ประชาธปิ ไตย ในพระพุทธศาสนา +
หลักประชาธิปไตยท่ัวไปในพระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประชาธปิ ไตยมาต้ังแต่เร่มิ แรก ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะทรงมอบให้ พระสงฆเ์ ปน็ ใหญ่ในกิจการท้ังปวงเสยี อกี ลักษณะท่เี ปน็ ประชาธปิ ไตยในพระพุทธศาสนามีตัวอย่าง ดังต่อไปน้ี 1. พระพทุ ธศาสนามพี ระธรรมวินยั เปน็ ธรรมนญู หรือกฎหมายสูงสดุ พระธรรม คือ คำสอนท่ี พระพทุ ธเจ้าทรงแสดง พระวนิ ยั คอื คำสงั่ อันเปน็ ขอ้ ปฏบิ ัติทพ่ี ระพุทธเจ้าทรงบัญญตั ิข้ึนเม่อื รวมกนั เรียกว่า พระธรรมวินยั ซ่ึงมคี วามสำคัญขนาดทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงมอบใหเ้ ป็นพระศาสดาแทนพระองค์ กอ่ นท่ีพระองค์จะปรินิพพานเพยี งเลก็ น้อย 2. มกี ารกำหนดลักษณะของศาสนาไว้เรยี บร้อย ไมป่ ลอ่ ยให้เป็นไปตามยถากรรม ลกั ษณะของ พระพทุ ธศาสนาคอื สายกลาง ไมซ่ ้ายสุด ไมข่ วาสุด ทางสายกลางน้ีเป็นครรลอง อาจปฏิบัตคิ ่อนข้าง เครง่ ครัดก็ได้ โดยใช้สทิ ธใิ นการแสวงหาอดเิ รกลาภตามทที่ รงอนญุ าตไว้ ในสมัยต่อมา เรียกแนว กลางๆ ของพระพทุ ธศาสนาวา่ วิภัชชวาที คอื ศาสนาทกี่ ลา่ วจำแนกแจกแจง ตามความเปน็ จรงิ บางอยา่ งกล่าวยนื ยนั โดยสว่ นเดียวได้ บางอยา่ งกลา่ วจำแนกแจกแจงเป็นกรณี ๆ ไป 3. พระพทุ ธศาสนา มีความเสมอภาคภายใต้พระธรรมวินยั บคุ คลท่ีเป็นวรรณะกษตั ริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทรมาแตเ่ ดิม รวมทั้งคนวรรณะตา่ กวา่ นน้ั เชน่ พวกจัณฑาล พวกปุกกสุ ะคนเก็บขยะ และพวก ทาส เม่อื เขา้ มาอุปสมบทในพระพทุ ธศาสนาอย่างถูกต้องแลว้ มคี วามเทา่ เทยี มกัน คอื ปฏิบัติตาม สกิ ขาบทเท่ากัน และเคารพกันตามลำดับอาวโุ ส คือผู้อุปสมบทภายหลังเคารพผูอ้ ปุ สมบทกอ่ น 4. พระภกิ ษใุ นพระพทุ ธศาสนา มสี ิทธิ เสรีภาพภายใตพ้ ระธรรมวนิ ัย เช่นในฐานะภกิ ษุเจ้าถน่ิ จะมี สิทธิได้รับของแจกกอ่ นภกิ ษอุ าคนั ตุกะ ภกิ ษทุ จ่ี ำพรรษาอยู่ด้วยกนั มีสิทธิไดร้ ับของแจกตามลำดบั พรรษา มสี ิทธริ ับกฐิน และได้รบั อานิสงสก์ ฐินในการแสวงหาจวี รตลอด 4 เดือนฤดูหนาวเท่าเทยี มกัน นอกจากนั้นยงั มเี สรีภาพท่ีจะเดินทางไปไหนมาไหนได้ จะอยจู่ ำพรรษาวัดใดกไ็ ดเ้ ลอื กปฏบิ ตั กิ รรมฐาน ขอ้ ใด ถือธุดงควัตรข้อใดก็ได้ทั้งสน้ิ ฃ 5. มกี ารแบง่ อำนาจ พระเถระผูใ้ หญ่ทำหน้าท่ีบรหิ ารปกครองหมคู่ ณะ การบญั ญัตพิ ระวนิ ัย พระพุทธเจ้าทรงบัญญตั เิ อง เช่นมีภิกษุผทู้ ำผดิ มาสอบสวนแลว้ จึงทรงบัญญตั พิ ระวนิ ัย สว่ นการ ตัดสนิ คดตี ามพระวินยั ทรงบญั ญตั ิแลว้ เปน็ หน้าท่ขี องพระวินยั ธรรมซึง่ เทา่ กับศาล 6. พระพทุ ธศาสนามหี ลกั เสียงข้างมาก คอื ใชเ้ สยี งขา้ งมาก เปน็ เกณฑ์ตดั สนิ เรยี กวา่ วิธเี ยภุยย สิกา การตัดสนิ โดยใชเ้ สียงขา้ งมาก ฝา่ ยใดไดร้ ับเสียงข้างมากสนบั สนุน ฝา่ ยนนั้ เปน็ ฝา่ ยชนะคดี
หลักประชาธิปไตยในการท่พี ระพทุ ธเจา้ ทรงมอบความเป็นใหญ่แก่สงฆ์ การมอบความเป็นใหญ่แกส่ งฆม์ ลี กั ษณะตรงกับหลกั ประชาธิปไตยหลายประการ สว่ นมากเปน็ เรอื่ งสังฆกรรม คอื การประชุมกันทำกจิ สงฆอ์ ย่างใดอย่างหน่งึ ใหส้ ำเร็จ การทำสงั ฆกรรมประกอบดว้ ย ส่วนสำคัญ 5 ประการ ถ้าทำผิดพลาดประการใดประการหน่งึ จะทำใหส้ งั ฆกรรมน้ันเสยี ไป ใช้ไม่ได้ ไม่ มีผล คือเปน็ โมฆะ ส่วนสำคัญ 5 ประการมีดังน้คี อื 1 จำนวนสงฆอ์ ย่างต่าทีเ่ ข้าประชมุ การกำหนดจำนวนสงฆ์ผเู้ ขา้ ประชมุ อยา่ งต่าว่าจะทำสังฆกรรม อย่างใดได้บา้ งมี 5 ประเภท คือ 1.1 ภิกษุ 4 รปู เขา้ ประชุม เรยี กว่า สงฆ์จตุรวรรค สามารถทำสังฆกรรมได้เกอื บทกุ ชนิด เวน้ แต่ การอปุ สมบทหรอื การบวชพระ การปวารณาหรือ พิธีกรรมในวนั ออกพรรษาท่ที รงอนุญาตใหว้ ่า กลา่ วตักเตือนกนั และกัน และการสวดอพั ภาน หรือการเพกิ ถอนอาบตั ิหนกั ของภกิ ษบุ างรูป 1.2 ภกิ ษุ 5 รูป เข้าประชมุ เรียกว่า สงฆ์ปญั จวรรค สามารถทำสังฆกรรมทีส่ งฆจ์ ตุรวรรค ทำไดท้ ้งั หมด และยังเพิ่มการปวารณา การอุปสมบทในชนบทชายแดนได้อีกด้วย 1.3 ภิกษุ 10 รูป เขา้ ประชมุ เรยี กว่า สงฆท์ สวรรค สามารถทำสงั ฆกรรมที่สงฆ์ปัญจวรรคทำ ได้ทงั้ หมด และยังเพิม่ การอปุ สมบทในมชั ฌชิ นบท คอื ในภาคกลางของอนิ เดยี ได้อกี ดว้ ย 1.4 ภกิ ษุ 20 รูปเข้าประชุม เรียกวา่ สงฆว์ สี ตวิ รรค สามารถทำสังฆกรรมได้ทกุ ชนดิ รวมทั้ง สวดอพั ภาน เพิกถอนอาบัตหิ นักด้วย 1.5 ภกิ ษุกว่า 20 รปู เข้าประชมุ เรยี กวา่ อติเรกวสี ตวิ รรค สามารถทำสังฆกรรมไดท้ ุกชนดิ สำหรับประเพณไี ทย นิยมนิมนต์ภิกษเุ ข้าประชุมใหเ้ กินจำนวนอย่างต่าของการทำสงั ฆกรรมนั้นๆ เสมอ เพ่อื ให้ถกู ต้องอย่างไม่มโี อกาสผดิ พลาดในเรื่องจำนวนสงฆ์ 2 สถานทีป่ ระชุมของสงฆเ์ พื่อทำสงั ฆกรรม เรยี กวา่ สีมา แปลวา่ เขตแดน สีมา หมายถงึ พ้ืนดนิ ไม่ใช่อาคาร อาคารจะสร้างเป็นรูปทรงอย่างไรหรือไมม่ ีอาคารเลยกไ็ ด้ สีมามี 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ พทั ธสมี า สีมาท่ผี กู แล้ว และอพทั ธสีมา สีมาที่ไมต่ อ้ งผูก พัทธสีมามหี ลายชนดิ จะกล่าวเฉพาะ วิสงุ คามสมี า แปลวา่ สมี าในหมู่บา้ น ซึ่งแยกออกตา่ งหากจากอาณาเขตของประเทศ การขอ วิสุงคามสมี าตอ้ งขอจากประมุขของรัฐ ในประเทศไทยขอพระราชทานจากพระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยหู่ ัว ในประเทศมาเลเซยี ขอพระราชทานจากพระราชาธิบดแี หง่ มาเลเซยี ในประเทศสหรัฐอเมรกิ า ขอจากผ้วู า่ การมลรัฐทวี่ ัดตงั้ อยู่ ไม่ใช่ขอจากประธานาธบิ ดี เพราะเป็นประเทศสหรฐั อเมรกิ า เมื่อขอ แลว้ ตอ้ งทำพิธีถอนสมี าในบริเวณนนั้ ซึ่งอาจเคยเป็นวัด ผกู พัทธสมี ามาแล้วในสมัยโบราณกไ็ ด้ แลว้ ทำพิธีผกู พัทธสมี า สมี าซึง่ ทำสงั ฆกรรมผูกแล้วนจ้ี ะคงอยู่ตลอดไปจนกว่าโลกนแ้ี ตกสลาย กลายเป็น ธลุ ีคอสมิค ยกเวน้ จะทำพธิ ีถอนสมี าเสยี อพัทธสีมามีมากมายหลายชนิดเชน่ เดยี วกนั จะกล่าวเฉพาะสีมานา้ หรือเรยี กว่า อทุ กกุ เขป สมี า แปลวา่ สีมาชั่ววักน้าสาด สีมาชนดิ น้ไี มต่ ้องผกู แต่สรา้ งอาคาร หรอื อยู่ในเรอื แพ ภายในหนองบงึ แม่นา้ ทะเล ซ่งึ มีน้าขังตลอดปี และอยูห่ า่ งจากฝ่งั ประมาณ 2 ชั่ววักนา้ สาดของบรุ ุษผู้มีกำลังปาน กลาง สมี านา้ น้ีใช้ทำสังฆกรรมได้เหมอื นวสิ งุ คามสีมาเชน่ กัน ส่วนมากนยิ มทำกนั ในวดั หรือสำนักสงฆ์ ท่ยี งั ไมไ่ ดข้ อพระราชทานวสิ งุ คามสมี า การกำหนดสีมาข้ึนนี้ เพือ่ ป้องกันไม่ให้ใครเขา้ มายงุ่ เกย่ี ว ทำ ให้สังฆกรรมเสยี ไป หรือมีเจตนามาทำลายสงฆ์ทราบ ผู้ประกาศมีรูปเดยี วหรือ 2 รปู ก็ได้ เรียกวา่ พระ คสู่ ังฆกรรมโดยตรง เพราะภายในสมี าน้นั สงฆม์ อี ำนาจสิทธิขาด ใครจะอา้ งเป็นเจ้าของไมไ่ ด้
3 การประกาศเรอ่ื งท่ปี ระชุม และการประกาศขอความเห็นชอบ สงฆ์จะประชมุ กันทำสังฆกรรมเร่อื ง อะไรกต็ าม จะต้องมีการประกาศเรื่องน้ันใหส้ งฆท์ ราบ ผูป้ ระกาศมีรูปเดียวหรือ 2 รูป ก็ได้ เรยี กว่า พระคสู่ วดหรอื พระกรรมวาจาจารย์ เมือ่ ประกาศให้ทราบแลว้ ยังมกี ารประกาศขอความเหน็ ชอบจาก สงฆอ์ กี ถา้ เปน็ เรอ่ื งไมส่ ำคัญนัก มีการประกาศใหท้ ราบ 1 ครัง้ และประกาศขอความเห็นชอบอีก 1 คร้ังเรียกวา่ ญตั ตทิ ุติยกรรม เช่น การประกาศมอบผา้ กฐนิ แก่ภกิ ษุรูปใดรปู หนงึ่ การแต่งต้งั ภกิ ษุเปน็ เจา้ หน้าทีท่ ำการสงฆ์ต่างๆ ถ้าเป็นเรอ่ื งสำคัญมาก มกี ารประกาศใหท้ ราบ 1 ครั้ง และประกาศขอ ความเห็นอีก 3 ครั้ง รวมเป็น 4 ครั้ง เรยี กว่า ญัตติจตุตถกรรม เชน่ การใหอ้ ปุ สมบท การลงโทษภกิ ษุ ผู้ประพฤตมิ ชิ อบ 7 อยา่ ง มีตัชชนียกรรม (การตำหนโิ ทษ) เป็นตน้ การยกโทษเม่อื ภิกษนุ ้นั ประพฤติ ตนดแี ล้วและการแต่งตง้ั ภกิ ษุใหเ้ ปน็ ผสู้ อนภิกษุณี เปน็ ต้น 4 สทิ ธิของภิกษุผู้เข้าประชมุ ภกิ ษผุ ู้เข้ารว่ มประชุมทำสังฆกรรมทกุ รปู มีสิทธแิ สดงความคิดเห็นทั้ง ในทางเหน็ ด้วยและในทางคัดคา้ น ตามปกติเมอื่ ภิกษผุ ูป้ ระกาศ หรอื พระค่สู วดถามความคิดเห็นของที่ ประชมุ ถา้ เหน็ ดว้ ย ใหใ้ ชว้ ธิ นี ิง่ ถา้ ไม่เหน็ ดว้ ยใหค้ ดั คา้ นขึน้ จะตอ้ งมกี ารทำความเขา้ ใจกันจนกวา่ จะ ยอมเห็นด้วย ถ้าภิกษผุ ู้คัดคา้ น ยงั คงยนื กรานไมเ่ ห็นดว้ ย การทำสังฆกรรมนน้ั ๆ เชน่ การอปุ สมบท หรอื การมอบผ้ากฐินย่อมไมส่ มบรู ณ์ จึงเหน็ ได้วา่ มติของทีป่ ระชุมต้องเป็นเอกฉนั ท์คือเหน็ พรอ้ มกนั ทุกรูป 5 มตทิ ่ปี ระชุม การทำสังฆกรรมท้งั หมด มตขิ องที่ประชมุ ตอ้ งเป็นเอกฉนั ท์ คอื เป็นทย่ี อมรับของ ภิกษทุ กุ รปู ท้ังนี้เพราะในสังฆมณฑลนนั้ ภิกษทุ ั้งหลายต้องอยู่รว่ มกัน มคี วามไวเ้ นอ้ื เช่ือใจกนั กลา่ วคอื มศี ลี และมคี วามเหน็ เหมอื น ๆ กัน จงึ จะมคี วามสามคั คี สืบต่อพระพุทธศาสนาได้อย่างถาวร แตใ่ นบางกรณี เม่ือภิกษุมคี วามเหน็ แตกตา่ งกันเปน็ สองฝา่ ยและมจี ำนวนมากดว้ ยกนั ตอ้ งหาวธิ ีระงบั โดยวธิ จี บั ฉลาก หรือการลงคะแนนเพื่อดวู ่าฝ่ายไหนได้เสียงขา้ งมาก กต็ ดั สินไปตามเสียงขา้ งมากน้ัน วิธนี ีเ้ รยี กวา่ เยภุยยสิกา การถือเสยี งขา้ งมากเป็นประมาณ ตามหลกั ประชาธิปไตยทวั่ ไป ซง่ึ แสดงวา่ มติท่ีประชุมไมไ่ ด้ใชม้ ติเอกฉันทเ์ สมอไป ลกั ษณะอืน่ ๆ ทแี่ สดงถงึ ความเป็นประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 1 พระพทุ ธเจา้ ทรงอนญุ าตให้ภิกษุศึกษาพระพทุ ธศาสนาดว้ ยภาษาใด ๆ ก็ได้ คือศึกษาด้วยภาษา ทตี่ นเองรู้ดีทีส่ ุด ไม่ให้ผูกขาดศึกษาด้วยภาษาเดยี ว เหมือนศาสนาพราหมณท์ ต่ี อ้ งศึกษาดว้ ยภาษา สนั สกฤตเพียงภาษาเดียว แตก่ ารท่คี ณะสงฆ์ไทยใชภ้ าษาบาลเี ป็นหลัก กเ็ พ่อื สอบทานความถูกต้องใน กรณที ี่มีความสงสัยเท่าน้นั ส่วนการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาจะใชภ้ าษาทอ้ งถิน่ ใด ๆ ก็ได้ 2 พระพทุ ธเจา้ ทรงอนุญาตใหพ้ ระสงฆ์ปฏิบัตคิ ลอ้ ยตามกฎหมายของประเทศท่ีตนอาศัยอยู่ การ ปฏบิ ตั ิใด ๆ ที่ไมม่ ีห้ามไว้ในศีลของภิกษแุ ต่ผิดกฎหมายของประเทศนนั้ ๆ ภกิ ษุก็กระทำไมไ่ ด้ ขอ้ นที้ ำให้ ภิกษสุ ามารถอยไู่ ดใ้ นทุกประเทศโดยไม่มคี วามขดั แย้งกบั รัฐบาล และประชาชนของประเทศนั้น ๆ 3 กอ่ นปรนิ พิ พาน พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้ว่า ถ้าสงฆป์ รารถนาจะถอนสิกขาบทเลก็ นอ้ ย(คอื เลกิ ศีลขอ้ เล็กนอ้ ย) เสียก็ได้ พระสงฆฝ์ ่ายเถรวาทตกลงกันไม่ได้วา่ ขอ้ ใดเปน็ สกิ ขาบทเลก็ น้อย จงึ มี มตไิ มใ่ ห้ถอนสกิ ขาบทใด ๆ ทัง้ ส้นิ สว่ นพระสงฆฝ์ ่ายมหายานมมี ติใหถ้ อนสิกขาบททเ่ี หน็ วา่ เลก็ น้อยได้ เมื่อกาลเวลาลว่ งไปก็ยิ่งถอนมากขนึ้ ทุกที การปฏิบัติระหวา่ งพระสงฆฝ์ า่ ยเถรวาทกับฝา่ ยมหายานจึง แตกตา่ งกนั มากย่งิ ขนึ้
หลักการพระพุทธศาสนากับหลกั การวิทยาศาสตร์ หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการของวทิ ยาศาสตรม์ ีทงั้ ส่วนที่สอดคล้อง และส่วนท่ี แตกตา่ งกนั ดงั ต่อไปน้ี ความสอดคลอ้ งกนั ของหลักการของพระพุทธศาสนากบั หลักการ วิทยาศาสตร์ 1. ในดา้ นความเช่อื (Confidence) หลักการวิทยาศาสตร์ ถอื หลกั ว่า จะเชอื่ อะไรนัน้ จะต้องมี การพิสูจน์ใหเ้ ห็นจริงได้เสียกอ่ น วทิ ยาศาสตร์เชอ่ื ในเหตุผล ไมเ่ ชอื่ อะไรลอย ๆ และตอ้ งมหี ลกั ฐานมา ยนื ยนั วทิ ยาศาสตร์ไม่อาศยั ศรัทธาแตอ่ าศัยเหตผุ ล เช่ือการทดลองวา่ ให้ความจริงแกเ่ ราได้ แตไ่ ม่เชือ่ การดลบันดาลของสง่ิ ศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ เพราะทกุ อย่างดำเนนิ อย่างมีกฎเกณฑ์ มเี หตุผล และวทิ ยาศาสตร์ อาศยั ปัญญาและเหตผุ ลเปน็ ตัวตดั สินความจริง วทิ ยาศาสตรม์ ีความเชอ่ื วา่ สรรพสิ่งในจักรวาลล้วน ดำเนนิ ไปอย่างมเี หตุผล มีความเป็นระเบียบและมกี ฎเกณฑ์ท่ีแนน่ อน หลักการทางพระพุทธศาสนา มหี ลักความเช่ือเชน่ เดยี วกับหลกั วิทยาศาสตร์ ไมไ่ ดส้ อนให้มนุษย์ เชือ่ และศรทั ธาอย่างงมงายในอิทธิปาฏิหาริย์ และอาเทศนาปาฏิหารยิ ์ แตส่ อนใหศ้ รัทธาในอนุสาสนี ปาฏหิ าริย์ ท่จี ะกอ่ ให้เกดิ ปัญญาในการแกท้ ุกขแ์ กป้ ัญหาชวี ติ ไม่สอนใหเ้ ช่อื ใหศ้ รทั ธาในสิง่ ทอ่ี ยู่ นอกเหนอื ประสาทสมั ผสั เชน่ เดียวกับวทิ ยาศาสตร์ สอนใหม้ นุษย์นำเอาหลักศรัทธาโยงไปหาการพิสจู น์ ด้วยประสบการณ์ ด้วยปัญญา และด้วยการปฏบิ ตั ิ ดังหลักของความเชอ่ื ใน “กาลามสตู ร” คืออย่าเชอ่ื เพยี งเพราะให้ฟงั ตามกนั มา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะได้เรยี นตามกันมา อย่าเชอ่ื เพียงเพราะไดถ้ ือปฏบิ ตั ิสบื ต่อกันมา อย่าเชอ่ื เพียงเพราะเสยี งเลา่ ลือ อย่าเชื่อ เพียงเพราะอา้ งตำรา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะตรรกะ หรอื นกึ คิดเอาเอง อยา่ เชือ่ เพียงเพราะอนุมานหรือคาดคะเนเอา อยา่ เชอื่ เพียงเพราะคดิ ตรองตามแนวเหตผุ ล อยา่ เชอ่ื เพียงเพราะตรงกับทฤษฎีของตนหรือความเหน็ ของตน อยา่ เชือ่ เพียงเพราะรูปลกั ษณะนา่ เชอ่ื อยา่ เช่ือ เพียงเพราะทา่ นเปน็ สมณะหรอื เปน็ ครอู าจารย์ของเรา ในหลักกาลามสตู รนี้ พระพทุ ธเจา้ ยังตรัสต่อไปว่า จะตอ้ งรู้เข้าใจด้วยว่า สิ่งเหลา่ นเ้ี ป็นกศุ ล หรือ อกศุ ล ถ้ารู้วา่ เป็นอกศุ ล มโี ทษ ไม่เปน็ ประโยชน์ ทำให้เกิดทุกข์ พึงละเสยี ถา้ รู้วา่ เป็นกุศล มคี ณุ เปน็ ประโยชน์ เปน็ ไปเพือ่ ความสขุ ก็ใหถ้ ือปฏิบัติ นั่นคอื ศรัทธาหรือความเชอ่ื ทีก่ ่อให้เกิดปญั ญา
2. ในดา้ นความรู้ (Wisdom) ทั้งหลักการทางวิทยาศาสตรแ์ ละหลกั การของพระพทุ ธศาสนา ยอมรับความร้ทู ีไ่ ดจ้ ากประสบการณ์ หมายถึง การที่ตา หู จมกู ลิ้น กาย ไดป้ ระสบกบั ความร้สู ึกนึก คดิ เชน่ รูส้ กึ ดใี จ รสู้ กึ อยากได้ เปน็ ต้น วทิ ยาศาสตรเ์ ร่ิมต้นจากประสบการณ์คอื จากการทไี่ ด้พบเห็น สิง่ ตา่ ง ๆ แล้วเกดิ ความอยากรอู้ ยากเห็นกแ็ สวงหาคำอธบิ าย วิทยาศาสตร์ไมเ่ ชอื่ หรือยึดถอื อะไร ล่วงหนา้ อย่างตายตัว แตจ่ ะอาศยั การทดสอบด้วยประสบการณ์สืบสาวไปเรอ่ื ย ๆ จะไมอ่ ้างองิ ถงึ ส่งิ ศักด์ิสทิ ธใิ์ ด ๆ ที่อยู่นอกเหนือประสบการณ์และการทดลอง วทิ ยาศาสตรแ์ สวงหาความจรงิ สากล (Truth) ได้จากฐานที่เปน็ ความจริงเฉพาะองค์ความรใู้ นทางวทิ ยาศาสตร์ได้จากประสบการณ์ ความรู้ ใดทอี่ ยู่นอกขอบเขตของประสบการณ์ไมถ่ ือวา่ เปน็ ความรทู้ างวิทยาศาสตรพ์ ระพทุ ธเจา้ ก็ทรงเริม่ คิด จากประสบการณ์คือ ประสบการณท์ ่ีไดเ้ ห็นความเจบ็ ความแก่ ความตาย และที่สำคัญทีส่ ดุ คือความ ทกุ ข์ พระองค์มีพระประสงค์ที่จะค้นหาสาเหตุของทกุ ขใ์ นการค้นหาน้ี พระองค์มไิ ดเ้ ช่ืออะไรล่วงหนา้ อย่างตายตวั ไมท่ รงเช่อื ว่ามพี ระผเู้ ป็นเจ้าหรือส่ิงศักด์ิสิทธ์ิใด ๆ ทจี่ ะให้คำตอบได้แต่ไดท้ รงทดลองโดย อาศยั ประสบการณข์ องพระองคเ์ องดังเป็นท่ที ราบกันดอี ย่แู ลว้ หลักการพระพทุ ธศาสนาและหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์มสี ว่ นท่ีตา่ งกนั ในเร่ืองนคี้ ือ วทิ ยาศาสตร์ เน้นความสนใจกบั ปัญหาทเ่ี กิดข้นึ จากประสบการณด์ ้านประสาทสมั ผัส (ตา หู จมกู ลิ้น กาย) ส่วน พระพุทธศาสนาเน้นความสนใจกบั ปญั หาท่ีเกิดทางจิตใจ หลักการทางพระพุทธศาสนามสี ่วน คล้ายคลงึ กบั หลกั การทางวทิ ยาศาสตรใ์ นหลายประการ เชน่ ในขณะท่ีมีนกั วทิ ยาศาสตรก์ ลมุ่ หน่งึ มงุ่ แสวงหาความจรงิ ของธรรมชาติทเี่ รียกวา่ วทิ ยาศาสตรบ์ รสิ ุทธ์ิ (Pure Science) และมี นักวิทยาศาสตร์อีกกลมุ่ หนึ่งม่งุ แสวงหาความรทู้ ี่จะนำมากอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ต่อมนุษย์ที่เรียกวา่ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) หลักการพระพุทธศาสนากเ็ ช่นเดยี วกัน พระพุทธเจา้ ตรัสรูพ้ ระสทั ธรรมเพ่อื สอนใหม้ นษุ ย์เกิด ปัญญา 2 ทางคอื ทางแรก สอนให้เกิดความร้คู วามเขา้ ใจทถ่ี กู ต้องในธรรมชาตแิ ละในกฎธรรมชาติ เชน่ สอนใหร้ ู้หลกั อทิ ปั ปัจจยตา หลักไตรลักษณ์ หลกั อรยิ สจั หลกั เบญจขนั ธ์ ทางทีส่ อง สอนให้เกิด ความร้คู วามเข้าใจในคุณคา่ ทางจริยธรรม เพ่อื นำไปใชไ้ ปปฏบิ ตั ใิ ห้เกิดผลดตี ่อตนเอง ตอ่ สงั คม และ ตอ่ ธรรมชาตทิ ่ีเรียกว่า ไตรสกิ ขา สอนใหล้ ะเว้นความช่วั สอนใหก้ ระทำความดี และสอนใหท้ ำจิตใจให้ สงบบริสทุ ธิ์ อยา่ งไรก็ตามหลกั การพระพทุ ธศาสนาจะมีฐานะคลา้ ยกับวทิ ยาศาสตร์บรสิ ุทธ์ิ แต่จริยศาสตร์ แนวพทุ ธไมเ่ หมือนกบั วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ ดงั ทา่ นพระธรรมปิฎก แสดงความเห็นไวใ้ นการบรรยาย เร่ือง พระพทุ ธศาสนาในฐานะรากฐานของวทิ ยาศาสตร์ตอนหน่ึงว่า “วิทยาศาสตร์นำเอาความรู้จากกฎธรรมชาติ โดยสอนให้มนษุ ยร์ ้จู กั ใช้เทคโนโลยี เพ่อื ควบคมุ ธรรมชาติ ส่วนปรชั ญาพุทธสอนใหม้ นุษย์นำสัจธรรมมาสร้างจริยธรรมเพื่อดำเนินชวี ติ ให้สอดคล้อง กบั ธรรมชาติ สอนให้มนษุ ยใ์ ชป้ ญั ญา ในการแกป้ ญั หาชวี ิตและพัฒนาคณุ ภาพชีวิต”
ความแตกตา่ งของหลกั การพระพุทธศาสนากับหลกั การทางวิทยาศาสตร์ 1. มุ่งเขา้ ใจปรากฎการณท์ างธรรมชาติหลักการทางวทิ ยาศาสตร์มุ่งเขา้ ใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ี เกิดขึ้น ต้องการรวู้ ่าอะไรเปน็ สาเหตุ อะไรเป็นผลท่ตี ามมา เชน่ เม่ือเกดิ ฟ้าผา่ ต้องรู้อะไรคือสาเหตุของ ฟา้ ผ่า และผลท่ตี ามมาหลังจากฟ้าผา่ แลว้ จะเป็นอยา่ งไร หลักการพระพทุ ธศาสนากม็ ่งุ เข้าใจ ปรากฏการณต์ ่าง ๆ เช่นเดยี วกัน แตต่ ่างตรงที่ พระพทุ ธศาสนาเนน้ เปน็ พิเศษเกี่ยวกับวิถชี ีวิตของ มนษุ ยม์ ากกวา่ กฎเกย่ี วกับสง่ิ ทไี่ ร้ชีวิต จดุ หมายปลายทางของพระพทุ ธศาสนาคอื สอนให้คนเปน็ คนดี ข้นึ พัฒนาข้นึ สมบรู ณข์ น้ึ 2. ต้องการเรยี นรกู้ ฎธรรมชาติ หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ตอ้ งการเรียนร้กู ฎธรรมชาติและหาทาง ควบคมุ ธรรมชาติ หรือเอาชนะธรรมชาติ พูดอีกอยา่ งหนง่ึ กค็ อื วทิ ยาศาสตร์เนน้ การควบคุมธรรมชาติ ภายนอกมุ่งแก้ปัญหาภายนอกวิทยาศาสตร์ถือวา่ การพิสูจน์ทดลองทางวิทยาศาสตรเ์ ปน็ สง่ิ ท่ีนำมา แสดงใหส้ าธารณชนประจักษช์ ัดเป็นหลกั ฐานยนื ยนั ในสิง่ ท่คี ้นพบน้นั ได้ จงึ จะเปน็ การยอมรับในวงการ วทิ ยาศาสตร์ หลักการพระพุทธศาสนาเป็นการทดสอบความรูส้ กึ ทกุ ข์ หรือไม่เป็นทุกข์ ซึ่งเป็นสิ่งทป่ี ระจกั ษ์ชดั ในจิตใจเฉพาะตน ไมส่ ามารถตแี ผ่ใหส้ าธารณชนประจกั ษ์ดว้ ยสายตา แตพ่ สิ ูจน์ทดลองได้ด้วย ความรสู้ กึ ในจิตใจ และหลักการพระพทุ ธศาสนาไม่ไดเ้ นน้ ในเรอ่ื งใหส้ าธารณชนยอมรับหรือไม่ยอมรบั มุ่งให้ศกึ ษาเข้าไปในจติ ใจตนเอง แตม่ ุ่งแสวงหาความจรงิ จากทง้ั ภายนอกและภายในตวั มนษุ ยอ์ นั เป็น เหตุที่ทำใหเ้ กดิ ปญั หา ทางดา้ นจิตวิญญาณอนั เปน็ ผลกระทบตอ่ การดำรงชวี ติ และตอ่ คณุ ภาพชีวติ สอนให้คนควบคมุ ภายในจติ ใจตัวเอง ลำพังแต่ความสามารถทคี่ วบคมุ ธรรมชาติได้ ไม่อาจทำใหค้ วาม สงบสขุ เกดิ ขน้ึ ในโลกมนษุ ย์ มนุษยต์ ้องรู้จักควบคุมตนเอง ให้มีจิตใจดงี ามดว้ ย สนั ตสิ ขุ ทีแ่ ทจ้ ริงจึงจะ เกดิ ข้ึนได้ และสอนมนษุ ย์ดำรงชวี ติ ใหส้ อดคล้องกลมกลนื กับธรรมชาตสิ งิ่ แวดล้อม 3. ยอมรบั โลกแหง่ สสาร (Matter) สสาร หมายถึง ธรรมชาติและสรรพสง่ิ ทง้ั หลายทม่ี อี ย่จู ริง รวมท้ังปรากฏการณ์และความเปน็ จรงิ ตามภาวะวสิ ัย (ObjectiveReality) ดว้ ย ซึง่ สรรพสิง่ เหล่านมี้ ี อย่ตู า่ งหากจากตวั เรา เปน็ อิสระจากตวั เรา และเป็นส่งิ ที่สะท้อนขึ้นในจิตสำนกึ ของคนเราเมอื่ ได้สัมผสั มนั อันทำใหไ้ ดร้ บั รู้ถงึ ความมีอยขู่ องสิง่ นนั้ ๆ กลา่ วโดยท่ัวไปแล้วสสารมีคณุ ลกั ษณะ 3 ประการคอื 1) เคล่อื นไหว (Moving) อยูเ่ สมอ 2) เปลีย่ นแปลง (Changing) อย่เู สมอ 3) การเคลอื่ นไหวและการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวน้นั มิใชเ่ ปน็ การเคลอื่ นไหวเปลย่ี นแปลง อยา่ งสง่ เดช แตห่ ากเป็นการเคลื่อนไหวเปลย่ี นแปลงอยา่ งมีกฎเกณฑท์ ่ีเรยี กกันว่า กฎแห่งธรรมชาติ (Laws of Natires) วทิ ยาศาสตร์ยอมรบั โลกแหง่ สสารซ่ึงเทยี บไดก้ บั “รปู ธรรม” ในความหมายของพระพุทธศาสนา อนั หมายถงึ ส่งิ ทม่ี อี ยู่จรงิ ทางภาววิสัย ท่อี วัยวะสัมผัสของมนุษย์สัมผสั ได้ วิทยาศาสตร์มงุ่ ศกึ ษาดา้ น สสารและพลังงาน ยอมรับโลกแหง่ สสาร ทร่ี บั รูด้ ว้ ยประสาทสมั ผัสทัง้ 5 ว่ามีจริง โลกท่ีอยพู่ ้นจากนน้ั วิทยาศาสตรไ์ ม่ยอมรบั สว่ นแนวคิดทางพระพทุ ธศาสนานี้ ช้วี า่ สัจธรรมสูงสุด (นพิ พาน) ซึ่งเป็น สภาวะทปี่ ระสาทสมั ผัสของมนษุ ยป์ ุถชุ นท่เี ตม็ ไปดว้ ยกเิ ลส ตณั หา ไม่สามารถรบั รู้ได้ พระพทุ ธศาสนา แบ่งสิ่งทมี่ ีอยจู่ รงิ ของสองพวกใหญ่ ๆ คือ “สังขตธรรม” (สง่ิ ทีป่ ัจจยั ปรุงแตง่ ) ได้แก่ สสารและ “อสังขตธรรม” (ส่ิงท่ีปจั จยั มไิ ด้ปรงุ แตง่ ) คือ นิพพาน วิทยาศาสตร์ยอมรบั วา่ สังขตธรรมมีจรงิ แต่อสงั ขตธรรมอยู่เหนอื การรับรู้ของวทิ ยาศาสตร์
สจั ธรรมในพระพุทธศาสนานน้ั มีทงั้ ทีส่ ามารถแสดงให้เห็นประจักษ์เปน็ สาธารณะไดแ้ ละไม่ สามารถแสดงให้ประจกั ษเ์ ป็นสาธารณะได้ แต่แสดงโดยการประจักษใ์ นตนเองได้ (หมายถึงมีท้ังท่ี สามารถรบั รู้ด้วยประสาทสมั ผัส และรับรูด้ ว้ ยใจ) ความจรงิ ระดบั ต้น ๆ และระดบั กลาง ๆ ใคร ๆ ก็ อาจเขา้ ใจและเหน็ จริงได้ เชน่ คนโลภมาก ๆ อจิ ฉามาก ๆ ไม่มคี วามสงบสุขแห่งจติ ใจอยา่ งไรบ้าง คน ที่มีเมตตา ไมป่ รารถนาร้ายต่อใคร ๆ มีความสุข ไม่มเี วร ไม่มภี ัย อย่างไรบ้าง ความจริงเหล่านี้ ลว้ น สามารถแสดงใหป้ ระจักษ์ได้ ชใี้ หด้ ตู วั อยา่ งได้ แต่ปรมัตถธรรม อันสูงสุดนั้นผทู้ ี่ได้พบแลว้ ยากจะ อธบิ ายให้คนอนื่ เขา้ ใจได้ เปน็ สภาวะท่ีผรู้ ูเ้ อง เหน็ เอง จะพึงประจกั ษ์เฉพาะตวั 4. มงุ่ ความจรงิ มาตแี ผ่ วิทยาศาสตรน์ น้ั แสวงหาความร้จู ากธรรมชาติและจากกฎธรรมชาตทิ ีม่ ี อย่ภู ายนอกตัวมนุษย์ (มุง่ เนน้ ทางวตั ถหุ รือสสาร) ไมไ่ ด้สนใจเรอื่ งศีลธรรม เรือ่ งความดีความชัว่ สนใจเพียงค้นควา้ เอาความจริงมาตแี ผ่ให้ประจกั ษ์เพียงดา้ นเดียว เชน่ วทิ ยาศาสตร์พบเรื่องการ ระเบดิ แตค่ วรระเบดิ อะไร ไมค่ วรระเบิดอะไร ไมอ่ ยูใ่ นขอบข่ายของวิทยาศาสตร์ การค้นพบทาง วิทยาศาสตร์จึงมีท้งั คุณอนนั ตแ์ ละมโี ทษมหนั ต์ กระบวนการผลติ ทางวทิ ยาศาสตร์ก่อใหเ้ กิดผลกระทบ ตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม คำสอนทางพระพทุ ธศาสนานัน้ เน้นเร่อื งศลี ธรรม ความดคี วามชัว่ มุ่งใหม้ นษุ ย์มี ความสขุ เปน็ ลำดับขึน้ ไปเรอื่ ย ๆ จนถึงความสงบสขุ อนั สงู สดุ คอื นิพพาน ฉะนั้นกระบวนการปฏบิ ตั ิ ธรรมในพทุ ธศาสนาจึงส่งเสริมให้มนษุ ยอ์ นรุ กั ษ์ธรรมชาติ อนรุ ักษ์ส่ิงแวดล้อม คำสอนทางพระพุทธศาสนาน้ัน เนน้ เร่อื งศีลธรรม ความดคี วามชั่ว มุ่งให้มนษุ ยม์ ีความสุข เป็น ลำดบั ขน้ึ ไปเรอ่ื ย ๆ จนถึงความ สงบสุข อนั สงู สุดคือนพิ พาน ฉะนั้นกระบวนการปฏบิ ตั ิธรรมในพทุ ธศาสนาจงึ สง่ เสริมให้มนุษยอ์ นุรักษ์ ธรรมชาติ อนรุ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
การคดิ ตามนยั แห่งพระพุทธศาสนากับการคิดแบบวิทยาศาสตร์ การคดิ ตามนัยแห่งพระพุทธศาสนา การคิดตามนยั แหง่ พระพุทธศาสนา เปน็ การศึกษาถึง วธิ ีการแก้ปัญหาตามแนวพระพทุ ธศาสนา ทีเ่ รยี กวา่ วิธกี ารแก้ปัญหาแบบอรยิ สจั มีดังนค้ี อื (พระรา ชวรมนุ .ี 2540 : 43-46) 1. ขนั้ กำหนดรทู้ ุกข์ การกำหนดรทู้ กุ ข์หรอื การกำหนดปัญหาว่าคอื อะไร มขี อบเขตของปัญหาแค่ ไหน หน้าทีท่ ี่ควรทำในขัน้ แรกคอื ให้เผชญิ หน้ากบั ปญั หา แล้วกำหนดรสู้ ภาพและขอบเขตของปัญหา นน้ั ให้ได้ ขอ้ สำคัญคอื อย่าหลบปญั หาหรอื คิดวา่ ปญั หาจะหมดไปเองโดยท่เี ราไมต่ ้องทำอะไร หนา้ ทใี่ น ข้นั นี้เหมอื นกับการท่หี มอตรวจอาการของคนไขเ้ พอ่ื ให้รวู้ า่ เปน็ โรคอะไร ท่ีสว่ นไหนของร่างกาย ลกุ ลามไปมากนอ้ ยเพยี งใด ในธัมมจกั กัปปวตั ตนสูตร มตี วั อยา่ งการกำหนดรู้ทุกข์ตามแนวทางของ พทุ ธพจน์ท่วี า่ “เกดิ เป็นทุกข์ แก่เปน็ ทุกข์ ตายเป็นทุกข์…ปรารถนาสิง่ ใดไมไ่ ด้ส่งิ นัน้ เป็นทุกข์” 2. ขัน้ สืบสาวสมุทยั ได้แก่เหตุของทุกขห์ รอื สาเหตุของปญั หา แล้วกำจดั ให้หมดไป ขนั้ นี้ เหมือนกบั หมอวินจิ ฉัยสมฏุ ฐานของโรคก่อนลงมือรกั ษา ตัวอยา่ งสาเหตุของปัญหาท่ีพระพทุ ธเจ้า แสดงไวค้ อื ตณั หา ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา และวภิ วตัณหา 3. ข้นั นิโรธ ไดแ้ กค่ วามดบั ทกุ ข์ หรือสภาพท่ีไรป้ ัญหา ซึ่งทำให้สำเรจ็ เปน็ จรงิ ขน้ึ มา ในขัน้ นต้ี อ้ ง ตั้งสมมติฐานวา่ สภาพไรป้ ญั หานัน้ คืออะไร เขา้ ถงึ ได้หรอื ไม่ โดยวธิ ีใด เหมือกบั การทหี่ มอต้องคาดวา่ โรคน้ีรกั ษาให้หายขาดได้หรือไม่ ใช้เวลารักษานานเทา่ ไร ตัวอย่างเช่น นิพพาน คือการดบั ทุกข์ท้ังปวง เปน็ ส่งิ ท่เี ราสามารถบรรลุถึงไดใ้ นชาติน้ีดว้ ยการเจริญสติพัฒนาปัญญาเพ่อื ตัดอวิชชา และดบั ตณั หา 4. ขั้นเจริญมรรค ไดแ้ ก่ ทางดับทกุ ข์ หรอื วิธแี กป้ ญั หา ซ่งึ เรามหี นา้ ทลี่ งมือทำ เหมือนกับทห่ี มอ ลงมือรักษาคนไขด้ ว้ ยวธิ ีการและขั้นตอนทเ่ี หมาะควรแก่การรกั ษาโรคนน้ั ข้นั นี้อาจแบ่งออกเปน็ 3 ขั้น ย่อยคือ 4.1 มรรคข้นั ที่ 1 เป็นการแสวงหาและทดลองใชว้ ิธีการตา่ ง ๆ เพ่ือค้นหาวธิ กี ารท่ีเหมาะสม ท่ีสดุ เช่น พระพุทธเจ้าในช่วงทเ่ี ปน็ คฤหัสถเ์ คยใช้ชีวติ แบบบำรุงบำเรอตน หมกหมนุ่ ในโลกีย์สขุ แต่ก็ ทรงรู้สึกเบ่ือหน่าย จึงออกผนวชแลว้ ไปบำเพย็ โยคะบรรลุสมาธิขัน้ สงู สดุ จากสำนกั ของอาฬารดาบส และอุทกดาบส แม้ในขั้นนพ้ี ระองคย์ งั รูส้ กึ ว่าไม่บรรลุความพ้นทุกขจ์ ึงทดลองฝกึ การทรมานตนดว้ ย วธิ ีการต่าง ๆ เชน่ การอดอาหาร เป็นตน้ 4.2 มรรคขัน้ ท่ี 2 เปน็ การวเิ คราะห์ผลการสังเกตและทดลองทีไ่ ดป้ ฏบิ ตั มิ าแลว้ เลอื กเฉพาะ วธิ กี ารท่เี หมาะสมทสี่ ดุ ดงั กรณที ี่พระพทุ ธเจา้ ทรงพิจารณาเหน็ วา่ กามสขุ ัลลกิ านุโยค (การบำเรอตน ด้วยกาม) และอัตตกลิ มถานโุ ยค (การทรมานตนเอง) ท่ีได้ทดลองมาแล้ว ไมใ่ ชว่ ิธีการที่ถกู ต้อง เพราะ เป็นเร่ืองสุดโตง่ เกนิ ไป ท้งั การบำเพญ็ โยคะก็ทำให้ไดเ้ พยี งสมาธิ ยังไม่ได้ปัญญาเคร่อื งดับทุกข์ ดังน้ัน วธิ ีการแหง่ ปัญญาจะสามารถชว่ ยให้พน้ ทกุ ข์ได้ 4.3 มรรคขนั้ ท่ี 3 เปน็ การสรุปผลของการสังเกตและทดลอง เพือ่ ใหไ้ ดค้ วามจรงิ เกีย่ วกบั เรอ่ื งน้ัน ดังกรณที พ่ี ระพทุ ธเจ้าได้ข้อสรปุ ว่า ทางสายกลางท่ไี ม่ตงึ เกนิ ไปหรอื ไม่หยอ่ นเกนิ เป็นทางดบั ทุกข์ ทางนเ้ี ป็นวถิ แี หง่ ปัญญาที่เรม่ิ ตน้ ด้วยสมั มาทฏิ ฐิ (ความเหน็ ชอบ) สรุปก็คอื มรรคมอี งค์ 8 น่ันเองแนวคิดแบบวทิ ยาศาสตร์
แนวคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ มีขั้นตอนดังนี้ (พระ ราชวรมุน.ี 2540 : 40-43) 1. การกำหนดปญั หาให้ถูกต้อง ในขั้นน้นี กั วิทยาศาสตรก์ ำหนดขอบเขตของปัญหาให้ชัดเจนวา่ ปญั หาอยตู่ รงไหน ปัญหาน้ันน่าจะมสี าเหตุมาจากอะไร ตวั อยา่ งเช่น การค้นพบดาวเนปจูนเมื่อ พ.ศ. 2386-2389 เริม่ จากการทน่ี กั ดาราศาสตร์กำหนดปัญหาว่า ทำไมดาวยเู รนสั ซง่ึ พวกเขาเข้าใจวา่ เป็น ดาวเคราะหด์ วงทอ่ี ย่ไู กลที่สุดจากดวงอาทิตยจ์ ึงมวี ถิ โี คจรไม่เป็นไปสมา่ เสมอตามกฎแรงโน้มถ่วงนกั ดาราศาสตร์กลมุ่ หนงึ่ สรปุ วา่ กฎแรงโนม้ ถ่วงคงใช้ไมไ่ ด้กับส่งิ ที่อยไู่ กลดวงอาทิตยม์ าก ๆ อย่างดาว ยเู รนัส แตน่ ักดาราศาสตร์อกี กลุ่มหนง่ึ สันนษิ ฐานว่า สาเหตุทีว่ ถิ ีโคจรของดาวยเู รนัส นา่ จะมาจากการ ทม่ี แี รงโนม้ ถ่วงจากดาวเคราะหท์ ีย่ ังค้นไม่พบมากระทำการ นกั ดาราศาสตรก์ ลมุ่ น้ีจงึ เริม่ ศกึ ษาหา ตำแหนง่ ของดาวลึกลับดวงนัน้ และค้นพบดาวเนปจนู ในเวลาต่อมา 2. การตัง้ สมมติฐาน นักวทิ ยาศาสตร์ใชข้ ้อมูลเท่าทม่ี อี ยใู่ นขณะน้ันเป็นฐานในการตั้งสมมติฐาน เพือ่ ใชอ้ ธบิ ายถึงสาเหตุของปัญหาและเสนอคำตอบหรือทางออกสำหรบั ปัญหาน้ัน ตัวอยา่ งเช่น ใน เรอ่ื งการคันพบดาวเนปจนู นน้ั นักดาราศาสตรก์ ลุ่มหนงึ่ ต้ังสมมติฐานวา่ สาเหตทุ ว่ี ถิ ีโคจรของดาว ยูเรนัสไมเ่ ปน็ ไปสม่าเสมอนา่ จะเนอ่ื งมาจากแรงโน้มถว่ งทม่ี าจากดาวเคราะหท์ ยี่ งั คน้ ไม่พบ พวกเขา ตั้งสมมติฐานวา่ นา่ จะมีดาวเคราะห์อีกดวงหน่งึ ซงึ่ มีวิถโี คจรห่างจากดวงอาทิตยม์ ากกว่าดาวยูเรนสั และในระหวา่ ง พ.ศ. 2386-2389 นกั ดาราศาสตรส์ องคน คอื จอห์น อาดัม และเลอเวอริเอร์ ต่างก็ใช้ คณติ ศาสตรค์ ำนวณหาตำแหน่งของดาวเนปจนู และทำนายตำแหนง่ ของดาวดวงนีไ้ ว้ใกลเ้ คียงกนั การทำนายของนกั ดาราศาสตรท์ ้ังสองเปน็ เพียงการคาดคะเนความจริงซงึ่ อยูใ่ นขัน้ ตัง้ สมมติฐาน เกี่ยวกบั คำตอบของปัญหา 3. การสังเกตและการทดลอง เปน็ ขนั้ ตอนสำคญั ที่สุดของการศกึ ษาหาความจริงทาง วิทยาศาสตร์ การสงั เกตเป็นการรวบรวมข้อมูลมาเปน็ เครื่องมอื สนับสนนุ ทฤษฎีท่อี ธิบาย ปรากฏการณ์ เช่น นกั ดาราศาสตร์เชอื่ วา่ โจฮัน แกลล์ ได้ใชก้ ล้องโทรทรรศนส์ อ่ งทอ้ งฟ้าจนคน้ พบ ดาวเนปจนู เมื่อ พ.ศ. 2389 นอกจากนัน้ การทดลองหลายต่อหลายครง้ั ช่วยให้ค้นพบหลกั การทาง วทิ ยาศาสตร์และสรา้ งความน่าเชือ่ ถือให้กับการคน้ พบน้นั เช่น ในราว พ.ศ. 2150 นายแพทย์วิลเลยี ม ฮาวยี ์ ใช้วิธกี ารทดลองจนคน้ พบการไหลเวยี นของโลหิตไปท่ัวร่างกาย เขาสังเกตจังหวะชีพจรและการ เต้นของหวั ใจ ผ่าศพและซากสตั ว์เพอื่ ตรวจสอบหลายครั้ง จนกระท่งั ได้ขอ้ สรปุ วา่ หัวใจสูบฉีดโลหิตไป ท่วั ร่างกายทางหลอดเลือดแดง และโลหติ ไหลกลับไปยงั หวั ใจทางหลอดเลือดดำ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการสังเกตและทดลองมจี ำนวนมาก นักวทิ ยาศาสตร์ตอ้ ง พจิ ารณาแยกแยะข้อมลู เหลา่ น้ันพร้อมจัดระเบยี บข้อมูลเข้าเป็นหมวดหมแู่ ละหาความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ข้อมลู ตา่ ง ๆ เช่น นกั เคมีชื่อ ดมติ ริ เมนเดลิฟ (D. Mendelief)พบวา่ ธาตุบางธาตมุ ีคุณสมบตั ิทาง เคมคี ล้ายกนั จึงไดจ้ ัดหมวดหมู่ใหก้ บั ธาตเุ หล่านน้ั โดยคดิ ตารางธาตุ (periodic table) ซง่ึ แบง่ ธาตุที่ มคี ณุ สมบัติทางเคมีคล้ายกันไวใ้ นกลมุ่ เดยี วกนั ในตารางน้ีปรากฏวา่ มชี อ่ งวา่ งเกดิ ข้นึ เปน็ ระยะ ช่องว่างนแี้ สดงวา่ ต้องเป็นที่สำหรบั ธาตทุ ีย่ ังคน้ ไมพ่ บ นักเคมยี ุคตอ่ มาได้ค้นพบธาตุใหมจ่ ำนวนมาก แลว้ นำมาเตมิ ใสช่ อ่ งว่างในตารางธาตขุ องเมนเดลฟิ 5. การสรปุ ผล ในการสรุปผลของการศึกษาค้นคว้านกั วิทยาศาสตรอ์ าจใช้ภาษาธรรมดาเขยี นกฎ หรอื หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ออกมา บางครง้ั นกั วิทยาศาสตร์จำเปน็ ต้องสรุปผลดว้ ยคณติ ศาสตร์ ตัวอยา่ งเช่น อัลเบิรต์ ไอสไตน์ พบความสัมพนั ธ์ระหว่างพลังงานและมวลสารจึงเขยี นสรปุ ผลการ ค้นพบทฤษฎีสัมพันธเ์ ป็นสมการวา่ E=MC2 หมายความวา่ พลังงาน (E = Energy) เท่ากบั มวลสาร (M = Mass) คูณดว้ ยความเร็วของแสงยกกำลังสอง
เปรยี บเทยี บวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรก์ บั วิธกี ารแก้ปญั หาแบบอรยิ สจั
พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสตร์แหง่ การศึกษา คำว่า “การศกึ ษา” มาจากคำวา่ “สิกขา” โดยท่ัวไปหมายถงึ “กระบวนการเรียน “ “การ ฝกึ อบรม” “การคน้ ควา้ ” “การพัฒนาการ” และ “การรู้แจง้ เหน็ จริงในสงิ่ ทัง้ ปวง” จะเหน็ ไดว้ ่า การศกึ ษาในพระพทุ ธศาสนามหี ลายระดับ ตัง้ แตร่ ะดบั ตา่ สดุ ถงึ ระดบั สูงสดุ เมอื่ แบ่งระดบั อย่างกวา้ ง ๆ มี 2 ประการคอื 1. การศกึ ษาระดบั โลกิยะ มีความมุง่ หมายเพอ่ื ดำรงชีวิตในทางโลก 2. การศกึ ษาระดบั โลกุตระ มีความมงุ่ หมายเพ่อื ดำรงชวี ิตเหนอื กระแสโลก ในการศึกษาหรอื การพฒั นาตามหลักพระพทุ ธศาสนา นัน้ พระพทุ ธเจ้าสอนให้คนไดพ้ ฒั นา อยู่ 4 ดา้ น คอื ด้านรา่ งกาย ดา้ นศีล ดา้ นจิตใจ และด้านสติปัญญา โดยมจี ุดมงุ่ หมายใหม้ นุษยเ์ ป็นท้งั คนดีและคนเกง่ มิใชเ่ ป็นคนดีแต่โง่ หรือเป็นคนเก่งแตโ่ กง การจะสอนใหม้ นษุ ยเ์ ป็นคนดแี ละคนเก่งนน้ั จะต้องมีหลกั ในการศึกษาทีถ่ ูกต้องเหมาะสม ซ่งึ ในการพัฒนามนษุ ยน์ ้ันพระพทุ ธศาสนามุ่งสรา้ งมนษุ ย์ ให้เป็นคนดกี ่อน แล้วจงึ คอ่ ยสรา้ งความเกง่ ทหี ลัง นนั่ คอื สอนใหค้ นเรามีคุณธรรม ความดงี ามก่อน แลว้ จงึ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจหรอื สตปิ ญั ญาภายหลัง ดังนั้นหลกั ในการศึกษาของพระพุทธศาสนา นั้นจะมี ลำดับขนั้ ตอนการศกึ ษา โดยเรมิ่ จาก สีลสกิ ขา ต่อดว้ ยจติ ตสิกขาและขน้ั ตอนสดุ ท้ายคือ ปัญญาสกิ ขา ซง่ึ ขน้ั ตอนการศกึ ษา ท้งั 3 น้ี รวมเรียกวา่ \"ไตรสกิ ขา\" ซึ่งมคี วามหมายดงั น้ี 1. สีลสิกขา การฝึกศึกษาในด้านความประพฤตทิ างกาย วาจา และอาชีพ ให้มชี วี ติ สุจริตและเกื้อกูล (Training in Higher Morality) 2. จติ ตสิกขา การฝกึ ศึกษาด้านสมาธิ หรือพัฒนาจติ ใจใหเ้ จรญิ ไดท้ ่ี (Training in Higher Mentality หรือ Concentration) 3. ปัญญาสิกขา การฝึกศกึ ษาในปัญญาสูงขึ้นไป ให้รู้คดิ เขา้ ใจมองเห็นตามเป็นจริง (Training in Higher Wisdom) ความสัมพนั ธ์ของไตรสกิ ขา ความสัมพันธ์แบบต่อเนอ่ื งของไตรสิกขานี้ มองเหน็ ไดง้ ่ายแมใ้ นชีวิตประจำวัน กลา่ วคือ (ศีล -> สมาธ)ิ เมอ่ื ประพฤตดิ ี มคี วามสัมพนั ธ์งดงาม ไดท้ ำประโยชนอ์ ยา่ งน้อย ดำเนินชีวิตโดยสุจริต มัน่ ใจในความบรสิ ทุ ธ์ิของ ตน ไม่ต้องกลัวต่อการลงโทษ ไม่สะดุง้ ระแวงต่อการ ประทุษรา้ ยของคู่เวร ไม่หวาดหวนั่ เสยี วใจตอ่ เสยี งตำหนหิ รอื ความรูส้ กึ ไม่ยอมรบั ของสังคม และไมม่ ี ความฟุ้งซ่านวุ่นวายใจ เพราะความรสู้ กึ เดือดรอ้ นรังเกียจในความผิดของตนเอง จติ ใจกเ็ อิบอมิ่ ช่นื บานเป็นสขุ ปลอดโปร่ง สงบ และแนว่ แน่ มุ่งไปกับสง่ิ ทีค่ ดิ คำที่พดู และการทีท่ ำ (สมาธิ -> ปัญญา) ยิ่งจิตไมฟ่ ุง้ ซ่าน สงบ อย่กู ับตัว ไรส้ ิ่งขุ่นมวั สดใส มงุ่ ไปอย่าง แน่วแนเ่ ท่าใด การรับรู้ การคดิ พนิ ิจพิจารณามอง เหน็ และเขา้ ใจสิง่ ตา่ งๆกย้ ิ่งชัดเจน ตรงตามจรงิ แล่น คลอ่ ง เป็นผลดใี นทางปญั ญามากข้ึนเทา่ น้ัน อปุ มาในเร่ืองนี้ เหมอื นวา่ ตั้งภาชนะน้าไว้ด้วยดีเรียบร้อย ไมไ่ ปแกลง้ สน่ั หรือเขย่า มนั ( ศลี ) เม่อื น้าไม่ถกู กวน คน พดั หรอื เขยา่ สงบนิง่ ผงฝนุ่ ตา่ งๆ ก็นอนก้น หายขุ่น นา้ ก็ใส (สมาธ)ิ เมอ่ื นา้ ใส กม็ องเห็นสง่ิ ตา่ งๆ ได้ชัดเจน ( ปัญญา ) ในการปฏบิ ัติธรรมสูงขึ้นไป ทถ่ี งึ ข้นั จะใหเ้ กิดญาณ อนั ร้แู จง้ เห็นจริงจนกำจัดอาสว กิเลสได้ ก็ยง่ิ ตอ้ งการจติ ที่สงบน่ิง ผ่องใส มสี มาธแิ นว่ แนย่ ่งิ ขน้ึ ไปอีก ถงึ ขนาดระงบั การรบั รู้ทาง อายตนะตา่ งๆ ไดห้ มด เหลอื อารมณ์หรอื สงิ่ ท่ีกำหนดไว้ใช้งาน แตเ่ พยี งอยา่ งเดียว เพ่ือทำการอยา่ ง ไดผ้ ล จนสามารถกำจัดกวาดล้างตะกอนทีน่ อนกน้ ไดห้ มดส้นิ ไมใ่ หม้ ีโอกาสขุน่ อีกตอ่ ไป
ไตรสิกขาน้ี เม่อื นำมาแสดงเปน็ คำสอนในภาคปฏบิ ตั ทิ ั่วไป ได้ปรากฏในหลักท่ีเรยี กว่า โอวาทปาฏิ โมกข์ ( พทุ ธโอวาทที่เป็นหลกั ใหญ่ อยา่ ง ) คอื สพพปาปสส อกรณ การไมท่ ำความชว่ั ทงั้ ปวง ( ศีล ) กุสลสสปู สมปทา การบำเพ็ญความดใี ห้เพยี บพร้อม (สมาธิ ) สจติ ตปรโิ ยทปน การทำจติ ของตนให้ผอ่ งใส (ปญั ญา ) นอกจากนี้ยังมวี ธิ กี ารเรยี นรตู้ ามหลักโดยท่วั ไป ซึง่ พระพุทธเจา้ พระพุทธเจา้ ตรสั ไว้ 5 ประการ คอื 1. การฟัง หมายถึงการตั้งใจศึกษาเล่าเรียนในห้องเรยี น 2. การจำได้ หมายถงึ การใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ เพ่อื ให้จำได้ 3. การสาธยาย หมายถงึ การทอ่ ง การทบทวนความจำบอ่ ย ๆ 4. การเพ่งพินจิ ด้วยใจ หมายถึงการตงั้ ใจจนิ ตนาการถึงความรู้นั้นไว้เสมอ 5. การแทงทะลดุ ้วยความเห็น หมายถึงการเข้าถึงความรูอ้ ย่างถูกตอ้ ง เปน็ ความรอู้ ยา่ งแท้จริง ไมใ่ ช่ติดอยูแ่ ต่เพียงความจำเทา่ นัน้ แต่เปน็ ความรคู้ วามจำที่สามารถนำมา ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิได้ จะเห็นไดว้ ่า สลี สกิ ขา จิตตสิกขา และปญั ญาสกิ ขา การศกึ ษาท้ั 3 ขน้ั น้ี ตา่ งก็เป็น พนื้ ฐานกันและกัน ซ่งึ ในการศึกษา พทุ ธศาสนามุง่ สอนใหค้ นเปน็ คนดี คนเก่งและสามารถอยูใ่ นสังคม ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ จากกระบวนการศกึ ษาทก่ี ลา่ วมาทัง้ 3 ขั้นตอนของพุทธศาสนาน้ี หากสามารถ นำไปปฏบิ ตั ิอย่างจริงจงั กจ็ ะเกิดผลดกี บั ผปู้ ฏิบัติ ซง่ึ หลักการทงั้ 3 นัน้ เปน็ ที่ยอมรบั จากชาวโลก ทำ ใหพ้ ทุ ธศาสนาได้แพร่หลายไปในประเทศตา่ ง ๆ ทวั่ โลก จึงนับได้วา่ พุทธศาสนาเป็นศาสตรแ์ หง่ การศึกษาอย่างแทจ้ ริง
พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธข์ องเหตปุ จั จยั และ วธิ กี ารแกป้ ญั หา พระพุทธศาสนาเนน้ ความสัมพันธ์ของเหตปุ ัจจัย หลักของเหตุปัจจยั หรือหลกั ความเปน็ เหตุเป็นผล ซึง่ เป็นหลกั ของเหตปุ จั จัยที่อิง อาศยั ซึ่งกันและกัน ทเ่ี รียกว่า \"กฎปฏจิ จสมุปบาท\" ซึ่งมีสาระโดยยอ่ ดงั นี้ \"เมอ่ื อันน้ีมี อันน้จี ึงมี เม่ืออันน้ีไมม่ ี อันนีก้ ็ไมม่ ี เพราะอนั น้ีเกดิ อันน้จี งึ เกดิ เพราะอันนีด้ ับ อันนี้จึงดับ\" น่ีเป็นหลักความจริงพ้ืนฐาน ว่าส่ิงหน่ึงสิง่ ใดจะเกดิ ขนึ้ มาลอย ๆ ไมไ่ ด้ หรอื ในชวี ติ ประจำวนั ของเรา \"ปญั หา\"ท่ีเกิดข้นึ กบั ตัวเราจะเปน็ ปัญหาลอย ๆ ไมไ่ ด้ จะตอ้ งมีเหตุปัจจัยหลายเหตุทก่ี ่อให้เกิดปญั หา ขึ้นมา หากเราต้องการแก้ไขปัญหากต็ อ้ งอาศยั เหตุปัจจัยในการแก้ไขหลายเหตปุ ัจจัย ไมใ่ ชม่ เี พียง ปจั จยั เดียวหรือมีเพยี งหนทางเดียวในการแกไ้ ขปัญหา เป็นต้น คำวา่ \"เหตุปจั จัย\" พทุ ธศาสนาถือว่า ส่ิงที่ทำใหผ้ ลเกิดขึ้นไมใ่ ชเ่ หตุอย่างเดียว ตอ้ ง มีปจั จัยต่าง ๆ ดว้ ยเมื่อมปี จั จัยหลายปัจจัยผลกเ็ กดิ ขน้ึ ตัวอย่างเชน่ เราปลูกมะมว่ ง ต้นมะมว่ งงอก งามข้ึนมาต้นมะม่วงถือว่าเป็นผลท่เี กิดขึ้น ดังน้นั ตน้ มะม่วงจะเกิดขนึ้ เปน็ ต้นทีส่ มบรู ณ์ไดต้ อ้ งอาศยั เหตปุ จั จัยหลายปัจจัยท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ เปน็ ตน้ มะม่วงได้ เหตปุ ัจจยั เหล่านัน้ ได้แก่ เมล็ดมะมว่ ง ดนิ น้า ออกซเิ จน แสงแดด อุณหภูมทิ พี่ อเหมาะ ปุ๋ย เปน็ ตน้ ปจั จัยเหลา่ นีพ้ ร่ังพรอ้ มจงึ กอ่ ให้เกดิ ต้นมะม่วง ตัวอยา่ งความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจัย เชน่ ปัญหาการมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนต่า ซ่ึงเป็นผลทีเ่ กิด จากการเรยี นของนักเรียน มเี หตุปจั จัยหลายเหตปุ จั จัยทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นอ่อน เชน่ ปัจจัยจาก ครูผู้สอน ปัจจัยจากหลักสตู รปัจจัยจากกระบวนการเรียนการสอนปจั จัยจากการวัดผลประเมนิ ผล ปจั จัยจากตวั ของนกั เรยี นเอง เปน็ ต้น ความสัมพันธข์ องเหตปุ จั จัย หรอื หลักปฏจิ จสมปุ บาท แสดงให้เหน็ อาการของสงิ่ ทงั้ หลายสมั พนั ธ์ เนื่องอาศัยเป็นเหตปุ จั จัยตอ่ กันอยา่ งเป็นกระแส ในภาวะท่เี ปน็ กระแสน้ี ขยายความหมายออกไปใหเ้ ห็น แง่ต่าง ๆ ไดค้ อื - สิ่งทั้งหลายมคี วามสัมพนั ธต์ อ่ เนือ่ งอาศัยเป็นปัจจัยแกก่ ัน - ส่งิ ท้ังหลายมีอยโู่ ดยความสมั พันธก์ ัน - สิ่งท้ังหลายมีอยูด่ ้วยอาศัยปัจจัย - สิ่งท้ังหลายไม่มีความคงทอี่ ยอู่ ยา่ งเดมิ แมแ้ ต่ขณะเดยี ว (มีการเปลย่ี นแปลงอยู่ ตลอดเวลา ไม่อย่นู ง่ิ ) - สิ่งทั้งหลายไมม่ ีอยูโ่ ดยตวั ของมันเอง คือ ไมม่ ีตวั ตนทแ่ี ทจ้ รงิ ของมนั - สิง่ ทั้งหลายไม่มีมูลการณ์ หรือต้นกำเนิดเดมิ สุด แต่มคี วามสมั พนั ธ์แบบวัฏจักร หมุนวนจนไม่ทราบว่าอะไรเปน็ ตน้ กำเนิดทแ่ี ทจ้ รงิ หลักคำสอนของพระพทุ ธศาสนาของพระพุทธศาสนาท่เี น้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยมีมากมาย ใน ทน่ี ้ีจะกล่าวถึงหลกั คำสอน 2 เร่ือง คือ ปฏิจจสมุปบาท และอริยสัจ 4 ปฏจิ จสมุปบาท คอื การท่สี ง่ิ ทง้ั หลายอาศัยซงึ่ กันและกนั เกดิ ข้ึน เป็นกฎธรรมชาตทิ พี่ ระพุทธเจ้าทรง คน้ พบ การที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบกฎนน้ี ี่เอง พระองค์จึงได้ชอื่ ว่า พระสมั มาสัมพทุ ธ เจ้า กฏปฏิจจสมุปบาท เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ กฏอิทัปปจั จยตา ซ่ึงกค็ อื กฏแห่งความเป็นเหตเุ ป็นผล ของกันและกนั นั่นเอง
กฏปฏจิ จสมปุ บาท คือ กฏแห่งเหตผุ ลที่ว่า ถ้าสง่ิ นี้มี ส่งิ น้ันก็มี ถ้าส่ิงนด้ี บั สง่ิ นัน้ ก้ ดับ ปฏจิ จสมุปบาทมีองค์ประกอบ 12 ประการ คือ 1) อวิชชา คือ ความไมร่ ูจ้ ริงของชวี ิต ไม่รแู้ จ้งในอริยสัจ 4 ไมร่ ู้เท่าทนั ตามสภาพท่เี ปน็ จรงิ 2) สังขาร คือ ความคดิ ปรงุ แต่ง หรือเจตนาท้งั ทเี่ ปน็ กศุ ลและอกศุ ล 3) วิญญาณ คอื ความรบั รู้ตอ่ อารมณต์ ่างๆ เช่น เห็น ไดย้ ิน ได้กลนิ่ รู้รส รู้สมั ผัส 4) นามรปู คือ ความมีอย่ใู นรูปธรรมและนามธรรม ได้แก่ กายกบั จิต 5) สฬายตนะ คอื ตา หู จมกู ล้ิน กาย และใจ 6) ผสั สะ คือ การถูกตอ้ งสัมผัส หรอื การกระทบ 7) เวทนา คือ ความรสู้ ึกวา่ เป็นสขุ ทุกข์ หรืออุเบกขา 8) ตัณหา คอื ความทะเยอทะยานอยากหรอื ความต้องการในสิ่งท่อี ำนวยความสุขเวทนา และความ ดิน้ รนหลีกหนใี นสง่ิ ท่ีกอ่ ทุกขเวทนา 9) อปุ าทาน คอื ความยึดมัน่ ถอื มนั่ ในตัวตน 10) ภพ คือ พฤติกรรมทแี่ สดงออกเพื่อสนองอุปาทานน้นั ๆ เพือ่ ให้ไดม้ าและใหเ้ ปน้ ไปตามความยึด มนั่ ถอื ม่ัน 11) ชาติ คอื ความเกดิ ความตระหนกั ในตัวตน ตระหนกั ในพฤติกรรมของตน 12) ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทกุ ขะ โทมนัส อปุ ายาสะ คอื ความแก่ ความตาย ความโศกเศรา้ ความครา่ ครวญ ความไมส่ บายกาย ความไม่สบายใจ และความคบั แคน้ ใจหรอื ความกลดั กลุ่มใจ องค์ประกอบท้ัง 12 ประเภทนี้ พระพทุ ธเจ้าเรยี กว่า องค์ประกอบแห่งชวี ิต หรือกระบวนการของ ชวี ิต ซงึ่ มีความสัมพันธ์เกีย่ วเน่ืองกันทำนองปฏกิ ริ ยิ าลูกโซ่ เปน็ เหตุปจั จยั ตอ่ กัน โยงใยเป็นวง เวียนไมม่ ตี น้ ไม่มีปลาย ไม่มีทส่ี นิ้ สดุ กลา่ วคือองคป์ ระกอบของชวี ติ ตามกฏปฏิจจสมุปบาทดังกล่าวนี้ เป็นสายเกิดเรยี กว่า สมทุ ัยวาร
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: