก ไดเพิม่ เคร่อื งดนตรี เขาไปอกี 2 ชนิ้ คือ ขลยุ และ รํามะนา ประกอบดว ย เครอ่ื งดนตรี จํานวน 6 ชิ้น คอื 1.ซอสามสาย 2. กระจบั ป (แทนพิณ) 3. ทับ (โทน) 4. รํามะนา 5. ขลุย 6. กรบั พวง

29 3. สมยั กรงุ ธนบรุ ี วงดนตรีไทยในสมยั นีไ้ มปรากฏหลกั ฐานวา มีการพัฒนาเปลยี่ นแปลง สันนิษฐานวา ยังคงเปน ลกั ษณะและรปู แบบของดนตรีไทยในสมยั กรุงศรอี ยุธยาน่ันเอง 4. สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร วงดนตรีในยุคสมยั นีเ้ ร่มิ มกี ารแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแ ก วงเครอ่ื งสาย ซ่งึ ประกอบดว ยเครื่องดนตรีท่มี ีสายทั้งหลาย เชน ซอ จะเข เปนตน วงปพ าทย ประกอบดว ยเคร่อื งตเี ปนสวนใหญ ไดแก ระนาด ฆอ ง และป เปน ตน วงมโหรี เปน การรวมกันของวงเคร่ืองสายและวงปพ าทย แตต ดั ปอ อกเพราะเสียงดงั กลบเสยี งเครอื่ งสายอื่นหมด ดนตรีไทยสวนใหญท ม่ี พี ฒั นาการมาจากความนยิ มของเจานายในราชสาํ นกั โดยเฉพาะสมัยรชั กาลที่ 5 - 7 จัดวาเปน ยคุ ที่วงการดนตรีไทยถึงจดุ รงุ เรอื งสดุ ในสมัย รัตนโกสนิ ทรนี้ สามารถเรยี งลําดับพัฒนาดนตรีไทย ไดดงั นี้ รชั กาลที่ 1 มกี ารเพิ่ม กลองทดั ข้ึนอีก 1 ลกู ใน วงปพ าทย วงปพ าทย จึงมกี ลองทดั 2 ลกู เสยี ง สูง (ตวั ผ)ู ลกู หนงึ่ และ เสยี งต่าํ (ตวั เมยี ) ลกู หน่งึ และการใชกลองทัด 2 ลกู ในวงปพาทย ก็ เปนที่นยิ มกันมาจนกระท่ังปจจบุ นั นี้ รัชกาลที่ 2 เปนยุคทองของดนตรีไทยยคุ หนง่ึ พระมหากษตั รยิ ทรงสนพระทยั ดนตรีไทย เปนอยาง ยิ่ง ทรงพระปรชี าสามารถทรงดนตรีไทยซอสามสายได มีซอคูพระหตั ถช อ่ื วา “ซอสายฟา ฟาด” และทรงพระราชนิพนธเ พลงไทยทไี่ พเราะและอมตะมาจนบัดนีค้ อื เพลง “บหุ ลนั ลอยเลอื่ น” ในสมัยนไ้ี ดมีการนําเอาวงปพาทยมาบรรเลง ประกอบการขบั เสภาเปน ครง้ั แรก นอกจากนี้ยัง มีกลองชนดิ หนงึ่ เกดิ ข้ึน โดยดดั แปลงจาก “เปงมาง” ของมอญ เรยี กวา “สองหนา ” ใชตี กํากบั จงั หวะแทนเสยี งตะโพนในวงปพ าทย ประกอบการขบั เสภา

30 รชั กาลท่ี 3 วงปพ าทยไดพ ัฒนาขึ้นเปน วงปพ าทยเ คร่อื งคู เพราะไดม กี ารประดษิ ฐระนาดทุม มาคู กับระนาดเอก และประดษิ ฐฆองวงเลก็ มาคกู ับ ฆองวงใหญ รัชกาลที่ 4 วงปพ าทยไ ดพ ัฒนาข้ึนเปนวงปพาทยเครอื่ งใหญ ไดมกี ารประดิษฐเ คร่ืองดนตรี เพ่มิ ขึน้ 2 ชนิด เรียกวา ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทมุ เหล็ก นาํ มาบรรเลงเพิ่มในวงปพาทยเคร่ืองคู ทาํ ใหขนาดของวงปพาทยข ยายใหญขนึ้ จงึ เรยี กวา วงปพ าทยเ ครื่องใหญ เพลงเถาเกิดข้ึน มากมายในสมยั น้ี นอกจากน้วี งเคร่ืองสาย ก็เกิดข้ึนในสมัยรชั กาลนีเ้ ชนกัน รชั กาลที่ 5 ไดมีการปรบั ปรงุ วงปพาทยข้ึนใหม เรียกวา “วงปพ าทยดึกดาํ บรรพ” ใชบ รรเลง ประกอบการแสดง “ละครดกึ ดําบรรพ” วงปพาทยดึกดาํ บรรพ ประกอบดว ยระนาดเอก ฆอ งวงใหญ ระนาดทุม ระนาดทุมเหลก็ ขลยุ ซออู ฆองหุย (ฆอง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเครอื่ งกํากับจังหวะ รชั กาลท่ี 6 มีการปรับปรุงวงปพ าทยข ้ึน โดยนาํ วงดนตรขี องมอญมาผสมกับวงปพ าทยข องไทย เรียกวา “วงปพ าทยม อญ” โดยหลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) เปนผูปรับปรุงขนึ้ วงป พาทยมอญดังกลาวนี้ กม็ ที ั้งวงปพ าทยม อญเครอื่ งหา เคร่อื งคู และเครอ่ื งใหญ เชนเดยี วกับวงป พาทยของไทย และกลายเปนท่นี ิยมใชบรรเลงประโคมในงานศพ มาจนกระท่งั บัดน้ี รูปแบบของวง ดนตรไี ทยเปล่ียนแปลงพัฒนา ดงั นค้ี อื 1. การนําเครอื่ งดนตรีของชวา หรืออินโดนีเซีย คือ “องั กะลงุ ” มาเผยแพรใ นเมืองไทย เปนคร้งั แรก โดยหลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) นาํ มาดดั แปลง ปรบั ปรุงขึน้ ใหมใหม ี เสียงครบ 7 เสยี ง (เดิมมี 5 เสียง) ปรับปรงุ วธิ ีการเลน โดยถอื เขยา คนละ 2 เสยี ง ทาํ ให กลายเปน เคร่อื งดนตรีไทยอกี อยา งหนึ่ง เพราะคนไทยสามารถทําอังกะลงุ ไดเอง อีกทั้งวิธีการ บรรเลงก็เปน แบบเฉพาะของเราแตกตา งไปจากของชวาโดยสน้ิ เชิง 2. การนําเคร่อื งดนตรีของตา งชาติเขามาบรรเลงผสมในวงเครอ่ื งสาย ไดแก ขมิ ของจีน และออรแกนของฝรงั่ ทําใหวงเคร่ืองสายพัฒนารปู แบบของวงไปอีกลักษณะหนึง่ คอื “วงเคร่อื งสายผสม”

31 ในสมยั รชั กาลที่ 6 มกี ารกําหนดราชทินนามของนกั ดนตรที รี่ ับราชการในราชสํานักเปน จํานวนมาก นกั ดนตรสี าํ คญั ทา นหน่ึงแหงกรงุ รัตนโกสินทร คือ ทา นหลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ซงึ่ เปนนักดนตรที ่มี ีความสามารถท้ังปพาทยและเคร่ืองสาย เปนผูประพนั ธ เพลงไทยหลายเพลง เชน แสนคํานึง นกเขาขะแมร ลาวเส่ียงเทยี น ฯลฯ รชั กาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยหู วั ไดทรงสนพระทยั ทางดานดนตรีไทยมากเชนกัน พระองคไ ดพระราชนิพนธเ พลงไทยไวถึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝง 3 ชน้ั เพลง เขมรลอยองค (เถา) และเพลงราตรปี ระดับดาว (เถา) ในวังตาง ๆ มักจะมวี งดนตรปี ระจาํ วัง เชน วงวงั บูรพา วงวังบางขุนพรหม วงวังบางคอแหลม และวงวังปลายเนนิ เปนตน ตอมาภายหลงั การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ .2475 เปนตนมา ดนตรีไทยเรม่ิ ซบ เซาลง เนือ่ งจากรฐั บาลในสมัยหนง่ึ มีนโยบาย “รฐั นยิ ม” กลาวคอื มีการหามบรรเลง ดนตรี ไทย เพราะเห็นวา ไมสอดคลองกบั การพฒั นาประเทศใหทัดเทียมกบั อารยประเทศ ใครจะจดั ใหม กี ารบรรเลง ดนตรีไทยตองขออนุญาตจากทางราชการกอน อกี ทง้ั นกั ดนตรไี ทยก็จะตองมี บัตรนักดนตรีทที่ างราชการออกให จนกระท่งั ตอมาอีกหลายป เมอ่ื ไดมีการสั่งยกเลกิ “รฐั นยิ ม” ดังกลา ว แตถ ึงกระนั้นดนตรีไทยกไ็ มรุงเรอื งเทา แตกอ น รชั กาลที่ 8 (พ.ศ. 2477 – 2489) - เกดิ โรงเรียนสอนดนตรแี ละนาฏศิลปไ ทยของราชการแหงแรกคอื โรงเรียนนาฏดุริยางค ศาสตร (ปจจุบันคือวทิ ยาลัยนาฏศิลป) - กรมศิลปากรต้ังคณะกรรมการตรวจสอบบทเพลงเพื่อบันทึกโนตเพลงไทยเปนโนต สากล รัชกาลที่ 9 (พ.ศ. 2487 – ปจจุบนั ) - มีการนาํ ทาํ นองเพลงพืน้ เมอื งหรือเพลงไทยสองชั้น ช้ันเดียว มาใสเน้ือรองใหมแบบ เนื้อเตม็ ตามทาํ นอง เกิดเปนเพลงลูกทงุ เพลงลกู กรุง - พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหคณะวิศวกรรมศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั วัดความถ่ขี องเสียงดนตรีไทยเพอื่ ใหเปน มาตรฐาน - การสอนดนตรไี ทยไดร บั การสงเสรมิ เขา สูโรงเรียนและสถาบนั การศกึ ษาท่วั ประเทศ

32 - พ.ศ. 2528 สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหงชาติ เร่ิมตนการประกาศยกยอง ศิลปน แหง ชาติ - ศิลปนรุนใหมพัฒนาดนตรีไทยในแนวทางรวมสมัย เชน การประสมวงที่มีเคร่ือง ดนตรีไทยกับเคร่ืองดนตรีตะวันตก การใชเทคโนโลยีการบันทึกเสียงสรางมิติเสียงใหม ๆ ใน ดนตรไี ทย - ดนตรีไทยไดรับการเผยแพรท างส่ือรูปแบบใหม ทง้ั แถบบันทกึ เสียง และซีดี รายการ วทิ ยุ รายการโทรทศั น และเวบ็ ไซต - สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปนองคอุปถัมภ ศิลปวัฒนธรรมดนตรีท่ีสําคัญยิ่ง ทรงพระปรีชาสามารถในทางการบรรเลงดนตรีไทยและขับ รองตลอดจนพระราชนิพนธเน้ือรองสําหรับนําไปบรรจุเพลงตาง ๆ ผลงานพระราชนิพนธท่ีมี ชอ่ื เสียง เชน เพลงไทย ดําเนินดอย เพลงเตาเห เพลงชืน่ ชุมนุมกลมุ ดนตรไี ทย เปนตน เรื่องท่ี 2.2 เทคนคิ และวิธกี ารเลน ของเครอ่ื งดนตรไี ทย เคร่ืองดนตรีไทยคอื อะไร และมกี ป่ี ระเภท เครอ่ื งดนตรไี ทย คือ สิง่ ท่สี รา งขึน้ สําหรับทาํ เสยี งใหเปน ทาํ นองหรือจังหวะ วิธีท่ีทาํ ให มเี สียงดงั ขึน้ นั้นมีอยู 4 วธิ ี คอื - ใชม อื หรือสง่ิ ใดสง่ิ หน่งึ ดีดทีส่ าย แลว เกิดเสียงดังขนึ้ ส่ิงที่มสี ายสาํ หรบั ดีด เรยี กวา “เครื่องดดี ” - ใชเ สน หางมา หลาย ๆ เสน รวมกนั สไี ปมาท่ีสาย แลวเกิดเสียงดงั ขน้ึ สิง่ ท่ีมสี ายแลว ใช เสน หางมาสใี หเกดิ เสยี ง เรยี กวา “เครือ่ งสี” - ใชม ือหรือไมต ีที่สงิ่ นั้นแลวเกิดเสียงดงั ข้ึน สิง่ ทใี่ ชไ มหรือมอื ตี เรียกวา “เครอ่ื งต”ี - ใชปากเปาลมเขาไปในสงิ่ น้ันแลวเกดิ เสียงดังขึ้น สง่ิ ท่ีเปาลมเขาไปแลวเกิดเสียง เรียกวา “เครอื่ งเปา ” เครื่องดนตรีไทยจึงสามารถแบงไดเปน 4 ประเภท คือ ดีด สี ตี เปา

33 เคร่ืองดนตรไี ทยทงั้ 4 ประเภท ประกอบดวยอะไร และมวี ธิ ีการเลนอยา งไร 1. เคร่อื งดนตรไี ทยประเภท เครอ่ื งดดี เคร่ืองดีด คอื เคร่ืองดนตรีไทยท่ีเลนดว ยการใชน ิว้ มือ หรอื ไมดีด ดดี สายใหสั่นสะเทือน จงึ เกิดเสยี งขน้ึ เครื่องดนตรีไทยคอื กระจบั ป พณิ น้ําเตา พิณเปย ะ จะเข ซึง กระจบั ป เปนเครือ่ งดนตรีประเภทดีด หรอื พิณ 4 สายชนดิ หนึ่ง ตวั กะโหลกเปนรูปกลมรแี บน ทง้ั หนา หลัง มคี วามหนาประมาณ 7 ซม. ดานหนายาวประมาณ 44 ซม. กวางประมาณ 40 ซม. ทาํ คันทวนเรยี วยาวประมาณ 138 ซม. ตอนปลายคนั ทวนมลี ักษณะแบน และบาน ปลายผายโคง ออกไป ถาวัดรวมทงั้ คันทวนและตวั กะโหลก จะมีความยาวประมาณ 180 ซม. มีลูกบิดสาํ หรับขนึ้ สาย 4 อัน มีนมรับริว้ น้ิว 11 นมเทากับจะเข ตรงดา นหนา กะโหลกมแี ผนไม บาง ๆ ทําเปนหยอ งคา้ํ สายใหต งุ ข้นึ เวลาบรรเลงใชน ้ิวหวั แมม ือกับน้ิวช้จี ับไมดี เขยี่ สายให เกดิ เสยี ง พณิ น้าํ เตา พิณโบราณเรียก พิณน้ําเตา ซ่ึงมีลักษณะเปนพิณสายเดี่ยว การท่ีเรียกวาพิณนํ้าเตา เพราะใชเปลอื กผลนา้ํ เตามาทํา คันพณิ ท่ีเรียกวา ทวน ทําดวยไมเหลา ใหปลายขางหน่ึงเรียว งอนโคงข้ึนสําหรับผูกสาย ที่โคนทวนเจาะรูแลวเอาไมมาเหลาทําลูกบิดสําหรับบิดใหสายตึง หรอื หยอ น เพอื่ ใหเ สียงสูงต่ํา สายพิณมีสายเดียวเดิมทําดวยเสนหวาย ตอมาใชเสนไหม และ ใชลวดทองเหลอื งในปจจบุ ัน พณิ เปย ะ พณิ เปย ะ หรือพิณเพียะ เปเ คร่อื งดนตรพี น้ื เมอื งลานนาชนดิ หน่งึ มีคันทวน ตอนปลาย คันทวนทําดวยเหลก็ รปู หัวชาง ทองเหลืองสาํ หรับใชเปนที่พาดสาย ใชสายทองเหลืองเปนพ้ืน สายทองเหลืองนี้จะพาดผานสลักตรงกะลาแลวตอไปผูกกับสลักตรงดานซาย สายของพิณ เปยะมีท้ัง 2 สาย และ 4 สาย กะโหลกของพิณเปยะทําดวยเปลือกนํ้าเตาตัดครึ่ง หรือ กะลามะพราวก็ได เวลาดีดใชกะโหลกประกบติดกับหนาอก ขยับเปด ปดใหเกิดเสียงตาม ตองการ

34 จะเข เปน เครือ่ งดนตรีประเภทดีด มี 3 สาย นํามาวางดีดกับพื้น บรรเลงอยูในวงมโหรีคูกับ กระจับป ตวั จะเขท ําเปนสองตอน คือตอนหัว และตอนหาง ตอนหัวเปนกระพุงใหญ ทําดวย ไมแ กน ขนนุ ทอนหวั และทอ นหางขุดเปนโพรงตลอด ปดใตทองดวยแผนไม มีเทารองตอนหัว 4 เทา และตอนปลายอีก 1 เทา ทําหนังนูนตรงกลาง ใหสองขา งลาดลง โยงสายจากตอนหัวไป ทางตอนหางเปน 3 สาย มีลูกบิดประจําสายละ 1 อัน สาย 1 ใชสายลวดทองเหลือง อีก 2 สายใชเสนเอ็น เวลาบรรเลงใชดีดดวยไมดีดกลมปลายแหลมทําดวยงาชาง หรือกระดูกสัตว เคยี นดว ยเสน ดา ยสาํ หรับพันติดกับปลายน้ิวช้ขี า งขวาของผูดดี และใชน ิ้วหัวแมม ือ กบั น้ิวกลาง ชวยจับใหม กี าํ ลังเวลาแกวงมือสายไปมา ใหส ัมพันธก ับมอื ขางซา ยขณะกดสายดว ย ซงึ เปนเครื่องดนตรชี นดิ ดดี มี 4 สายเชนเดยี วกับกระจับป แตมีขนาดเล็กกวา กะโหลกมี รูปรางกลม ท้ังกะโหลกและคันทวน ใชไมเน้ือแข็งช้ินเดียวควาน ตอนท่ีเปนกะโหลกใหเปน โพรง ตดั แผน ไมใหกลม แลวเจาะรูตรงกลางทําเปนฝาปดดานหนาเพ่ืออุมเสียงใหกังวาน คัน ทวนทําเปนเหลี่ยมแบนตอนหนาเพ่ือติดตะพาน หรือนมรับนิ้วจํานวน 9 อัน ตอนปลายคัน ทวนทําเปน รปู โคง และขดใหเ ปนรอง เจาะรูสอดลูกบิดขางละ 2 อัน รวมเปน 4 อัน สอดเขา ไปในรอ ง สาํ หรบั ข้ึนสาย 4 สาย สายของซึงใชสายลวดขนาดเล็ก 2 สาย และสายใหญ 2 สาย ซงึ่ เปน เครอ่ื งดีดทชี่ าวไทยทางภาคเหนือนิยมนํามาเลน รวมกบั ปซ อ และสะลอ 2. เครอ่ื งดนตรีไทยประเภท เครอ่ื งสี เครอ่ื งสี เปนเคร่ืองสายทีท่ าํ ใหเกิดเสียงดวยการใชค นั ชกั สีเขากับสาย โดยมากเรียกวา “ซอ” เครอื่ งสีทน่ี ิยมเลน ไดแก ซอดว ง เปนซอสองสาย กะโหลกของซอดวงน้ันเดิมใชกระบอกไมไผ ปจจุบันใชไมจริง หรือ งาชางทําก็ได แตท่ีนิยมทําดวยไมลําเจียก สวนหนาซอนิยมใชหนังงูเหลือมขึง ดานมือจับมี หมุดสําหรับใหเสนหางมาคลอง อีกดานหน่ึงเจาะรูไวรอยเสนหางมา สอดเสนหางมาใหอยู ภายในระหวางสายเอกกับสายทุมสําหรับสี การเทียบเสียง เทียบเสียงใหตรงกับเสียงขลุย เพียงออ เหตทุ เี่ รียกวา ซอดวงก็เพราะมีรปู รา งคลา ยเคร่อื งดักสัตว กระบอกไมไผเหมอื นกนั

35 ซออู เปนซอสองสาย ตวั กะโหลกทาํ ดวยกะลามะพราว คันทวนทําดว ยไมเน้ือแข็ง ตอนบนมี ลูกบดิ สาํ หรับขงึ สาย สายซอทาํ ดว ยไหมฟน มคี นั ชกั อยรู ะหวา งสาย ซออมู ีเสียงทมุ ต่าํ มีรปู รา ง คลาย ๆ กบั ซอของจนี ทเี่ รยี กวา ฮู – ฮู (Hu-hu) เหตุท่ีเรียกวา ซออู ก็เพราะเรียกตามเสียงที่ได ยินนั่นเอง สะลอ เปนเคร่อื งดนตรพี ืน้ เมืองลานนาชนิดหนึ่ง เปนประเภทเครื่องสีซึ่งมีท้ัง 2 สาย และ 3 สาย คันชักสาํ หรับสจี ะอยขู างนอกเหมือนคันชักซอสามสาย สะลอเรียกอีกอยางหนึ่งวา ทรอ หรือซะลอ สะลอใชบรรเลงประกอบการแสดง หรือบรรเลงรวมกบั บทรอ ง และทํานองเพลงได ทุกชนิด ซอสามสาย สว นตาง ๆ ของซอสามสาย ดังน้ี 1. ทวนบน เปน สว นบนสุดของคนั ซอ ทาํ หนาทค่ี ลา ย ๆ กับทอ อากาศ 2. ทวนลา ง ทําเปนรูปทรงกระบอก ทาํ หนาที่เปน ตาํ แหนงสําหรบั กดนว้ิ ลงบนใน ตาํ แหนง ตา ง ๆ 3. พรมบน คือสว นที่ตอ จากทวนลา งลงมา สวนบนกลงึ เปนลกู แกว สวนตอนลางทาํ เปน รูปปากชางเพอ่ื ประกอบกบั กะโหลกซอ 4. พรมลาง สว นทีป่ ระกบกบั กะโหลกซอ ทาํ เปน รูปปากชาง 5. ถวงหนา ควบคมุ ความถขี่ องเสียง ทาํ ใหม เี สยี งนมุ นวลไพเราะ นา ฟงยิ่งขนึ้ 6. หยอง ทาํ ดว ยไมไ ผ แกะใหเ ปนลกั ษณะคู ปลายทงั้ สองของหยองควา นเปน เบา ขนมครก เพ่อื ทาํ ใหเสียงที่เกดิ ขึ้นสง ผา นไปยังหนาซอ มีความกงั วานมากยิ่งขน้ึ 7. คันสี (คันชกั ) ประกอบดว ย ไม และหางมา คันสนี ั้นเหลาเปน รปู คันศร โดยมาก นยิ มใชไมแ กว เพราะเปนไมเ นื้อแข็ง และมลี วดลายงดงาม

36 การสซี อ วางคันสีใหช ิดดา นใน ใหอ ยูในลักษณะเตรยี มชกั ออก แลวลากคนั สีออกชา ๆ ดวยการ ใชวิธสี ีออก ลากคนั สีใหส ดุ แลวเปลีย่ นเปนสีเขาในสายเดยี วกนั ทาํ เรือ่ ยไปจนกวา จะคลอง พอคลอ งดีแลว ใหเปลี่ยนมาเปนสสี ายเอก โดยดันนว้ิ นางกบั นวิ้ กอยออกไปเลก็ นอ ย ซอจะ เปลี่ยนเปน เสียง ซอล ทันที ดังน้ีคนั สี ออก เขา ออก เขา เสยี ง โด โด ซอล ซอล ฝก เรื่อยไป จนเกิดความชํานาญ ขอ ควรระวงั ตองวางซอใหตรง โดยใชม อื ซา ยจบั ซอใหพอเหมาะ อยา ใหแ นนเกินไป อยา ให หลวมจนเกนิ ไป ขอมอื ที่จบั ซอตองทอดลงไปใหพ อดี ขณะนั่งสียืดอกพอสมควร อยา ใหหลัง โกงได มอื ท่คี บี ซอใหอ อกกําลงั พอสมควรอยาใหซ อพลิกไปมา 3. เคร่ืองดนตรไี ทยประเภท เครอื่ งตี เครอื่ งตีแยกไดเ ปน 3 ประเภทตามหนาทใี่ นการเลน คือ 1. เครือ่ งตที ่ีทําจังหวะ หมายถึง เครอ่ื งตที ่เี มอื่ ตแี ลวจะกลายเปน เสียงท่คี มุ จังหวะกา เลนของเพลงน้นั ๆ ตลอดทั้งเพลง ไดแ ก ฉ่งิ และฉับ ถือเปน หวั ใจของการบรรเลง 2. เคร่ืองตที ี่ประกอบจงั หวะมหี ลายอยาง เชน กลองแขก กลองทัด ตะโพนไทย ตะโพนมอญ ฉาบใหญ ฉาบเล็ก กรับ โหมง เปงมางคอก กลองตกุ ฯลฯ 3. เคร่อื งตีท่ีทาํ ใหเกิดทํานอง ไดแก ฆองไทยวงใหญ ฆองไทยวงเล็ก ฆอ งมอญวงใหญ ฆอ งมอญวงเล็ก ระนาดเอก ระนาดทุม ขมิ องั กะลงุ (บรรเลงเปนวง) ตวั อยางของเครอ่ื งดนตรไี ทยประเภทเครอื่ งตี ไดแก กรบั พวง ทําดวยไม หรือโลหะ ลักษณะเปน แผนบางหลายแผน รอ ยเขา ดวยกัน ใชไมหนาสองชิ้น ประกับไว วธิ ตี ี ใชม อื หน่งึ ถอื กรบั แลว ตกี รับลงไปบนอกี มือหนง่ึ ทรี่ องรบั ทาํ ใหเกิดเสยี ง กระทบจากแผน ไม หรอื แผน โลหะดงั กลาว

37 ระนาดเอก วิวฒั นาการมาจากกรับ ลกู ระนาดทาํ ดวยไมไผบ ง หรือไมแกน ระนาดเอกในปจจุบันมี จํานวน 21 ลูก มีความยาวประมาณ 120 ซม. มีเทารอง รางเปนเทาเดี่ยว รูปคลายกับพาน แวนฟา ระนาดทมุ เปนเครื่องดนตรีทส่ี รางข้ึนมาในรัชกาลท่ี 3 สรา งเลียนแบบระนาดเอก มรี ูปรา งคลาย หบี ไม แตเวา ตรงกลางใหโ คง รางระนาดทมุ จะมีขนาดยาวประมาณ 124 ซม. ปากรางกวา ง ประมาณ 22 ซม. มีเทา เตย้ี ๆ รองไว 4 มุมราง ระนาดเอกเหลก็ หรอื ระนาดทอง ระนาดเอกเหลก็ ประดิษฐข้ึนในรัชกาลที่ 4 แตเดิมลูกระนาดดวยทองเหลือง จึงเรียก กันวาระนาดทอง ระนาดเอกเหล็กมีขนาด 23.5 ซม. กวางประมาณ 5 ซม. ลดหลั่นข้ึนไป จนถึงลูกยอดท่ีมีขนาด 19 ซม. กวางประมาณ 4 ซม. รางของระนาดเอกเหล็กนั้นทําเปนรูป ส่เี หล่ียม มีเทา รองรบั ไวท ง้ั 4 ดาน ระนาดทุมเหลก็ ระนาดทุมเหลก็ มีจาํ นวน 16 หรือ 17 ลกู ตวั รางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปากราง กวางประมาณ 20 ซม. มีเทารองติดลูกลอ 4 เทา เพื่อใหเคล่ือนท่ีไปมาไดสะดวก ตัวรางสูง จากพนื้ ถงึ ขอบบนประมาณ 26 ซม. ระนาดจะใชไมตี 2 อัน ทําไมตีเปน 2 ชนิด ชนิดหน่ึงทํา หัวไมต ใี หแขง็ เมอ่ื ตจี ะมีเสียงดงั เกรยี วกราว เม่ือนําเขา ผสมวงจะเรียกวา “วงปพาทยไมแข็ง” อีกชนิดหนึ่งทําไมตีใหออนนุมเม่ือตีจะเกิดเสียงนุมนวล เวลานําระนาดเอกท่ีใชไมตีชนิดน้ีมา ผสมวง จะเรียกวา “วงปพ าทยไมน วม” กลองแขก มีรูปรางยาวเปนกระบอก หนาดานหน่ึงใหญเรียกวา “หนาลุย” หนาดานหน่ึงเล็ก เรียกวา “หนา ตา น” หนงั หนา กลองทําดวยหนงั ลกู ววั หนังแพะ ใชเ สน หวายผา ซกี เปนสายโยง เรง ใหตึงดว ยรัดอก สาํ รับหนง่ึ มีสองลูก ลูกเสียงสูงเรยี กวา “ตัวผู” ลกู เสียงต่ําเรยี กวา “ตวั เมีย” การตีใชฝ ามอื ทัง้ สองตีทั้งสองหนาใหเสียงสอดสลับกนั ท้งั สองลกู

38 กลองชนะ รปู รา งเหมอื นกลองแขกแตส ั้นกวา หนาหน่ึงใหญ อกี หนา หนึ่งเล็ก ใชตีดวยไมง อ ๆ หรือหวาย ทางดานหนาใหญ เดมิ กลองชนะนาจะใชในกองทัพ หรือในการสงคราม ตอ มาใช เปนเคร่ืองประโคมในกระบวนพยุหยาตรา และใชประโคมพระบรมศพ พระศพ และศพ ตาม เกียรติยศของงาน กลองยาว หุนกลองทําดวยไม ตอนหนาใหญ ตอนทายเรียวแลวบานปลายเปนรูปดอกลําโพงมี หลายขนาด ข้ึนหนงั หนา เดียว ตัวกลางนยิ มตบแตงใหส วยงามดวยผาสี หรือผาดอกเย็บจีบยน ปลอยเชิงเปน ระบายหอยมาปกดว ยกลอง มสี ายสะพายสําหรบั คลองสะพายบา ใชตดี วยฝามือ แตการเลนโลดโผน อาจใชสวนอื่น ๆ ของรางกายตีก็มี กลองยาวไดแบบอยางมาจากพมา นยิ มเลน ในงานพธิ ีขบวนแห กลองชนดิ นี้เรียกชอ่ื ตามเสียงท่ตี ไี ดอีกชอื่ หน่ึงวา “กลองเถดิ เทงิ ” ตะโพน ทําดวยไมเน้ือแข็ง ขุดแตงใหเปนโพรงภายใน ขึ้นหนังสองหนา ตรงกลางปอง และ สอบไปทางหนาท้ังสอง หนาหน่ึงใหญเรียกวา “หนาเท่ิง” หรือ “หนาเทง” ปกติอยูดาน ขวามือ อีกหนาหน่ึงเล็ก เรียกวา “หนามัด” ใชสายหนังเรียกวา “หนังเรียด” โยงเรงเสียง ระหวา งหนาทง้ั สอง ตรองรอบขอบหนังข้นึ หนา ทง้ั สองขา ง ถักดวยหนังตีเกลียวเปนเสนเล็ก ๆ เรียกวา “ไสละมาน” สําหรับใชรอยหนังเรียด โยงไปโดยรอบจนหุมไมหุนไวหมด ตอนกลาง หนุ ใชหนงั เรียดพันโดยรอบเรียกวา “รัดอก” หัวตะโพนวางนอนอยูบนเทาที่ทําดวยไม ใชฝา มอื ซา ย - ขวาตีท้ังสองหนา ฆอง ทําดวยโลหะแผนรูปวงกลม ตรงกลางทําเปนปุมนูน เพ่ือใชรองรับการตีใหเกิดเสียง เรยี กวา ปุมฆอง ตอ จากปมุ เปน ฐานแผออกไป แลว งองุมลงมาโดยรอบเรียกวา “ฉัตร” สวนท่ี เปน พ้ืนราบรอบปมุ เรียกวา “หลงั ฉัตร” หรอื “ชานฉัตร” สว นท่ีงอเปนของเรียกวา “ใบฉัตร” ท่ใี บฉัตรน้จี ะมรี เู จาะสาํ หรบั รอยเชือก หรอื หนังเพ่ือแขวนฆอง ถาแขวนตีทางต้ังจะเจาะสองรู ถาแขวนตีทางนอนจะเจาะส่ีรู การบรรเลงฆองใชในการบรรเลงไดสองลักษณะคือ ใชตีกํากับ

39 จังหวะ และใชตีดําเนินทํานอง ฆองท่ีใชตีกํากับจังหวะไดแก ฆองหุย หรือฆองชัย ฆองโหมง ฆอ งเหมง ฆอ งระเบง็ ฆอ งทีใ่ ชตีดําเนินทํานองไดแ ก ฆองราง ฆอ งวงใหญ ฆองวงเลก็ ฆองมโหรี ฆองมอญ ฆอ งกะแต และฆอ งหยุ หรอื ฆองชยั ฆองกะแต ฉาบ เปนเครื่องตีกํากับจังหวะ ทําดวยโลหะ รูปรางคลายฉ่ิง แตมีขนาดใหญกวาและหลอ บางกวา มีสองขนาด ขนาดใหญกวา เรยี กวา ฉาบใหญ ขนาดเล็กกวา เรียกวา ฉาบเล็ก การตี จะตีแบบประกบ และตีแบบเปด ใหเสียงตา งกัน ฉ่งิ เปนเคร่ืองตกี าํ กบั จงั หวะ ทําดวยโลหะ หลอ หนา รูปรา งกลม เวากลาง ปากผาย คลาย ฝาขนมครกไมมีจุก สํารับหน่ึงมีสองฝาเจาะรูตรงกลางที่เวา สําหรับรอยเชือกโยงฝาท้ังสอง เพ่ือสะดวกในการถือตี ฉิ่งมีสองขนาด ขนาดใหญใชประกอบวงปพาทย ขนาดเล็กใชกับวง เคร่ืองสายและมโหรี 4. เครอ่ื งดนตรไี ทยประเภท เครอื่ งเปา ขลยุ ทาํ ดว ยไมไ ผป ลอ งยาว ๆ เจาะขอ ทะลุ ยา งไฟใหแหง ตบแตงผวิ ใหไหมเ กรยี มเปน ลวดลายสวยงาม ดานหนา เจาะรกู ลม ๆ เรยี งแถวกนั 7 รู สาํ หรบั ปด เปดเสยี ง ขลุยไมมีลิน้ เหมอื นป แตใช ไมอ ดุ เตม็ ปลอ ง แลวปาดดานลางใหม ีชอ ง ไมอ ดุ นเี้ รียกวา “ดาก” ดานหลงั ใต ดากลงมาเจาะรเู ปนรปู สเ่ี หลยี่ มผืนผา แตปาดตอนลา งเปน ทางเฉยี งไมเ จาะทะลตุ รงเหมือนรู ดา นหนา เรียกวา “รปู ากนกแกว” ใตร ปู ากนกแกว ลงมาเจาะรูอกี 1 รู เรียกวา “รนู ิ้วค้ํา” เจาะรอู กี รูหน่งึ เรียกวา “รเู ยอ่ื ” ขลยุ 1 เลา จะมีรทู งั้ สิ้น 14 รู ขลุยมีทงั้ หมด 3 ชนิด คือ 1. ขลยุ หลบี มขี นาดเล็ก 2. ขลยุ เพียงออ มขี นาดกลาง 3. ขลุยอู มขี นาดใหญ

40 ป เปน เครือ่ งดนตรไี ทยแท ๆ ทําดวยไมจรงิ กลึงใหเปนรูปบนหัวบานทาย ตรงกลางปอง เจาะภายในใหกลวงตลอดเวลา ทางหัวของปเปนชองรูเล็ก สวนทางปลายของปปากรูใหญ สว นหวั เรยี ก “ทวนบน” สวนทายเรียก “ทวนลาง” ตอนกลางของปเจาะรูนิ้วสําหรับเปลี่ยน เสียงลงมาจาํ นวน 6 รู รูตอนบนเจาะเรียงลงมา 4 รู เจาะรูลางอีก 2 รู ตรงทวนบนใสลิ้นปที่ ทําดวยใบตาลซอนกนั 4 ชัน้ ตัดใหกลมแลวนําไปผูกติดกับทอลมเล็ก ๆ ท่ีเรียกวา “กําพวด” กําพวดน้ีทําดวยทองเหลือง เงิน นาค หรอื โลหะ การผกู ใชว ธิ ีผูกที่เรียกวา “ผกู ตะกรุดเบด็ ” ปของไทยจัดไดเปน 3 ชนดิ ดงั น้ี 1. ปน อก มีขนาดเล็ก เปน ปท ่ีใชก ันมาแตเ ดิม 2. ปก ลาง มีขนาดกลาง สําหรับเลน ประกอบการแสดงหนังใหญ มสี าํ เนียงเสียงอยู ระหวางปน อกกับปใ น 3. ปใ น มีขนาดใหญ เปนปท่ีพระอภัยมณใี ชส ําหรับเปา ใหน างผเี สอ้ื สมทุ ร วงดนตรีไทย แบง เปน ก่ีประเภท อะไรบาง 1. วงเครื่องสาย มี 4 แบบ คือ วงเครือ่ งสายไทยเครื่องเดยี่ ว, วงเครือ่ งสายไทยเคร่อื ง ค,ู วงเครอ่ื งสายผสม และวงเครื่องสายปชวา 2. วงมโหรี ประกอบดว ยเครอ่ื งดนตรผี สม ทัง้ ดีด สี ตี เปา เปนวงดนตรที ่ีใชบ รรเลง เพื่อขบั กลอม ไมนยิ มบรรเลงในการแสดงใด ๆ วงมโหรีมี 5 แบบ คอื 1) วงมโหรีเครอ่ื งสี 2) วงมโหรีเครอ่ื งหก 3) วงมโหรเี คร่ืองเดี่ยว หรอื วงมโหรเี ครอื่ งเล็ก 4) วงมโหรเี ครื่องคู และ 5) วงมโหรเี คร่อื งใหญ 3. วงปพาทย ประกอบดวยเครอ่ื งดนตรีประเภท ตี เปา และเครื่องประกอบจงั หวะ ใชบ รรเลงในงานพระราชพิธี และพธิ ีตาง ๆ แบง ตามขนาดไดดังน้ี 3.1 วงปพ าทยเ ครอ่ื งสบิ 3.2 วงปพาทยเ ครอื่ งหา แบงเปน 2 ชนิด คือ ปพาทยเครอื่ งหา อยางหนัก และปพาทยเคร่อื งหาอยา งเบา 3.3 วงปพ าทยเครอื่ งคู 3.4 วงปพ าทยเ ครอื่ งใหญ นอกจากนว้ี งปพ าทยยังมอี ีก 3 ประเภทใหญ ๆ คือ วงปพาทยน างหงส วงปพ าทย มอญ วงปพ าทยดึกดําบรรพ

41 เรื่องที่ 2.3 ประวตั คิ ณุ คา ภูมปิ ญ ญาทางดนตรีไทย ภูมิปญ ญาไทย มคี ณุ คา และความสําคญั อยางไร 1. ภมู ิปญ ญาไทยแสดงใหเ ห็นถงึ การอนรุ กั ษท่ดี งี าม ทงั้ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม และการประดิษฐคิดคน เพือ่ ใชประโยชนอ ยา งใดอยา งหนง่ึ อยา งมีคุณคา 2. ภมู ิปญญาไทยกอใหเกิดการคิดริเริ่มสรา งสรรคคุณคาทางสังคมใหม ทง้ั ในสงิ่ ทีเ่ ปน รูปธรรม และนามธรรม 3. ภูมปิ ญญาไทยกอ ใหเกดิ การผลติ ภณั ฑ การแปรรูป และการสรา งอาชพี ใหม ทง้ั ดา นการผลติ สิง่ ใหม และวิธกี ารผลิตสิง่ ใหม ๆ 4. ภมู ิปญ ญาไทยกอ ใหเกิดเอกลกั ษณของทอ งถิ่น 5. ภมู ปิ ญ ญาไทยกอใหเกดิ ศลิ ปะของชาติ เชน จติ รกรรมลายไทย การฟอนราํ เครือ่ ง ดนตรีไทย แสดงถึงความเปนอารยธรรมของชาติ 6. ภูมปิ ญญาไทยไดเสริมสรา งความสงบสขุ ในการดํารงชวี ติ 7. ภมู ปิ ญ ญาไทยสามารถสรา งมูลคาทางเศรษฐกิจ และคุณคา ทางสงั คมได 8. ชว ยสรา งความสามคั คีในหมูคณะ 9. เสริมสรางใหคนไทยเกดิ ความภาคภูมิใจในศักดศิ์ รี และเกียรติภมู ใิ นความเปน ไทย 10. สามารถนาํ ไปสูการเปลยี่ นแปลง และปรบั ปรงุ วิถชี ีวิตใหเกิดการเหมาะสมไดตาม ยคุ ตามสมัย บคุ คลและภูมปิ ญ ญาทางดนตรีไทยท่สี ําคญั มใี ครบา ง บคุ คล และภมู ิปญญาทางดนตรีไทย ต้งั แตอ ดีตจนถงึ ปจจุบัน มจี ํานวนมาก อาทิเชน พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลานภาลัย (รชั กาลที่ 2) ทรงพระราชนิพนธเ พลง บหุ ลันลอยเลอื่ น หรอื บหุ ลันลอยฟา ครมู นตรี ตราโมท เกดิ เมอื่ วนั ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2443 จังหวดั สุพรรณบุรี ไดแตงเพลงตอยติ่ง 3 ชัน้ และมคี วามสามารถในการตขี มิ อยางย่งิ พระยาประสานดุริยศัพท (แปลก ประสานศัพท) เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2403 ไดเ ปนเจากรมปพ าทยหลวงในสมัยรัชกาลท่ี 6 และไดแตงเพลงเชิดจั่น 3 ชั้น พมาหัว ทอน เขมรราชบรุ ี เขมรปากทอ เขมรใหญ ดอนสมอ ทองยอ น เทพรัญจวน แมลงภูทอง

42 สานไมใน อาถรรพ พราหมณเขาโบสถ ธรณีรองไห มอญรองไห เปนตน มีความสามารถ ในทางดนตรีอยางมากโดยเฉพาะเรอื่ งขลยุ ครบู ญุ ยงค เกตคุ ง ไดเปนหัวหนาวงดนตรไี ทยกรงุ เทพมหานครจนเกษยี ณอายุ เปน ผูมคี วามเชี่ยวชาญในทางดนตรอี ยางยงิ่ บรรเลงปพ าทยไ ดทุกชนิด โดยเฉพาะระนาดเอกซึง่ ไดร ับการยกยอ งเปนพเิ ศษ ไดแ ตง เพลงไวจาํ นวนมาก เชน โหมโรงแวนเทียนชยั โหมโรง จุฬามณี โหมโรงสามสถาบัน เพลงเทพชาตรี เถา เพลงสรอยลาํ ปาง เถา เพลงวัฒนา เวียตนาม เถา เพลงชเวดากอง เถา เพลงสยามานสุ สติ เถา เพลงนกกระจอกทอง เถา เพลงขอมกลอ มลกู เถา เพลงเดอื นหงายกลางปา เถา และเพลงตระนาฏราช พระองคเ จาเพญ็ พฒั นพงศ กรมหมืน่ พไิ ชยมหนิ ทโรดม ประสตู ิเมอ่ื วันที่ 13 กนั ยายน พ.ศ. 2425 ไดท รงแตงเพลง “ลาวดวงเดือน” ครูทองดี สุจรติ กุล เกดิ เม่อื วันท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2455 จงั หวดั ราชบุรี มีความสามารถโดดเดนในการเลนจะเข เคยเดี่ยวจะเขถวายหนา พระทน่ี ั่ง และเคยอัด แผน เสียงพระราชนิพนธใ นพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยหู ัว พ.ศ. 2498 เรม่ิ เปนครู สอนในวทิ ยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ทาํ หนาทสี่ อนจะเข ไดร ับการยกยอ งเชดิ ชเู กยี รติ เปน ผูมีผลงานดีเดนทางวฒั นธรรมสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจาํ ป พ.ศ. 2538 หลวงประดษิ ฐไพเพราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ไดแ ตง เพลงไวเ ปนจํานวนรอย ๆ เพลง และมีชนิดท่ีทําแนวทางบรรเลงเปลีย่ นไปจากของเกา เรียกวา “ทางเปลย่ี น” และเปนผู ประดิษฐเครื่องดนตรี “อังกะลุง”

43 เร่ืองท่ี 2.4 คณุ คา ความงามความไพเราะของเพลง และเครอ่ื งดนตรไี ทย เพลงและเคร่อื งดนตรีไทย มคี ณุ คา และประโยชนอ ยา งไร ประโยชนของดนตรไี ทย 1. เปนเคร่อื งมอื ทีส่ ามารถตอบสนองความตองการในการประเทอื งอารมณ กระตนุ ความรสู ึกของเราอยางมาก 2. ทาํ ใหมนุษยอยูอ ยางมีอารมณ ความรูสกึ มเี ครอ่ื งมอื ประเทืองจติ ใจ มีความ ละเอยี ดออ น และเกดิ ความสขุ ความสนุกสนาน 3. ทาํ ใหโลกมีความสดใส มสี สี ัน 4. ทําใหคนฟง รูสึกผอนคลาย จติ ใจเบกิ บาน คณุ คา ในดนตรที ่ีเปน มรดกทางวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ญาไทย 1. วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบานภาคกลาง ดนตรีพื้นบานภาคกลางสวนใหญ ประกอบดวยเคร่ืองดนตรีประเภทตี และเปา เรียกรวมเปนเครื่องตีเปา ซึ่งถือเปนเครื่อง ประโคมด้ังเดมิ ทเ่ี กา แกท สี่ ดุ และพัฒนาจนกลายเปนวงปพาทยในปจจุบัน ดนตรีพื้นบานภาค กลางถือเปน การถายเทระหวา งวฒั นธรรมราษฎรกับวัฒนธรรมหลวง ซึ่งเปนการผสมผสานจน เกดิ เปน อตั ลกั ษณข องวงดนตรีพนื้ บานภาคกลางทต่ี า งจากภาคอ่นื ๆ 2. วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบานภาคเหนือ ยุคแรกสวนใหญจะเปนเครื่องดนตรี ประเภทตี และไดพ ฒั นาเปนเคร่ืองดีด และสี ซึง่ เกดิ การประดิษฐธนู เพื่อเปนเคร่ืองมือท่ีใชใน การลาสัตว เชน พิณเพ๊ียะ สะลอ ซึง ซอชนิดตาง ๆ เปนตน จากน้ันมนุษยไดประดิษฐ เคร่ืองเปาขึ้น เชน ขลุย และป ซ่ึงเกิดจากการฟงเสียงกระแสลมท่ีพัดผานปากปลองคูหาถ้ํา หรือเสยี งลมกระทบทิวไผต น ไมต าง ๆ เปนตน 3. วฒั นธรรมทางดนตรพี ืน้ บา นภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ แบงออกเปน 3 กลุม ดังน้ี - ดนตรกี ลุมวัฒนธรรมหมอลํา เปนคนกลมุ ใหญท ่ีสุดในภาคอสี าน มกี ารขบั รอ ง และเปาแคนประกอบ พิณเปน เครอื่ งดนตรีทไี่ ดรับความนิยมรองลงมา จนกระทั่งปจจบุ นั นิยมเลนโปงลางกนั อยา งแพรหลายมากยงิ่ ข้ึน - ดนตรกี ลมุ วัฒนธรรมกันตรมึ เปน ดนตรีขบั รองท่เี รียกวา เจรียง ซึ่งเปน เครื่องดนตรีของชาวสรุ ินทร บรุ รี มั ย และศรีสะเกษ

44 - ดนตรกี ลมุ วฒั นธรรมโคราช เพลงโคราช เปน การแสดงเชน เดียวกบั ลเิ กของ ภาคกลาง ซ่งึ เปนการขับรองโตตอบกันระหวางหมอเพลงชายกับหมอเพลงหญิง 4. วัฒนธรรมทางดนตรพี ื้นบา นภาคใต ไดแก - วัฒนธรรมทางดนตรที ี่เกย่ี วกบั ส่ิงศกั ดส์ิ ิทธิ์ ความเชอ่ื เรอ่ื งภูตผีปศ าจ อาํ นาจ เรนลบั เพอ่ื ใหเ กิดคุณประโยชนอยางใดอยา งหนงึ่ ไดแก การเลนมะตือรใี นหมูชาวไทยมุสลิม และการเลนตะครมึ ในหมูชาวไทยพุทธ เปนตน - วัฒนธรรมทางดนตรีทเ่ี กย่ี วของกับประเพณี ในบั้นปลายของชีวิตเมอื่ ถงึ แก กรรมกอ็ าศัยเครือ่ งดนตรีเปนเครอื่ งไปสูสุคติ ดงั จะเห็นจากการเลนกาหลอในงานศพ เพอ่ื ออ น วอนเทพเจาใหน ํารา งของผูเสียชวี ติ ไปสภู พภมู ิที่ดี - วัฒนธรรมทางดนตรที เ่ี ก่ยี วขอ งกบั การดํารงชีวิต ชาวพ้นื เมืองภาคใตน ยิ ม ประโคมโพนเปนสัญญาณบอกกลาวแกชาวบาน เพือ่ ใหชาวบา นทราบวาท่ีวดั มกี ารทําเรอื พระ สําหรับใชช ักลากในเทศกาลชกั พระ - วฒั นธรรมทางดนตรที ี่เกีย่ วของกบั การเสรมิ สรางความสามคั คี เชน กรือโตะ และบานอ ชาวบานจะรวมกนั ทาํ ขน้ึ มาเพอ่ื ใชเ ลน สนุกรวมกัน และใชแขง ขันกับหมบู า นอื่น เปน ตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook