Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3

บทที่3

Published by Us Asama, 2021-06-08 03:54:03

Description: บทที่3

Search

Read the Text Version

109 บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร สาระสําคญั เศรษฐศาสตรเ ปนวิชาทีว่ า ดว ยเรื่องเก่ยี วกับการกระจายทรัพยากรทีม่ อี ยอู ยา งจํากัดใหสามารถสนอง ตอ ความตอ งการของคนในสงั คมอยางเปน ธรรม การพัฒนาเศรษฐกจิ เปน การเปลย่ี นแปลงโครงสรา งทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ใหอยูในภาวะทเี่ หมาะสม โดยแตละประเทศจะมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ ท่ไี มเ หมือนกนั ท้งั นขี้ ้นึ อยกู บั ทรัพยากรการผลติ สภาพภูมิศาสตร ตลอดจนพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมท่ีแตกตาง กัน โดยมีเปาหมายเหมือนกัน คือ ตองการใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประชากรของประเทศ มมี าตรฐานการครองชีพสูงข้นึ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตรมหภาคและจลุ ภาคได 2. อธบิ ายพรอมยกตวั อยางระบบเศรษฐกิจไทยได 3. เปรยี บเทียบเศรษฐกิจของไทยกับประเทศในอาเซียนได 4. ยกตวั อยา งผลกระทบของการเปลีย่ นเศรษฐกจิ ท่ีมตี อประเทศไทยได 5. รแู ละเขา ใจสทิ ธิพนื้ ฐานของผบู รโิ ภคได 6. นาํ เสนอผลการเปรยี บเทียบสภาพเศรษฐศาสตรข องประเทศในทวีปเอเชีย 7. รูและเขาใจบทบาทและความสําคัญของการรวมกลุมประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ขอบขา ยเนอื้ หา เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของเศรษฐศาสตรมหภาคและจลุ ภาค เรอ่ื งท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย เรื่องที่ 3 คณุ ธรรมในการผลติ และการบริโภค เรอ่ื งท่ี 4 กฎหมายและขอ มลู การคมุ ครองผูบริโภค เร่อื งที่ 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในเอเชีย เรอ่ื งที่ 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน

110 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรม หภาคและจลุ ภาค ความหมาย เศรษฐศาสตร เปนวิชาวาดวยการผลิต การจําหนาย จายแจก และการบริโภค ใชสอยสิ่งตาง ๆ ของชุมชนมี 2 สาขา คือ เศรษฐศาสตรจุลภาค ไดแก เศรษฐศาสตรภาคที่ศึกษาปญหา เศรษฐกิจสวนเอกชน หรือปญหาการหาตลาด เปนตน และเศรษฐศาสตรมหภาค ไดแก เศรษฐศาสตรภาค ที่ศึกษาปญหา เศรษฐกิจของประเทศโดยสวนรวม เชน ปญหาเรื่องรายไดของประชาชาติ การออมทรัพย ของประชากรปญหาการลงทนุ (พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 : http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp) เศรษฐศาสตร เปน ศาสตรห รอื สาขาความรูท ่วี าดวยการจดั สรรทรพั ยากรทม่ี จี าํ กัดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ประโยชนส งู สดุ ของสงั คม ดังนั้น ไมว า จะเปน ดา นธรุ กิจ การผลติ การขาย การตลาด ดานสขุ ภาพ ดา นการ กอสรา ง ดา นสถาปตยกรรม วิศวกรรม ดานการคา การขนสง จะเก่ียวของกับการจัดสรรทรัพยากรอยางไร จะใชอยางไร จะระดมและแบง ทรัพยากรอยา งไรใหเกดิ ประสิทธิภาพ คุมคาสูงสุด จะเปนเร่ืองท่ีเก่ียวของกับ เศรษฐศาสตรท ั้งสิน้ เศรษฐศาสตรจึงนํามาใชอยางกวางขวาง นอกเหนือจากการใชเพื่อดําเนินนโยบายและ มาตรการเพ่ือการบริหารจัดการประเทศ เพื่อใหเกิดผลดีตอเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้เศรษฐศาสตร เปนศาสตรที่มีพลวัตและการพัฒนาเสมอ เรียกวาเปนศาสตรที่ไมตาย ทั้งดานเทคนิค ทฤษฎี และการ ประยุกต จึงเปนศาสตรที่จะอยูคูโ ลกเสมอ และที่สําคัญนักเศรษฐศาสตรตองเปนผูใฝรู ใชสติปญญา และมี ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม ความเปน ธรรม กเ็ ปน ประเด็นทีน่ กั เศรษฐศาสตรไ มล ะเลย เพราะจะจดั สรรทรพั ยากร เพ่ือใหสังคมไดป ระโยชนสูงสดุ ตอ งใชท้ังหลกั ประสทิ ธภิ าพและเสมอภาคดว ย ความสําคัญของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรสามารถจําแนกไดเ ปน 3 ลักษณะ ดังน้ี 1. ผูบริโภค ชวยใหผ ูบ ริโภคสามารถปรบั ตวั ใหเ ขากบั สถานการณทางเศรษฐกิจของประเทศและของ โลกได รูแ ละเขาใจในนโยบายทางเศรษฐกจิ ทร่ี ัฐบาลกาํ หนดจะสง ผลกระทบผบู รโิ ภคอยา งไร ชว ยใหเตรียมตัว ในการวางแผนใชจาย หรอื ออมภายในครอบครวั หรอื การประกอบอาชพี ได 2. ผูผลิต ชวยใหผูผลิตสินคาและบริการสามารถวิเคราะหและวางแผนการผลิตไดวาจะผลิตอะไร จํานวนเทาไร ผลิตอยางไร สําหรับใคร ซึ่งตองคํานึงถึงในทุกข้ันตอนกอนสินคาและบริการถึงมือผูบริโภค เพื่อใหสามารถแขง ขันในตลาดได 3. เศรษฐศาสตร ชวยใหรัฐบาลเขาใจพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน ผูผลิต ปจจัยในการ กําหนดสินคา ตา ง ๆ ความสัมพันธระหวา งตลาดตา ง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ การกําหนดนโยบายและมาตรการ เพื่อมาใชแ กป ญหาและพัฒนาเศรษฐกจิ เศรษฐศาสตรจุลภาค เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจยอยซึ่งเปนสวนหน่ึงของระบบเศรษฐกิจ ทง้ั ระบบ เชน การศกึ ษาพฤตกิ รรมในการบรโิ ภค ความชอบ การเลือก ความพงึ พอใจ ตอสินคาและบริการ เพือ่ นําผลการศึกษามากาํ หนดราคา การคดิ ตนทุน การกระจายสินคา และบริการ เปน ตน

111 ขอบขา ยของเศรษฐศาสตร แบงเปน 2 ดา นใหญ ๆ คอื 1. เศรษฐศาสตรมหภาค เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจเปนสวนรวม เชน การผลิต รายได การบริโภค การออม การลงทุน การจางงาน การภาษีอากร การธนาคาร รายไดประชาชาติ การคา ระหวางประเทศ เปนตน 2. เศรษฐศาสตรจุลภาค (Micro Economics) หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจ สว นยอ ย ซงึ่ เปน สวนประกอบของระบบเศรษฐกิจสว นรวม เชน ศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคแตละราย หรือ กลุมของผูบริโภคสินคาแตละชนิด พฤติกรรมของผูผลิตแตละราย กลุมผูผลิตสินคาแตละชนิด การกําหนด ปริมาณซ้ือของผูบริโภค การกาํ หนดปริมาณการผลิตของผผู ลติ การกําหนดราคาปจจยั การผลิต ตลอดจนการ ทาํ งานของกลไกราคา เศรษฐศาสตรมหภาค (Macro Economics) เปนการศึกษาพฤติกรรมของระบบเศรษฐกิจ โดยสวนรวม ศกึ ษาถงึ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะหน่ึง เชน ศกึ ษาเรือ่ งรายไดป ระชาชาติ การจางงาน การออม การลงทุน การเงิน การธนาคาร การคลงั รฐั บาล การคา ระหวางประเทศ การพฒั นาเศรษฐกจิ เปนตน เศรษฐศาสตรท้ังสองแนวน้ีมีความสําคัญเทาเทียมกัน การศึกษาแขนงใดแขนงหน่ึง จะทําให ความเขา ใจในการทาํ งานของระบบเศรษฐกจิ เปน ไปอยางไมค รบถว น เพราะทั้งสองแขนงตางเปน สวนประกอบ ซึ่งกนั และกนั ฐานความรูของการศึกษาเศรษฐศาสตร ในการศึกษาเศรษฐศาสตรควรเขาใจแนวคิดและคําศัพท เพ่อื เปน พนื้ ฐานในการศกึ ษาดังนี้ 1. ความตองการ (Wants) หมายถึง ความปรารถนาที่จะไดส่ิงตาง ๆ มาบริโภค เพ่ือตอบสนอง ความจาํ เปน ในการดํารงชวี ิต และเพือ่ อาํ นวยความสะดวกตาง ๆ ซึ่งความตองการจะเปนกลไกสําคัญเบ้ืองตน ท่ีกอ ใหเ กิดกิจกรรมตาง ๆ ทางเศรษฐกจิ ตามมาอีกมากมาย 2. ทรัพยากร หมายถึง สิ่งทั้งหลายที่สามารถนํามาใชในการผลิตหรือสรางใหเกิดเปนสินคาและ บรกิ าร ทรพั ยากร แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ 2.1 ทรัพยากรมนษุ ย เปน ทรพั ยากรทส่ี าํ คัญเปน อยา งยิง่ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 2.2 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติเปนทรัพยากรที่มีอยู อยา งจาํ กดั เชน แรธาตุ ทด่ี ิน นา้ํ มนั ปา ไม แหลงน้ํา เปน ตน ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้นเปนทรัพยากรที่ผลิตขึ้นจากการใชทรัพยากรธรรมชาติเปนวัตถุดิบ เชน เครื่องมอื เครอ่ื งใช เครอ่ื งจักร อาหาร เสือ้ ผา เปนตน ตัวอยา งเชน ถา รฐั บาลใชจา ยงบประมาณแผน ดิน สรางถนน 1 สาย ใชเงนิ 20,000 ลา นบาท การใช จา ยของรฐั บาลผานบริษัทธุรกจิ ที่รับเหมากอสรา งถนน ทําใหมีการจางงานมากขึ้น ซือ้ วัสดุกอสรางมากขนึ้ ทาํ ใหป ระชาชนทเ่ี กี่ยวขอ งมีรายไดมากข้ึน เมื่อมีรายไดมากข้ึนก็จะมีอํานาจซ้ือสินคาและบริการมากขึ้น คือ จะมอี ปุ สงคต อสินคาบรกิ ารมากขน้ึ

112 เรือ่ งที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย ระบบเศรษฐกจิ กอนทีจ่ ะเรยี นรถู ึงระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เราควรเขาใจถึงความหมายของระบบเศรษฐกิจ กนั กอ น ระบบเศรษฐกิจ คือ กลุมหรือหนวยธุรกิจท่ีรวมตัวกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยอยูภายใต รปู แบบของการปกครอง จารีตประเพณี สงั คม และวฒั นธรรมของแตล ะประเทศ เพ่ือกําหนดวาจะผลิตอะไร ปรมิ าณมากนอยเทาใด และใชว ิธีการผลิตอยา งไร เพือ่ ตอบสนองความตองการของหนวยครัวเรือน หรือกลุม ผูบรโิ ภคหรือประชาชนนนั่ เอง ระบบเศรษฐกิจของแตละประเทศในโลก มคี วามแตกตา งกนั ทัง้ นข้ี น้ึ อยูกับรูปแบบการปกครองและ จารีตประเพณี โดยท่ัวไปแลวแตละประเทศไดมีการพัฒนาระบบเศรษฐกิจแบบตาง ๆ ข้ึน เพื่อแกไข ขอ บกพรองของระบบเดมิ ท่ีมอี ยู ดังน้นั จะเห็นวา ในปจจบุ นั จะมรี ะบบเศรษฐกจิ อยู 3 แบบ คือ ระบบเศรษฐกิจ แบบเสรีนยิ ม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ ม และระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจท่ีเอกชนหรือประชาชนทั่วไป มีเสรีภาพในการ ตัดสินใจทํากิจกรรมตาง ๆ ทางเศรษฐกิจ มีท้ังการผลิต การบริโภค การซ้ือขาย แลกเปล่ียน การประกอบ อาชพี การจดั ตงั้ องคการทางเศรษฐกิจ รวมทัง้ การเปน เจาของทรพั ยสิน โดยรฐั บาลจะไมเ ขามาเกี่ยวขอ ง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลจะเปนผูกําหนดและวางแผน ในการทํากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ โดยรัฐบาลเปน ผูตดั สนิ ใจในการดาํ เนินเศรษฐกิจท้งั หมด เอกชนไมมีเสรีภาพ ในการตดั สนิ ใจในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจแบบผสมนี้เกิดข้ึนเนื่องจากปญหาและ ขอบกพรองของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและแบบสังคมนิยม โดยจะมีทั้งการใชกลไกราคา เปนการ กําหนด และการวางแผนมาจากรัฐบาลสวนกลาง กลาวคือ มีท้ังสวนที่ปลอยใหประชาชนตัดสินใจดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง และสวนที่รัฐบาลพรอมทั้งเจาหนาท่ีเขาไปควบคุมและวางแผนการทํากิจกรรม ตาง ๆ ทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในยุคปจจุบันมีแนวโนมจะเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบผสมมากขึ้น จะเหน็ ไดจ ากการท่ีรฐั บาลไดใ หโอกาสประชาชนมเี สรภี าพทํากิจกรรมทางธุรกิจไดมากข้ึน โดยอาศัยกลไกราคา เปนเครอ่ื งมือในการตดั สินใจแตก ิจกรรมทางธรุ กิจในบางลักษณะกย็ งั มีความจําเปนตองใชวิธีการควบคุมหรือ ดาํ เนนิ การโดยรัฐ เชน กิจการไฟฟา ประปา โทรศัพท ถนน เปนตน

113 อยางไรกต็ ามระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทยนับต้ังแตสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1892) ซ่ึงเปน ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม มีการสงเสริมใหมีการคาโดยเสรีและกวางขวาง พอมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - 2310) จะเปน ระบบเศรษฐกจิ แบบศักดินา ทาํ การเกษตรเปน พน้ื ฐาน ประชาชนทําการผลิตแบบ พอยงั ชพี รายไดห ลกั ของรฐั บาลมาจากสวยและภาษีอากร และเรม่ิ เปล่ยี นแปลงเปนระบบเศรษฐกิจแบบผสม ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. 2325 - 2398) โดยลักษณะระบบเศรษฐกิจจะเปนแบบก้ํากึ่งกัน ระหวางเศรษฐกิจแบบพอยงั ชพี และเศรษฐกิจแบบตลาด กลาวคอื มกี ารทาํ การเกษตรเพ่ือบรโิ ภคเอง และทํา เกษตรเพื่อการคา แตการทําเพ่ือการคาจะเปนลําดับรอง นอกจากการทําการเกษตรแลว ในสมัยกรุง- รัตนโกสินทรต อนตนนี้ ยงั ไดเ รม่ิ มกี ารอุตสาหกรรมขนั้ ตนเกดิ ข้นึ ดว ย เชน อุตสาหกรรมเหมอื งแร และนํา้ ตาล- ทราย เปนตน ตอ จากนน้ั หลงั ชว งการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ระหวาง พ.ศ. 2475 - 2504 ระบบเศรษฐกิจไทย เปลย่ี นแปลงไปมาก เนอื่ งจากประเทศไทยไดเ ปด การคา เสรกี บั ประเทศตะวันตกตามขอตกลงใน “สนธิสัญญา เบาวร ่ิง” เปนผลใหพลังการผลติ ไมพฒั นา และไมสามารถจะแขงขันกับคูแขงทางการคาทั้งหลายได ผลผลิต ที่พอจะกาวหนาและมีคุณภาพสูง ก็ถูกจํากัดดวยนายทุนตางชาติ และนายทุนเหลานั้นสามารถควบคุม เศรษฐกจิ ไทยได นอกจากน้ภี ายหลังจากสงครามโลกครง้ั ที่ 2 (พ.ศ. 2488) ส้นิ สุดลง ประเทศไทยตองประสบ กับปญหาทางเศรษฐกิจหลายประการ เชน ปญหาการขาดแคลนสินคาอุปโภคบริโภค ปญหาเงินเฟอ ปญหา การขาดแคลนเงินตราตา งประเทศ และปญ หาจากการที่ตองปฏิบัติตามขอตกลงตามสัญญาสมบูรณแบบกับ ประเทศอังกฤษ ดังน้ันในชวงนี้ประเทศไทยไดมีการแกปญหา โดยมีการออกกฎหมายควบคุมราคาสินคา หา มกักตนุ สินคา ใหใ ชข องทผ่ี ลติ ขึ้นในประเทศ มีการเปด ธนาคารของคนไทยเพมิ่ มากขึ้น และใหธนาคารเปน แหลงเงนิ ทุนไปทําธุรกจิ รฐั บาล จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ไดใชนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม และการขยายตัว ของทนุ นิยมโดยรัฐ เชน รฐั เขา มาสงเสรมิ ใหมกี ารประกอบการอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม สาธารณปู โภค ฯลฯ

114 สงเสริมใหคนไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจมากข้ึน เชน มีการสงวนอาชีพบางประเภทใหคนไทย สวนดาน อตุ สาหกรรม รัฐบาลก็จะเขา ไปดําเนินการเอง นับตั้งแต พ.ศ.2504 เปนตนมา ระบบเศรษฐกิจของไทยเปล่ียนแปลงมากอันเน่ืองมาจาก การเจริญเติบโตทางดา นประชากร และปญหาดานทรัพยากรซึ่งมีจํากัด โดยรัฐบาลซึ่งเปนตัวแทนของสังคม ตอ งเขา มาทาํ หนา ทีเ่ ปนผจู ดั ทําเพือ่ แกไขปญหาตา ง ๆ ในชวงน้ีเองจึงทําใหประเทศไทยใหความสําคัญในการ วางแผนการพฒั นาเศรษฐกจิ โดยรฐั บาลและประชาชนรวมกันดําเนินการ ซ่ึงอาจกลาวไดวาระบบเศรษฐกิจ ไทยไดเขาสรู ะบบเศรษฐกจิ แบบผสม โดยมกี ารวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและไดเริ่มจัดทําเปนแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาตขิ ้ึน โดยเริม่ ต้งั แตฉบับที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2504 มาจนถึงปจจุบัน คือ ฉบับท่ี 11 ซ่ึงมี กําหนดวาระของแผน ดังน้ี (1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2504 - 2509 (2) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2510 - 2514 (3) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2515 - 2519 (4) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2520 - 2524 (5) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 5 พ.ศ. 2525 - 2529 (6) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2530 - 2534 (7) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535 - 2539 (8) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 - 2544 (9) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 9 พ.ศ. 2545 - 2549 (10) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 10 พ.ศ. 2550 – 2554 (11) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 11 พ.ศ. 2555 – 2559 ปญ หาเศรษฐกจิ ของไทย ประเทศไทยไดชื่อวาเปนประเทศท่ีกําลังพัฒนา (Developing country) เหมือนกับประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชยี อีกหลายประเทศ ท้ังน้ี เน่อื งจากประเทศไทยประสบปญ หาทางเศรษฐกจิ หลายประการท่ีสาํ คญั คอื 1. ความแตกตา งของรายได ผลจากการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศในอดีตที่ผา นมา มีการขยายตวั ทางเศรษฐกิจเปนไปในลักษณะท่ีขาดความสมดุล ระหวางประชาชนในเมืองกับชนบทยังผลใหเกิดปญหา ความแตกตางทางรายไดอยางเห็นไดชัด ประชาชนในชนบทยังยากจนมากกวา 10 ลานคน หรือประมาณ รอยละ 90 ของประชาชนในชนบท จากการสํารวจพบวาผูประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีรายไดตํ่ากวาผูท่ี ประกอบอาชีพอุตสาหกรรม 6 เทาตัว พาณิชยกรรม เกือบ 10 เทาตัว และดานบริการกวา 4 เทาตัว อีกท้ัง ยงั ตํ่ากวา รายไดเฉลี่ยของประชาชนในชาติดวย ความแตกตางของรายได ผูประกอบอาชีพดานตาง ๆ ยังคง ปรากฏอยใู นปจ จบุ ัน ประชาชนท่มี รี ายไดเ ฉลี่ยตํ่าสดุ ของประเทศอยใู นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2. สนิ คาข้ันปฐม เปนสินคาพ้ืนฐานของคนไทย อันไดแก สินคาดานการเกษตร เปนสินคาผลิตผล จากการทาํ นา ทาํ ไร ทําสวน เลี้ยงสัตวแ ละการประมง ลกั ษณะสินคาเกษตรไทย ในปจจบุ นั ราคาผลผลิตตกต่ํา

115 เปน สาเหตใุ หเ กษตรกรมรี ายไดน อย รายไดไมคอ ยจะพอกับรายจาย ถาเปนเกษตรกรรายยอย มักจะประสบ ปญหาเกีย่ วกบั ราคาผลผลติ เสมอ อยางไรก็ตามสนิ คาผลผลติ ขน้ั ปฐมของคนไทย ถาพิจารณาในภาพรวมของประเทศสินคาประเภทนี้ ยังเปน สนิ คาสง ออกที่สําคัญของประเทศ และทาํ รายไดใหก ับประเทศปละมาก ๆ 3. การตลาด เปนกลไกท่ที าํ ใหผ ซู อื้ และผขู ายมาพบกัน และเกดิ มกี ารแลกเปล่ยี นกันในกระบวนการ แลกเปลี่ยนนั้น ตลาดตองทําหนาที่เก่ียวกับการจัดซ้ือสินคา การเก็บรักษาสินคา การขายสินคาและบริการ การจาํ หนา ยมาตรฐานสนิ คา การขนสง การยอมรับความเสีย่ งภัยและการเงนิ ลักษณะทางการตลาดของไทยมีทงั้ เปนตลาดแบบผกู ขาดและตลาดแบบก่ึงแขง ขนั กึง่ ผกู ขาด ท่ีวา เปน ตลาดแบบผกู ขาดนั้น เปนตลาดท่มี ผี ูซื้อและผขู ายเพยี งรายเดยี ว เชน การผลติ บุหร่ขี องโรงงานยาสูบ ลักษณะ ของตลาดแบบนี้ ผขู ายเปนผูกําหนดราคาสนิ คา แตเ พยี งผูเดียว โดยไมตอ งระมัดระวังวาจะมีผูแขงขัน สําหรับ ลักษณะของตลาดอกี แบบหนึง่ ที่เปน ก่ึงแขงขันกึ่งผูกขาดนั้นเปนลักษณะของผลผลิตที่มาจากผูผลิตรายใหญ เพียงไมก ่ีราย เชน บริษัทผูผลิตเครื่องดื่ม บริษัทผูผลิตสุรา บริษัทผูผลิตเหลานี้จะมีผูผลิตนอยราย และมีการ แขง ขันกันในการที่จะขายสนิ คา ของตน แตจ ะรวมตัวกนั เพือ่ ขึ้นราคาสนิ คาหรอื กาํ หนดราคาสนิ คาไดงาย ตลาดสินคาไทยอกี อยา งหนงึ่ เปนตลาดสนิ คา ที่มีผูซื้อและผขู ายจาํ นวนมาก ซง่ึ ตลาดเหลา นมี้ ีอยทู ั่วไป ทกุ จงั หวดั อําเภอ ตําบลและหมูบาน การตลาดของไทยยังมีปญหาสินคาสวนใหญตกอยูในกลุมบุคคลเพียง ไมก่ีกลุม การท่ีมีกลุมผลประโยชนเหลาน้ีขึ้น ถาเปนกลุมที่มีคุณธรรมก็จะกระจายรายไดโดยกําหนดราคา ท่ีเหมาะสม ไมคิดกําไรมาก แตถากลุมบุคคลเหลานี้เปนบุคคลท่ีเห็นแกได กลุมเหลานี้ก็จะรวมกันบีบผูผลิต

116 ใหขายผลผลิตในราคาตํ่า ซ่ึงสรางความเดือดรอนใหแกประชาชน นอกจากน้ัน การกําหนดราคาสินคาของ เมอื งไทยเรายังไมมีมาตรฐานโดยเฉพาะอยางย่ิง สินคาดานการเกษตร 4. การขาดดลุ การคา และดุลการชําระเงิน คําวา ดุลการคา หมายถึง รายรับรายจายจากการคา ระหวา งประเทศ ดุลการคาเปนเพียงสวนหน่ึงของดุลการชําระเงินเทานั้น เพราะดุลการชําระเงิน หมายถึง รายงานที่แสดงถึงยอดรายได - รายจาย ที่ประเทศไดรับหรือรายจายใหแกตางประเทศในระยะเวลา 1 ป ฉะน้ันประเทศอาจมีดุลการคาขาดดุล แตมีดุลการชําระเงินเกินดุลก็ได สําหรับดุลการคาของประเทศไทย ในชว งทม่ี ีการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ จะขาดดุลการคากับบางประเทศ เพราะจะตองเสียคาใชจายในการสั่งซ้ือ เครื่องจกั ร 5. การวา งงาน การวางงานยอ มมีผลกระทบตอเศรษฐกจิ สงั คม และรวมถึงการเมอื งดวยผลกระทบ ทางเศรษฐกจิ เชน กอ ใหเ กิดความยากจน เปน ผลกระทบถึงปญ หาครอบครัว ปญหาอาชญากรรม ฯลฯ และมี ผลถึงการฝกใฝในลัทธิเศรษฐกิจและลัทธิการเมือง ทําใหเกิดปญหาผูกอการรายได ในทางเศรษฐศาสตร มีการศกึ ษาและกาํ หนดไวว า ถาประเทศใดมีอัตราการวางงานเกิน 4% ของจํานวนแรงงานทั้งหมดแลว จะมี ผลกระทบตอ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศนน้ั อยางรุนแรง อยางไรก็ตาม ถึงแมอัตราการวางงานจะไมถึง 4% ดังกลา ว กส็ ามารถทําใหเกิดปญ หาสังคมขนึ้ ได 6. การเงินและการชําระหน้ี การกําหนดและควบคุมปริมาณเงินใหพอดีกับความตองการและ ความจําเปนในการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ เปนสิ่งจําเปนที่รัฐบาลจะตองกําหนดเปนนโยบายไว เพราะถาปริมาณเงินทใ่ี ชห มนุ เวียนในระบบเศรษฐกจิ มมี ากเกนิ ไป หรือนอ ยเกินไป เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ปรมิ าณ สินคา หรือบรกิ าร รัฐบาลจะตอ งเขาไปแกไข โดยมอบหมายใหธ นาคารแหงประเทศไทยเปนผูควบคุมปริมาณเงิน ทาํ ได 3 ทาง คือ

117 1. การนาํ หลักทรพั ยอ อกขายสูตลาด ถารัฐบาลตองการเก็บเงินก็ขายหลักทรัพยรัฐบาล ถาเงิน ในมอื ฝดลงรฐั บาลกร็ บี ซอื้ หลกั ทรพั ยก ลบั มาอีก ซ่ึงจะเปน การปลอ ยเงินไปสปู ระชาชนเพื่อใหเกิดเงินหมุนเวยี น 2. การเพ่ิมหรือลดอัตรารับชวงซื้อลดต๋ัวเงิน ทําใหธนาคารพาณิชยกูยืมเงินจากธนาคารแหง ประเทศไทยเพมิ่ ขน้ึ หรือลดลง ดวยวิธีใหเงินสดในทองตลาดลดลง หรือถาใหเงินสดในทองตลาดมีหมุนเวียน คลองตวั กต็ องกูเ งนิ จากธนาคารกลางเพิ่มขนึ้ เงนิ สดในมือประชาชนจะมีมากข้นึ 3. การเพ่ิมหรือลดอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย เม่ือพิจารณาฐานะการคลังของรัฐบาล ปงบประมาณ 2540 - 2541 เปน ชว งทเ่ี ศรษฐกจิ ของประเทศตกตํ่ามาก จะพบวาสถานภาพเงินคงคลังยังไมมี ความม่ันคง รัฐบาลตองประหยัดและจะตองกูเงินจากตางประเทศมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ซ่ึงปจจุบันประเทศไทยเปนหนี้ตางประเทศจํานวนมาก รัฐบาลตองต้ังงบประมาณชดใชหน้ีสินปละนับเปน หมน่ื ลานบาท ซง่ึ ยังผลใหงบประมาณที่จะนาํ มาใชใ นงานพฒั นามีนอยมาก 7. เงินเฟอ (Inflation) เงนิ เฟอ หมายถงึ ภาวะท่ีราคาของสินคาสูงข้ึน หรือหมายถึงภาวะท่ีคาของ เงนิ ลดลง สง่ิ ทจี่ ะทําใหเ ห็นชดั ถงึ ภาวะเงนิ เฟอ คอื ดชั นีผูบรโิ ภค เงนิ เฟอ มี 2 ประเภท คือ 1. เงินเฟออยางออน คือ ภาวะที่ราคาของสินคาและบริการสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในอัตราเล็กนอย ราวปละ 2.3 % และไมเ กนิ 5 % 2. เงินเฟออยางรุนแรง คือ ภาวะท่ีราคาสินคาเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว ดัชนีราคา จะสูงข้ึนกวา รอยละ 10 ตอ ป การทเี่ กดิ ภาวะเงนิ เฟอน้ัน ยอมจะทําใหเ กิดผลกระทบกระเทือน ดังน้ี คือ 1. ทาํ ใหเกดิ ผลเสยี หายแกก ารพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ 2. ทาํ ใหเกดิ ภาวะชะงักงนั ทางเศรษฐกิจ เพราะคา ของเงนิ ลดลง 3. เจาหนีท้ วั่ ไปจะเสียประโยชนจ ากมลู คาหนที้ ่ีเปลยี่ นแปลง คอื 4. ผูมีรายไดจากคาจาง เงินเดือน และผูมีรายไดคงที่อ่ืน ๆ จะเดือดรอนจากการครองชีพ เพราะรายไดไมท ันกับรายจา ย 5. รัฐบาลประสบปญหามากขึ้นในการบริหารประเทศเพราะรัฐบาลตองกูเงินมากขึ้นรัฐบาล ตองหาเงนิ มาใชใ หพอกับอัตราการเฟอ ของเงินทําใหเ งินทนุ สาํ รองท่ีเปน เงินตราตางประเทศลดลง ผลจากการท่รี ัฐบาลกําหนดใหค าเงินบาทลอยตัวเม่ือเดือนกรกฎาคม 2540 ทําใหสินคา มีราคา สูงข้ึน คา ของเงนิ บาทลดลง ทําใหเ กิดเงินเฟอ ปจจบุ ันเงินเฟอ เรมิ่ ลดลง การเกดิ เงนิ เฟอมิไดม แี ตผลเสียอยา งเดียว ยังมปี ระโยชนอยูบ าง กลาวคอื 1. เปนผลดแี กล กู หน้ี ลกู หนีจ้ ะใชเงนิ ลดลงเมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ภาวะเงนิ ปจ จุบัน 2. เกษตรกรมรี ายไดเ พิม่ ขึ้น เพราะเมือ่ เกดิ เงนิ เฟอ ราคาผลผลิตทางการเกษตรจะมีราคาสงู ข้ึน 3. ผปู ระกอบธุรกจิ การคา จะไดรบั ผลประโยชนเน่อื งจากเงนิ เฟอ จะชว ยสงเสรมิ การลงทนุ การคา ทั่ว ๆ ไปใหข ยายตัวมากข้นึ

118 แนวทางพฒั นาเศรษฐกจิ ของไทย การพัฒนาอาชีพและรายได การประกอบอาชีพของคนไทยมีความหลากหลาย มีทั้งขาราชการ พลเรือน ขาราชการตํารวจ ทหาร ลูกจางของทางราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พอคา แมคา ฯลฯ อาชีพ ตา ง ๆ เหลา นีถ้ า จะจัดเปน กลุมอาชีพจะได 3 กลุมอาชีพ ไดแก อาชีพเกษตรกรรม อาชีพอุตสาหกรรม และ อาชพี บรกิ าร 1. อาชีพเกษตรกร ประชากรสวนใหญป ระกอบอาชีพทางการเกษตร ดงั น้นั อาชพี เกษตรจงึ มี ความสําคัญยิ่งสาํ หรบั คนไทย อาชีพเกษตรมที ั้งการทาํ นา ทาํ สวน ทาํ ไร และเลย้ี งสตั ว สินคาเกษตรเปนสินคา ขัน้ ปฐมของไทย และเปน สนิ คาทส่ี งไปขายตางประเทศปล ะหลายหม่นื ลานบาท รฐั บาลพยายามสง เสริมอาชีพ เกษตรมากขึน้ และพยายามเชิญชวนใหเ กษตรกรไทยเปลยี่ นแปลงการปลูกพชื บางชนดิ เม่ือเห็นวา พืชนัน้ มีผูผลิตมากและลน ตลาด ทาํ ใหส ินคาราคาถูก 2. อาชีพอุตสาหกรรม จากขอมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรมพบวา โรงงานอุตสาหกรรม ในประเทศไทยเปน อุตสาหกรรมขนาดใหญเ พียงรอยละ 6 อีกรอยละ 94 เปนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดยอม อุตสาหกรรมขนาดใหญแทนทจ่ี ะจา งคนงานมาก แตกลบั จางคนงานนอย เพราะมีการใชเครือ่ งจักรแทนแรงคน ฉะน้ันความหวังทีจ่ ะเขาไปรับจางทํางานในโรงงานอตุ สาหกรรมจงึ เปน เร่ืองยาก แนวโนม ของการขยายตวั ทางอุตสาหกรรมนั้น รฐั บาลไดพยายามสง เสริมให เอกชนลงทุน โดยรัฐบาล ใหหลกั ประกัน พรอมทั้งเชิญชวนใหชาวตางประเทศมาลงทุนในประเทศไทยมากข้ึน ถึงกับมีการจัดตั้งเขต อุตสาหกรรมขึ้นท่ี อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยางไรก็ตามการสรางโรงงานขนาดใหญ ไมส งผลตอการ จา งงานเพม่ิ ข้นึ รฐั บาลจงึ พยายามท่ีจะสง เสรมิ ใหมกี ารลงทนุ ในอุตสาหกรรมขนาดยอมเพม่ิ ขน้ึ และขยายการ ลงทนุ ไปยงั ตางจงั หวัดใหม าก เพื่อหวงั จะใหมีการจางงานในสวนภูมิภาค มีแผนขยายเมืองหลักทั้ง 4 ภาคของ ประเทศ และขยายเขตอุตสาหกรรมไปยังจังหวดั ใหญ ๆ ดว ย 3. อาชพี บรกิ าร ถาจะแบงเปนกลุมยอ ยจะได 3 กลมุ คอื กลุมท่ีหนึ่ง ประกอบดวย ขาราชการและลูกจางหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ขาราชการ หมายรวมถึง ทหาร ตํารวจ ดวย กลุม อาชีพนี้มหี นาท่ใี หบ ริการแกประชาชนเพราะเปนลกู จางของรัฐ กลุมที่สอง เปนพวกที่เปนลูกจางหนวยงานเอกชน ตามโรงงานอุตสาหกรรม ไร สวน และตาม บริษัทหางรานตางๆ การจางงานจากสถานบริการเหลานี้ จะอยูในวงจํากัดรับไดจํานวนไมมาก และจาก ความเจรญิ กา วหนาทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหความจาํ เปน ในการจา งงานลดลง กลุมท่ีสาม เปนกลุมท่ีประกอบอาชีพอิสระ แนวทางพัฒนาอาชีพในอนาคตน้ัน เนื่องจากทาง ราชการรับบุคคลเขาทํางานนอย หนวยงานเอกชนก็มีการจางงานนอยลง ดวยเหตุนี้แนวโนมตอไป ในแผนพัฒนา ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) อาชีพอิสระมีความจําเปนมากสําหรับประชาชน รัฐบาลก็ได กาํ หนดเปนนโยบายไววา “ใหจดั การศึกษาใหต รงกับความตองการของตลาดแรงงานและใหสามารถประกอบ อาชีพสว นตวั หรอื สรา งงานดวยตนเองใหมากขนึ้ เนนการพฒั นาคุณภาพของประชากรเปน สําคัญ”

119 การพัฒนาตลาดแรงงาน ในป พ.ศ. 2540 ปญ หาแรงงานในประเทศไทยเริ่มรุนแรงมากข้ึน โรงงานตาง ๆ หยุดกิจการ มีการ เลิกจา งงานมากข้ึน ทําใหเกดิ ปญหาการวา งงานท้งั ในลกั ษณะทีเ่ ปน การวางงาน โดยเปดเผย การวางงานของ ผูมีความรูแตทํางานตํ่ากวาระดับรายไดและความสามารถ ตลอดจนปญหาแรงงานเด็ก รัฐบาลจึงไดเรงหา แนวทางและมาตรการตาง ๆ ท่จี ะลดความรุนแรงดานปญ หาใหนอยลง ตลอดจนกําหนดนโยบายท่ีจะพัฒนา เศรษฐกจิ เพ่อื ใหมีงานทาํ มากขึน้ ดวยวธิ กี ารตา ง ๆ เชน 1. การพัฒนาการเกษตรในรูปการเกษตรครบวงจร ตั้งแตการพัฒนาผลผลิตการเกษตร อุตสาหกรรมท่ีตอ เนือ่ ง ตลอดจนการจัดการเรื่องตลาดและเสถียรภาพของราคาในพืชหลักที่มีอยู การพัฒนา การเกษตรแบบผสมผสานที่เปนการขยายชนดิ พืชและใชพ้ืนท่ีมากขึ้นในเขตชลประทานและเขตนํ้าฝน 2. การสรางงานเกษตรในฤดแู ลง เปน ที่ทราบกนั ทั่วไปวาปญหาในเขตชนบทสวนใหญน น้ั เกิดขน้ึ ในฤดูแลง มาตรการที่จะชวยสรางงานทางการเกษตร ไดแก การนําเทคโนโลยีคิดคนมาไดไปปฏิบัติ เชน การทําฝนเทียม ซ่ึงสวนใหญเปนพ้ืนที่ชนบทยากจน เทคโนโลยีใหม ๆ เหลาน้ีไดแก การเพ่ิมประสิทธิภาพ การเพาะปลกู พชื การเล้ียงสัตว การใชป ระโยชนจ ากแหลงนํา้ ใหม ีน้ําพอเพียงในฤดแู ลง สงผลใหเกิดผลดีในดาน การประมง การเล้ียงสัตว การเพาะปลูก ตลอดจนการเพ่ิมมาตรการเก่ียวกับไมยืนตนไมโตเร็ว เพ่ือใชสอย ในระดับหมูบาน การสนับสนุนเรื่องตาง ๆ เหลานี้อยางพอเพียง จะกอใหเกิดงานที่มีผลผลิตและรายไดขึ้น อยา งกวางขวางโดยเฉพาะในฤดูแลงซง่ึ เปนฤดูที่มีปญ หา การวา งงานสูง 3. การสรา งงานโดยการสนบั สนนุ อตุ สาหกรรมชนบท สง เสรมิ อตุ สาหกรรมชนบทท่ีใชวัตถุดิบ ทางการเกษตร การสรางงานใหมากขึ้นในตางจังหวัดจะเปนการรองรับแรงงานจํานวนมาก และลดความ จาํ เปนทจี่ ะอพยพเขา มาหางานทาํ ในกรงุ เทพมหานคร หรือนอกทอ งถ่ิน ในขณะน้ไี ดม ีการทดลองการใหบ ริการ สนับสนุนอุตสาหกรรมตางจังหวดั โดยวิธีระดมสรรพกําลงั ภาครัฐบาลทม่ี อี ยูในดานทุน เทคโนโลยี การจัดการ และการตลาดในหลายจงั หวดั คอื พิษณโุ ลก สงขลา ขอนแกน และกาญจนบรุ ี 4. การสรางงานโดยการพัฒนาอาชีพนอกการเกษตร การขยายการจางงานในสาขาเกษตร จําเปนที่จะตองขยายงานนอกการเกษตรภายในชนบท เชน โครงการสงเสริมหัตถกรรมและอุตสาหกรรม ในครวั เรือน ซ่งึ เปน สินคาออกทสี่ ําคญั ประเภทหนงึ่ ของประเทศไทย โดยเนนการใชวัตถุดิบในทองถ่ินใหมาก ที่สุด โดยรัฐบาลตองใหความชวยเหลือ จัดใหมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของที่เขาไป ดําเนนิ การสง เสรมิ ในเรอื่ งนี้ ฝก อบรมผทู สี่ นใจใหม คี วามรพู ิจารณาแหลงสินเชอ่ื สําหรบั ผปู ระกอบกจิ กรรมและ การตลาด อยา งไรกด็ กี ารที่จะขยายการผลติ ในกจิ กรรมนอกการเกษตร จําเปน ตองคาํ นึงถงึ การเตรียมคนและ ฝก คนใหมีฝมือสอดคลองกบั ความตองการของงานนอกการเกษตร แมจะมีแนวนโยบายท่ีชัดเจนดังกลาวขางตนแลวก็ตาม แตปญหาเรื่องการวางงานในชนบท จะยงั คงเปนปญหาอยตู อ ไปอีกนาน ดงั น้ัน การปรบั ปรงุ นโยบายการพฒั นาการเกษตร เพื่อใหสามารถรองรับ แรงงานชนบทไดเ พ่มิ ขึ้น รวมทัง้ การเรงรดั ขยายอุตสาหกรรมตางจังหวัดเพื่อจางแรงงานจากภาคชนบทเปน สิ่ง ทจี่ ะตองดาํ เนินการอยา งเอาจริงเอาจงั มากข้ึน

120 5. การเตรียมตัวเขาสูตลาดแรงงาน ถานักศึกษาติดตามขาวทางหนังสือพิมพ จะพบขาว อยูเสมอเกย่ี วกบั การทม่ี ีเด็ก ๆ ไปทาํ งานในโรงงานอุตสาหกรรม ท้ังท่ีอายุยังนอย ยังไมพรอมท่ีจะเขาสูตลาด งาน เด็กเหลานี้จะไดค าจางต่ําและบางคร้ังตองประสบภยั อนั ตรายจากการทํางาน ท้ังน้ีเน่ืองจากเด็กเหลานั้น ยังไมพรอมที่จะเขาสูตลาดแรงงาน การเตรียมตัวเขาสูตลาดแรงงานนั้นจะตองพยายามใหการศึกษา ดานวิชาชีพแกเด็ก ๆ โดยการปลูกฝงใหเด็กมีความรูสึกที่ดีตอการประกอบอาชีพการฝกทักษะอาชีพ ท่เี หมาะสมกับวยั มผี ลงานอาชพี ของผูเรียนทกี่ อ ใหเ กิดรายได ซง่ึ ทาํ ไดโดยการใหการศึกษา ขยายการศึกษาให กวางขวางทั่วถงึ ใหเดก็ ไดเ รยี นอยา งนอย 12 ป การใหก ารศกึ ษาแกเ ดก็ น้ัน ตอ งจัดหลกั สตู รวิชาชพี เขา ไวในหลักสูตรในโรงเรียนดวย ซ่ึงปจจุบัน ก็ไดมีการจัดหลักสูตรวิชาชีพใหเด็กไดเรียนแลว ถาเปนผูที่ไมไดเรียนอยูในโรงเรียนก็ควรตองขยายการ ฝกอบรมวชิ าชีพระยะสนั้ โดยใชว ิชาการทางการศึกษานอกโรงเรียน จัดบรกิ ารฝกอบรมใหท่ัวถงึ ทั้งในเมอื ง และชนบทหางไกล เพ่ือประชาชนเหลา นัน้ จะไดมีความรแู ละทกั ษะพรอ มทจ่ี ะประกอบอาชีพได การพฒั นาผลผลติ และการใชเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม ในการพฒั นาผลผลติ การเกษตรน้นั เทคโนโลยมี คี วามสาํ คญั เทคโนโลยี (Technology) คือ วิทยาการซึ่งไดมาโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร รวมท้ังสิ่งท่ีเปน หลกั การ วธิ ีการ และเครอื่ งมือตาง ๆ เทคโนโลยีท่ีไดนํามาใชเกี่ยวกับการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร ในประเทศไทยเรามีมากมาย เชน การรูจ กั ใชเคร่ืองทุนแรง รูจักการใชปุยชนิดตาง ๆ รูจักการปรับปรุงดิน รูจักการผสมพันธุพืชและพันธุสัตว ทั้งนีเ้ พ่อื ชว ยเพมิ่ ปรมิ าณและคุณภาพของผลผลติ ทางการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง สิ่งท่ีไดจากการทําเกษตรกรรม และรวมถึงผลิตภัณฑที่ทําจาก ผลติ ผลนน้ั ๆ ดวย ชาวนามีอาชพี ในการทํานา โดยการเพาะปลกู ขาวในนา จะเปนโดยการปกดําหรือการหวานก็ได จนขาว ออกรวงและไดเกบ็ เกย่ี วเพ่ือนาํ มานวด เมล็ดขาวที่ไดน ี้เรยี กวาขา วเปลือก ถาเรานําขา วเปลือกไปสใี นโรงสหี รือ เอาไปดํา กจ็ ะไดเ ปนเมล็ดขา วสีขาว เรยี กวา ขา วสาร คนเราจึงไดน าํ เอาขาวสารน้ีไปหุงตมหรือนึ่งเสร็จแลวนี้ จงึ เรยี กวาขาว ดงั น้นั ขา วจึงเปนผลผลติ ทางการเกษตร ชาวไรกม็ อี าชีพในการทําไร เชน การทําไรขา วโพด ไรมันสาํ ปะหลงั ไรพ รกิ ในการทําไรน น้ั ก็ตองเร่ิม ตั้งแตการคัดเลือกพันธุ การเตรียมดินเพ่ือการเพาะปลูก การบาํ รุงรักษาพืชไรจนกวาพืชชนิดนั้น ๆ จะได ดอกไดผ ล เชน ขาวโพดจะตองใหฝ กแลว ชาวไรก็เกบ็ ฝก ขา วโพดมาสีนําไปเปน อาหารของสัตว ดงั นัน้ ขาวโพด ที่ไดออกมาจึงเปน ผลผลติ ทางการเกษตร

121 ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรประมาณรอยละ 75 มีอาชีพทางการเกษตร ดังน้ัน รายไดสว นใหญข องประเทศจึงไดมาจากการนําผลิตผลทางการเกษตรออกไปจาํ หนายในตา งประเทศ เชน ขาว ขาวโพด ยางพารา มันสาํ ปะหลงั เปน ตน จากหลักฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ บอกวา ประเทศไทย มีเน้ือที่ในการเพาะปลูกเพียงรอยละ 20 ของเน้ือท่ีทั้งหมด ท่ีเหลือนอกนั้นก็เปนที่อยูอาศัย แมนํ้าลําคลอง ถนนหนทาง ปาเขา ปาก็จาํ เปน อยา งย่งิ ทต่ี อ งสงวนไวเพอ่ื เปนการรักษาตน นาํ้ ลาํ ธาร ปอ งกนั นา้ํ ทว ม และเปน การสงวนพันธุสัตวปา อกี ดว ย ผลผลิตทางการเกษตร มีประโยชนมากมาย หรือแทบจะกลาวไดวาผลผลิตทาง การเกษตรเปน ปจจัยสาํ คัญในการดาํ รงชีวิตของมนษุ ยเลยทีเดยี ว ซึ่งอาจจะจําแนกไดดังน้ี 1. อาหาร จะเห็นวามนุษยบริโภคอาหารท่ีไดมาจากผลิตผลทางการเกษตร ดังจะเห็นไดจาก มนุษยบริโภคขาว ขาวสาลี ขาวโพด เปนอาหาร ถึงแมวามีบางประเทศท่ีประชากรของเขาบริโภคอาหาร จําพวกขนมหรือขนมปง แตขนมเหลานน้ั ก็ทาํ มาจากขาว หรอื ขาวสาลี ดังทเ่ี ราเคยเหน็ แปงชนิดตา ง ๆ ทท่ี าํ มา จากขาว เชน แปงสาลีก็ทํามาจากขาวสาลี แปงขาวจาวก็ทํามาจากขาวเจา เปนตน แปงเหลานี้ก็นําไปผลิต เปนพวกขนมตาง ๆ ได หรืออาจจะเปนพวกเครื่องด่ืมตาง ๆ เชน กาแฟ น้ําสม ลวนไดมาจากผลิตผลทาง การเกษตรท้ังส้ิน 2. เคร่อื งนุงหม กเ็ ปนปจจัยสําคญั ของมนษุ ย โดยที่มนุษยส ามารถนาํ ผลิตผลทางการเกษตรที่ให เสนใยมาทอเปนผา แลวทําเปนเครื่องนุงหมได พืชท่ีใหเสนใย ไดแก ฝาย ปอ และอ่ืนๆ ผลิตผลทางเกษตร ที่นํามาใชเ ปน เครอื่ งนุง หมนี้ ถือวาเปน เครือ่ งอุปโภค 3. ยารักษาโรค ผลิตผลทางการเกษตรบางชนิดสามารถนาํ มาสกัดทาํ เปนยารกั ษาโรคตาง ๆ ได เชน กระเทยี ม ขิง ขา และอื่น ๆ เมื่อจํานวนประชากรเพิ่มมากข้ึนเรื่อย ๆ ความจําเปนในการผลิตยารักษา โรคยิง่ มมี ากขนึ้ ในสภาพของการดําเนนิ ชวี ิตและมนุษยแลว จะหนไี มพ น การเกิด แก เจ็บ ตาย ไปได

122 4. ทอี่ ยูอาศยั การสรา งสถานท่อี ยูอาศัยมีความจําเปนตอ ชีวิตมนษุ ยม าก ในสมยั โบราณคนเราได อาศยั อยตู ามถาํ้ พอนานเขา ก็มวี วิ ฒั นาการไปเร่อื ย ๆ รูจักการกอ สรา งท่ีอยอู าศัยเอง ซงึ่ อาจจะเริม่ จากการนาํ เอา ใบไมใบหญา มามุงหลังคา หรืออาจจะเปน การนาํ เอาหนงั สัตวมาทาํ เปน ทีอ่ ยอู าศัย ตอ มากร็ ูจกั การนาํ เอาตนไม มาแปรรูป เพ่อื ใชกอ สรา งอาคารบา นเรือน เพอ่ื ใหค งทนและถาวรตอไป เม่ือคนใชต น ไมม ากเขา ตนไมก็นอยลง ทกุ ที จนถงึ ปจ จุบนั นีก้ ไ็ ดม ีการปลกู ปา ขึ้น ซึ่งการปลูกปาหรือปลูกตนไมนี้ลวนแตเปนผลผลิตทางการเกษตร ทั้งสิน้ 5. ผลิตภณั ฑ เปน ผลติ ภัณฑท ่ไี ดจากผลิตผลทางการเกษตรแทบทง้ั สิ้น อันไดแ ก อาหารกระปอ ง ไมอ ัด นมผง และเครื่องหนงั ตาง ๆ เปน ตน การอตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม หมายถงึ การผลติ สิง่ ของปริมาณมากเพ่อื จําหนายเปนสินคา อุตสาหกรรมไดแบงออก ตามลักษณะและขนาดของกจิ การไดเ ปน 3 ประเภท คอื 1. อุตสาหกรรมขนาดใหญ หมายถึง อุตสาหกรรมท่ีตองใชเคร่ืองจักรกล อุปกรณและเงินทุน จาํ นวนมาก เชน โรงงานผลติ ปูนซีเมนต โรงงานผลติ เครอ่ื งดม่ื เปนตน 2. อุตสาหกรรมขนาดยอ ม เปน อตุ สาหกรรมที่มีขนาดเล็ก ใชคนงานต้ังแต 7 คนขึ้นไป แตไมเกิน 50 คน และใชเงนิ ทุนไมเกนิ 2 ลา นบาท อตุ สาหกรรมขนาดยอ มนี้ใชวัตถุท่ีไดจากอุตสาหกรรมขนาดใหญมาผลิต ของสาํ เรจ็ รูปอกี ตอหนึง่ เพือ่ จะไดเปน เคร่อื งอปุ โภคบริโภค เชน การทํานํ้าตาล การฟอกหนัง การทําน้ําแข็ง การทํารองเทา เปนตน 3. อุตสาหกรรมในครอบครัว หมายถึง อตุ สาหกรรมขนาดเล็กท่ีทํากันในครอบครัว ใชแรงงาน ของคนในครอบครัวเปนสวนใหญ ทําผลิตภัณฑท่ีใชความชํานาญทางฝมือแลวนําออกจําหนาย เชน การประดิษฐดอกไม การทําอาหารหมักดอง การทําขนม เปนตน ประเทศท่ีเจริญกาวหนาทางดาน อุตสาหกรรมได จะตอ งเปนประเทศท่มี คี วามเจริญทางดานวิชาการสงู สามารถผลิตสินคาที่มคี ุณภาพดีออกไป จําหนายแขงขันกับประเทศอ่ืน ๆ ได ในกรณีของประเทศไทยยังมีอุตสาหกรรมประเภทนี้อยูไมมากนัก และอุตสาหกรรมท่มี อี ยแู ลวสว นใหญกเ็ ปน อุตสาหกรรมขนาดเลก็ ลงทนุ ไมม าก แนวโนม ในการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ประเทศไทยไดเ ริ่มมีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ เปนคร้งั แรกเม่อื พ.ศ. 2504 ปจ จบุ ันเนน การพัฒนา คน โดยกาํ หนดยุทธศาสตรในการพฒั นาไว ดังน้ี 1. ยุทธศาสตรการเพ่ิมศักยภาพของคนทกุ กลุมเปา หมาย อายแุ ละเพศ ใหคนมีทางเลอื กในชีวติ และ เขา มามีสวนรวมในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยนื โดย 1.1 ปรับปรงุ กระบวนการเรยี นรแู ละฝก อบรมใหค ิดเปนทาํ เปน มีการเรยี นรูจ ากประสบการณและ ของจริง ไดรับการศึกษาอยางตอเน่ืองหลากหลาย สนับสนุนใหเกิดความเชื่อมโยงองคความรูสากลเขากับ ภูมิปญญาไทยท่ีมีวิวัฒนาการจากพ้ืนฐานสังคมการเกษตรภายใตบริบทของวัฒนธรรม คานิยมด้ังเดิมที่ไม

123 แปลกแยกจากธรรมชาติ สรางแนวการดํารงชีวิตที่ประชาชนรูเทาทันการพัฒนาและสามารถรักษาระดับ การพฒั นาท่เี หมาะสมไดดวยตนเองอยางตอ เนอื่ งและยืนนาน 1.2 สนบั สนุนใหเ กดิ การกระจายอาํ นาจการศกึ ษาเพื่อเปด โอกาสใหครอบครัว ชมุ ชน และทองถิ่น เขา มามบี ทบาท สามารถจดั การศกึ ษาไดพรอม ๆ ไปกบั ผอ นคลายกฎระเบยี บขอบังคับตาง ๆ และใหส่ิงจูงใจ เพิ่มเตมิ แกภาคเอกชนใหเ ขามามีบทบาทในการจัดการศกึ ษามากขึ้น 1.3 ใหค วามสําคัญเปนลาํ ดบั สูงในการปฏิรปู การฝกหัดครเู พือ่ ใหค รเู ปน วชิ าชพี ที่มีเกียรติมีศักดศ์ิ รี สามารถดึงดูดคนเกงคนดีเขาเรียนวิชาครู รวมทั้งเรงรัดการพัฒนาครูประจําการและบุคลากรทางดาน การศกึ ษาและปฏริ ปู การเรยี นการสอนในการผลติ ครอู ยา งจริงจงั 1.4 เสริมสรางศักยภาพของส่ือสารมวลชน เพื่อใหสนับสนุนการพัฒนาโดยเปนยุทธศาสตร ทส่ี ามารถดาํ เนนิ การไดทันทอี ยา งตอ เน่ืองไปพรอ ม ๆ กบั การเพิ่มทักษะของการเปนผูรับสารหรือผูบริโภคส่ือ ทีม่ ีคณุ ภาพ โดยเนนบทบาทของสือ่ มวลชนในการสง เสริมกระบวนการเรยี นรูและการสรางปญญาท้ังในระดับ ทองถ่ินและในกระแสโลกาภิวัตน 1.5 สรางบรรยากาศแวดลอมท่เี ออ้ื ตอการพัฒนาเด็กและเยาวชน 1.6 สนับสนุนใหมีการพัฒนาจิตใจคนใหเปนคนดีมีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม ตลอดจน สง เสริมวัฒนธรรมไทย โดยเนน ศกั ดศ์ิ รแี ละศักยภาพของคนไทยในการสรางสรรคผลงานศิลปะ 1.7 ปรบั ปรงุ ระบบบรกิ ารสาธารณสุข ใหสามารถบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพและ บรรลุเปา หมายของการมสี ขุ ภาพดถี ว นหนา โดยเนน การปองกนั โรคและสง เสรมิ สุขภาพ รวมทง้ั ใหม ีการพฒั นา ภมู ปิ ญญาทางดานการรักษาพยาบาลแบบพนื้ บา น เชน แพทยแผนโบราณ สมุนไพร เปน ตน 2. ยทุ ธศาสตรก ารเสรมิ สรา งการมีสวนรวมของคนในกระบวนการพัฒนา โดย 2.1 สงเสริมความเขมแข็งของสถาบันครอบครัว และชุมชนใหมีบทบาทและสวนรวมในการ พฒั นาเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สิ่งแวดลอ ม และการเมืองการปกครอง โดยใหความสาํ คัญในการสรางความ เขมแข็งและมคี วามตอ เนื่อง 2.2 สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของผูดอยโอกาสในสังคมให สามารถมีรายไดและพึง่ ตนเองได เพอ่ื ชวยลดชอ งวา งระหวางรายได 2.3 สง เสรมิ บทบาทของสตรีใหเปน พลงั ในการพฒั นา และเปนผูมีสว นรวมในการตัดสินใจใน ทกุ ระดบั ทั้งน้ี เพอ่ื บูรณาการและสรางความสมดุลของการพัฒนา 2.4 เรงรดั การพฒั นาชนบทและกระจายความเจริญไปสูภ ูมภิ าค โดยเนน ใหม โี ครงสรางขน้ั พน้ื ฐาน ท้ังทางเศรษฐกจิ และสังคมเพือ่ กระตุน ใหเ กิดการพัฒนาชนบททีย่ ัง่ ยืน 2.5 เพิม่ บทบาทของประชาชนในการเรยี นรูการพิทกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ และจัดการสงิ่ แวดลอม ควบคูไ ปกับการเตรยี มคนและชุมชนเพอ่ื รองรบั ผลกระทบของการพัฒนาจากภาคนอกชนบท 2.6 พัฒนาและปรบั ปรุงระบบประกันสังคมใหส ามารถเขา ถึงกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวาง ยิง่ ขึ้น

124 2.7 พฒั นาระบบการเมอื งใหม อี ุดมการณป ระชาธิปไตยอยา งเปนวิถีชีวิต ใหมีคานิยม วัฒนธรรม กติกา และวิธีการบริหารจัดการท่ีดี มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสังคมไทยเพ่ือสนับสนุนการพัฒนา ดา นเศรษฐกจิ และสังคมใหย ่งั ยืน สรุป ในปจ จบุ นั นี้ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ จะมที ง้ั ภาครฐั และเอกชนตางมีสวนเปนเจาของ ทรพั ยากรและปจ จัยการผลิตตาง ๆ โดยเอกชนใชก ําไรเปน สงิ่ จงู ใจเขา มาทาํ การผลิตและอาศัยกลไกราคาในการ จัดทรัพยากร และมีบางกิจกรรมท่ีควบคุมโดยรัฐ ท้ังนี้เพื่อแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและคุมครอง ผลประโยชนข องสังคมโดยรวม นอกจากนี้รฐั จะเขา มามบี ทบาทในกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เทาทจ่ี ําเปน ไดแ ก 1) ดาํ เนนิ การเกย่ี วกับการปองกนั ประเทศ เชน ดานการทหาร ตาํ รวจและศาล เปนตน 2) ดําเนินการดานเศรษฐกจิ พน้ื ฐาน เชน สรา งสะพาน ถนน เขื่อน เปนตน 3) ควบคมุ และดาํ เนนิ การดา นการศึกษาและสาธารณสขุ 4) ดาํ เนนิ กจิ การดานสาธารณปู โภค เชน การรถไฟ การประปา สอื่ สารไปรษณยี  เปน ตน 5) ดาํ เนนิ การเพ่อื พฒั นาเศรษฐกจิ เพ่อื กระจายรายไดและทรพั ยากรจากชุมชนเมืองไปยังชนบท โดยกําหนดเปนนโยบายสําคัญ ๆ เชน การกระตุนเศรษฐกิจ ไดแก กองทุนหมูบาน SME วิสาหกิจชุมชน โครงการพัฒนาการศกึ ษา โครงการพฒั นาแหลง นาํ้ และการสรา งงานในรปู แบบตา ง ๆ โดยรฐั บาลไดก าํ หนดเปน นโยบายไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 8 - 9 เปน ตน หลักการ และวธิ ีการเลอื กใชทรัพยากรเพอื่ การผลิต ในการผลติ เพ่อื สนองตอความตอ งการของมนษุ ย ผผู ลิตตอ งคํานงึ ถงึ สง่ิ ตอ ไปน้ี ปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิต หมายถึง ทรัพยากรที่ใชเพื่อการผลิตเปนสินคาและบริการ ในความหมายทางเศรษฐศาสตรแบง ปจ จยั การผลิตเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1. ท่ีดิน หมายรวมถงึ ที่ดนิ และทรัพยากรธรรมชาตทิ งั้ หมด เชน ปาไม สัตว นํ้า แรธาตุ ปริมาณ น้ําฝน เปน ตน สง่ิ เหลานีจ้ ะมีอยูต ามธรรมชาติ มนุษยสรางขึน้ เองไมไ ด แตสามารถพฒั นาปรบั ปรงุ คุณภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติไดบาง เชน การปรับปรุงท่ีดินใหอุดมสมบูรณข้ึน เปนตน ผลตอบแทนจากการใชท่ีดิน เราเรียกวา คาเชา 2. แรงงาน หมายถงึ แรงกาย แรงใจ ความรู สตปิ ญญา และความคดิ ที่มนษุ ยท มุ เทใหแกก ารผลติ สนิ คาและบริการ แตใ นท่ีน้ีแรงงานสัตวจะไมถือเปนปจจัยการผลิตประเภทแรงงาน แตถือเปนทุน ประเภท มีชวี ิต ผลตอบแทนของแรงงานเรยี กวา คาจา งและเงนิ เดือน โดยทว่ั ไปแลว แรงงานแบง เปน 3 ประเภทคือ - แรงงานฝม อื เชน นกั วชิ าการ แพทย นักวชิ าชพี ตางๆ เปน ตน - แรงงานกงึ่ ฝมือ เชน ชางไม ชางเทคนิค พนักงานเสมียน เปน ตน - แรงงานไรฝ มอื เชน กรรมกรใชแรง นักการภารโรง ยาม เปนตน 3. ทนุ ในความหมายทางเศรษฐศาสตร หมายถึง สิ่งกอสราง และเคร่ืองจักร เครื่องมือท่ีใชใน การผลติ นอกจากน้ที ุนยังแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 3.1 เงินทุน หมายถึง ปริมาณเงินตราท่ีเจาของเงินนําไปซื้อวัตถุดิบ จายคาจาง คาเชา และ ดอกเบ้ยี

125 3.2 สินคา ประเภททนุ หมายถงึ สง่ิ กอ สราง รวมถึงเคร่อื งมอื เครื่องจักร ที่ใชในการผลิต เปนตน ผลตอบแทนจากเงนิ ทนุ คอื ดอกเบีย้ 4. ผูประกอบการ หมายถึง บุคคลที่สามารถนําปจจัยการผลิตตาง ๆ มาดําเนินการผลิตใหมี ประสทิ ธภิ าพทีส่ ดุ โดยอาศยั หลกั การบริหารทดี่ ี การตดั สินใจจากขอ มลู หรอื จากเกณฑมาตรฐานอยางรอบคอบ รวมถงึ ความรับผิดชอบ ผลตอบแทน คอื กําไร เรื่องที่ 3 คณุ ธรรมในการผลิตและการบริโภค การบริโภค หมายถึง การแลกเปล่ียนสินคาและการบริการโดยใชเงินเปนสื่อกลาง เพ่ือตอบสนอง ความตอ งการบรโิ ภคของบคุ คล เชน การใชเ งินซ้อื อาหาร การใชเงินซื้อท่ีอยูอาศัย การใชเงินซ้ือเครื่องนุงหม การใชเ งินซื้อยารักษาโรค การใชเงินซื้อความสะดวกสบายเพอ่ื การพกั ผอนหยอนใจ เปน ตน การผลิต หมายถึง การสรางสินคา และบริการเพอ่ื ตอบสนองการบรโิ ภคของบคุ คล คณุ ธรรม เปนคณุ งามความดที จ่ี ะตอ งเสรมิ สรางใหเกิดท้ังในผผู ลิตและผบู ริโภค ในแงผ ูผลติ ตอ งมคี วามซอื่ สตั ยใ นการไมป ลอมปนสารมพี ิษหรอื สารทมี่ ีประโยชน เขามาในกระบวนการ ผลติ หรอื หากจาํ เปนตอ งใชก ต็ องใชใ นปรมิ าณทป่ี ลอดภัยและไมเอาเปรยี บผบู รโิ ภค รวมทงั้ ควรแจงใหผบู รโิ ภค ทราบ เพ่อื ใหอ ยใู นวจิ ารณญาณของผบู ริโภคที่จะเลอื กใช ขณะเดยี วกันก็ตองไมปลอ ยสารพษิ หรอื ส่ิงท่กี อใหเกิด มลภาวะตอ สิ่งแวดลอ มซงึ่ จะมผี ลกระทบตอคนอื่น คณุ ธรรมของผผู ลติ ทส่ี าํ คัญมดี งั นี้ 1. ความขยัน เปนความพยายาม มุมานะท่จี ะประกอบการในการผลิตและบรกิ ารใหประสบผลสําเร็จ อยา งไมยอทอ ตอ ปญ หาและอปุ สรรค 2. ความซื่อสัตย โดยเฉพาะซื่อสัตยต อ ผูบริโภค เชน ไมค า กาํ ไรเกนิ ควร ไมโฆษณาสินคา เกนิ ความเปน จรงิ ไมป ลอมปนสินคา ไมผลิตสินคาทไ่ี มไ ดคุณภาพ หรือสนิ คาที่ผดิ กฎหมาย ฯลฯ 3. ความรบั ผิดชอบ ในการผลติ สนิ คา และบรกิ ารเพ่อื สนองตอความตองการของผบู รโิ ภค และไมสง ผล กระทบตอ สงั คมและส่งิ แวดลอ ม รับผิดชอบตอความเสียหายอนั เกดิ จากการผลิตและบรกิ าร 4. พัฒนาคณุ ภาพสินคา เนนใหส ินคา และบริการเปนทพี่ ึงพอใจของผบู รโิ ภค 5. ดูแลสงั คม คือ แบงสว นกําไรทไี่ ดรบั คืนสสู งั คม เชน ทาํ กิจกรรมเพ่ือสว นรวม เชน ส่ิงทเี่ ปนสาธารณะ ประโยชน การใหความรูท ถ่ี กู ตอ ง ชวยเหลือผูดอยโอกาสในรูปแบบตาง ๆ ฯลฯ ในแงผูบริโภค ก็ตองใชสติปญญาในการพิจารณาวาควรเชื่อคําโฆษณาของสินคาหรือไม และจะใช อยางไรใหค มุ คาและไมท้งิ ของเหลือใชใหเ ปน มลภาวะตอ สงิ่ แวดลอ ม ใหความรว มมอื ในการกําจดั ขยะอยา งถูกวธิ ี เพอ่ื สุขภาวะของทุกคนในครอบครัวและในชุมชน คุณธรรมของผบู ริโภค ในการเลือกสนิ คา และบริการผูบรโิ ภคควรคํานึงถึงความจําเปนหรือประโยชน ตอ การดาํ รงชวี ติ คุณธรรมท่ีสําคัญ มีดงั น้ี 1. ใชตามความจาํ เปน ในการบริโภคสินคาหรือบริการใหสอคคลองกับวิถีการดําเนินชีวิตไมกักตุน สนิ คา

126 2. พิจารณาประโยชนท่จี ะไดรับจากการซอื้ สนิ คาและบริการ 3. ประหยัด ซึ่งควรพิจารณาถึงคุณภาพ ราคาสินคา การบริการที่มีคุณภาพ ยุติธรรมเหมาะสมกับ คา บรกิ าร 4. มีคานยิ มในการบริโภคสนิ คา ผลติ ภัณฑไทย ในปจจุบันหนวยธุรกิจตาง ๆ มีการโฆษณา ประชาสัมพันธ ขายสินคาและบริการมากข้ึน ซึ่งเม่ือ บางครั้งมีการโฆษณาชวนเช่ือเกนิ จริง ทาํ ใหผ ูบริโภคไมท ราบความจริงเกย่ี วกับคุณภาพของสินคา ดังน้ันในการ ซื้อสนิ คาและบรกิ ารใด ๆ ผบู ริโภคจงึ ควรพจิ ารณาถึงคณุ ภาพ ความจําเปนของสนิ คา และบรกิ ารเพ่อื ประโยชน ของผูบริโภค ปจ จัยท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอการบรโิ ภค 1. ราคาของสนิ คา ผบู ริโภคโดยทวั่ ไปจะซ้ือสนิ คาบรกิ ารทเี่ ปน ไปตามความตอ งการ ความจาํ เปน ตอการ ดาํ รงชวี ิต และมีราคาที่ไมแ พงเกินไปแตม คี ณุ ภาพดี 2. รสนิยมของผบู ริโภค ผบู ริโภคมรี สนยิ มท่ีแตกตา งกัน บางคนมีรสนิยมทช่ี อบสินคาและบริการท่ีมา จากตางประเทศ ผูบริโภคบางคนมีรสนิยมของความเปนไทย ก็มักจะซ้ือสินคาและบริการที่ผลิตข้ึน ภายในประเทศเทานน้ั 3. รายไดข องผบู ริโภค รายไดของผูบรโิ ภค เปนปจ จยั ที่มอี ทิ ธิพลตอการบรโิ ภค ถา ผูบรโิ ภคมรี ายไดน อ ย มักตองการสินคาและบริการที่ราคาถูก เพ่ือใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดไมขัดสน ถาผูบริโภคมีรายไดสูงมัก ตอ งการสนิ คาและบรกิ ารท่ีมคี ุณภาพดี แมจะราคาสงู ก็ตาม 4. ระบบซอื้ ขายเงินผอ น เปน ระบบซ้ือขายทีช่ ว ยใหผูมรี ายไดนอ ยมีโอกาสไดบ ริโภคสินคา ที่มรี าคาแพงได 5. การโฆษณา การโฆษณาเปน การทาํ ตลาด ทาํ ใหผ บู รโิ ภครจู ักสนิ คา และบริการ สินคา และบริการทีม่ ี การทุมทนุ โฆษณามากๆ มีสวนทาํ ใหผ บู ริโภคหนั ไปซือ้ สนิ คาและบริการนัน้ มากขนึ้ 6. การคาดคะเนราคาภายหนา ถาผูบริโภคมีการคาดวาสินคาใดมีผลผลิตนอยและราคาจะแพงข้ึน ผบู รโิ ภคก็จะมกี ารซ้อื สนิ คาน้ันกนั มาก 7. ฤดกู าล เชน ฤดรู อ น ผบู ริโภคจะหาซ้ือเสอ้ื ผา ท่ีสวมใสส บายไมร อ น ฤดูฝน ผบู รโิ ภคจะหาซอื้ เสือ้ ผา และเครือ่ งปอ งกนั ฝนกนั มาก เปน ตน

127 เรอื่ งที่ 4 กฎหมายและขอ มูลการคุมครองผบู ริโภค หนวยงานที่คมุ ครองผูบ รโิ ภค กองคุมครองผูบริโภคดา นโฆษณา 0-2629-7037-9 , 0-2629-7041-3 กองคมุ ครองผูบ ริโภคดา นฉลาก 0-2629-7048-50 , 0-2629-7052-5 กองคมุ ครองผบู รโิ ภคดานสัญญา 0-2629-7061-3 , 0-2629-7065-8 กองเผยแพรและประชาสัมพนั ธ 0-2629-8250-2 , 0-2629-8254-6 กองนติ กิ าร 0-2629-8259-60 , 0-2629-8262-4 สาํ นกั งานเลขานุการกรม 0-2629-8243 , 0-2629-8245-8 การพทิ ักษส ิทธิ์ผบู ริโภค รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2540 เปน รฐั ธรรมนูญฉบับแรกท่ีใหความสําคัญของ การคุม ครองผูบรโิ ภค โดยบญั ญัตถิ ึงสทิ ธขิ องผูบริโภคไวในมาตรา 57 วา “สทิ ธขิ องบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอม ไดรับความคุมครอง ทั้งนต้ี ามทีก่ ฎหมายบัญญัต”ิ พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติคุมครอง ผูบริโภค (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2541 ไดบ ัญญัติสิทธขิ องผูบริโภคทีจ่ ะไดร ับความคุมครองตามกฎหมาย 5 ประการ ดังน้ี 1.สิทธิท่จี ะไดร ับขา วสารรวมท้งั คําพรรณนาคุณภาพทถี่ กู ตอ งและเพียงพอเก่ยี วกบั สินคาหรือ บริการ ไดแ ก สทิ ธทิ ี่จะไดรบั การโฆษณาหรอื การแสดงฉลากตามความเปนจริงและปราศจากพิษภยั แกผูบริโภค รวมตลอดถึงสิทธิท่ีจะไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการอยางถูกตองและเพียงพอท่ีจะไมหลงผิด ในการซ้อื สินคา หรือรับบริการโดยไมเปนธรรม 2.สทิ ธทิ จ่ี ะมอี ิสระในการเลือกหาสินคาหรอื บริการ ไดแ ก สทิ ธทิ ่ีจะเลอื กซอื้ สินคา หรือรบั บริการ โดยความสมัครใจของผบู รโิ ภค และปราศจากการชักจูงใจอนั ไมเ ปนธรรม 3.สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ความปลอดภยั จากการใชสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธิท่ีจะไดรับสินคาหรือบริการ ที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสมแกการใช ไมกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต รางกายหรือ ทรพั ยส นิ ในกรณใี ชตามคําแนะนําหรอื ระมัดระวังตามสภาพของสนิ คา หรอื บรกิ ารน้ันแลว 4.สทิ ธทิ จ่ี ะไดรบั ความเปนธรรมในการทําสัญญา ไดแก สิทธิที่จะไดรับขอสัญญาโดยไมถูกเอารัดเอา เปรยี บจากผปู ระกอบธรุ กจิ 5.สิทธทิ ี่จะไดรบั การพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิที่จะไดรับการคุมครองและชดใช คาเสยี หาย เมอ่ื มกี ารละเมิดสทิ ธขิ องผูบรโิ ภคตามขอ 1, 2, 3 และ 4 ดังกลา ว ขอควรปฏบิ ัตสิ าํ หรบั ผูบ รโิ ภคในการซ้อื สนิ คาหรอื บริการ ขอ ควรปฏบิ ัตหิ ลงั จากซื้อสินคาหรือบริการ ผบู ริโภคมีหนาที่ในการใชความระมัดระวัง ตามสมควร ในการซ้อื สนิ คาหรอื บรกิ าร ไดแก การใหความสําคญั กบั ฉลากของสนิ คา และการโฆษณาสินคา หรือบริการ 1. ผูบริโภคตองตรวจดูฉลากของสินคา เพื่อเปนขอมูลในการเปรียบเทียบสินคาแตละย่ีหอ กอ นตดั สินใจเลือกสนิ คา ฉลากของสินคา ท่ีควบคมุ จะตอ งระบุขอความดังตอไปน้ี

128 ชอื่ ประเภท หรือชนิดของสินคาทีแ่ สดงใหเ ขาใจ ไดวาสนิ คานนั้ คอื อะไร ในกรณีทเ่ี ปน สนิ คา ส่งั หรอื นาํ เขามาในราชอาณาจกั รเพอื่ ขายใหร ะบชุ ื่อประเทศที่ผลติ ดว ย ชื่อหรอื เครอ่ื งหมายการคา ท่ีจดทะเบยี นในประเทศไทย ของผูผ ลติ เพื่อขายในประเทศไทย ชื่อหรือเครื่องหมายการคา ที่จดทะเบยี นในประเทศไทย ของผูส ั่งหรอื นาํ เขา มาในราชอาณาจักร เพ่อื ขาย สถานที่ตงั้ ของผูผ ลิตเพอ่ื ขาย หรือของผูสั่งหรอื ผนู าํ เขา มาในราชอาณาจกั รเพื่อขายแลวแตก รณี ตองแสดงขนาดหรือมิติ หรอื ปริมาณ หรอื ปริมาตร หรือน้ําหนักของสินคาแลวแตกรณี สําหรับ หนวยทใ่ี ชจ ะใชชอื่ เต็มหรือช่อื ยอหรอื สัญลักษณแทนก็ได ตอ งแสดงวิธใี ช เพื่อใหผ ูบริโภคเขาใจวา สนิ คา นน้ั ใชเพอื่ สง่ิ ใด ขอ แนะนาํ ในการใชหรอื หามใช เพื่อความถูกตอ งในการใหป ระโยชนแ กผ ูบรโิ ภค วนั เดือน ป ทีผ่ ลติ หรือวัน เดือน ป ทีห่ มดอายกุ ารใช หรือ วนั เดอื น ป ทค่ี วรใชกอน วัน เดือน ป ที่ระบุนั้น เพอ่ื ใหเ ขา ใจในประโยชนของคณุ ภาพหรือคุณสมบตั ขิ องสนิ คาน้ัน (ถา มี) ราคาโดยระบุหนวยเปน บาท และจะระบเุ ปนเงนิ สกลุ อนื่ กไ็ ด 2. สอบถามขอเทจ็ จริงเกยี่ วกบั คุณภาพของสินคา จากผูขาย หรอื ผูท่ีเคยใชส นิ คา นน้ั แลว 3. ศึกษาเง่ือนไข หรือขอจํากัดของสินคา เชน วัน เดือน ป ท่ีผลิตหรือหมดอายุ วิธีการใชการเก็บ รักษา คําเตือนหรือขอควรระวังของสินคาใหเขาใจอยางถองแท เพื่อผูบริโภคสามารถใชสินคาไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพและประหยดั 4. รอ งขอใหหนวยงานท่ีเก่ียวของตรวจสอบคุณภาพ และปริมาณของสินคาวาเปนจริงตามท่ีระบุไวท่ี ฉลากของสนิ คาหรอื ไม เพื่อใหไดสินคาทีม่ ีคณุ ภาพและเปน ธรรมแกผ บู ริโภค 5. ผบู ริโภคอยาดว นหลงเชื่อคาํ โฆษณาของสนิ คาหรือบรกิ ารตองศึกษาเงื่อนไข รายละเอียดอื่นๆ ของ ตัวสินคา หรือบรกิ ารที่อาจไมไดระบุไวในการโฆษณา เนื่องจากการโฆษณาสินคาหรือบริการของผูประกอบ ธุรกิจสวนใหญจะเสนอแตขอดีและเง่ือนไขท่ีเปนประโยชนตอผูบริโภค สวนขอเสียมักจะไมกลาวถึงในการ

129 โฆษณา จึงจําเปนท่ผี บู ริโภคตอ งศกึ ษาหาความรูเพมิ่ เตมิ จากการสอบถามผูข ายหรือบริษทั ผูผลิตตลอดจนผูมี ความรู ผเู คยมปี ระสบการณในการใชสินคา นัน้ ๆ มาแลว ขอ ความโฆษณาตอไปน้ี ถอื วา เปน ขอ ความทไ่ี มเ ปนธรรมตอผบู รโิ ภค หรือเปน ขอ ความทอี่ าจกอใหเ กดิ ผลเสียหายตอ สังคมเปนสวนรวม ขอความท่ีเปนเท็จหรอื เกนิ ความจริง ขอ ความทก่ี อ ใหเ กดิ ความเขา ใจผดิ ในสาระสาํ คัญเกีย่ วกบั สินคาหรือบริการ ไมวาจะเปน การกระทํา โดยใชห รืออา งอิงรายงานทางวชิ าการ สถติ ิหรอื สงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ อนั เปน ความจรงิ หรือเกินความจรงิ หรอื ไมก ต็ าม ขอความทีเ่ ปน การสนับสนุนโดยตรงหรอื โดยออ มใหมกี ารกระทําผิดกฎหมายหรอื ศีลธรรม หรอื นําไปสู ความเส่อื มเสียในวฒั นธรรมของชาติ ขอความท่ีจะทําใหเ กดิ ความแตกแยกหรอื เส่ือมเสียความสามคั คใี นหมปู ระชาชน ขอ ความอยางอ่ืนตามทก่ี าํ หนดในกระทรวงท่ีผปู ระกอบธรุ กจิ ตอ งระบุขอ ความใหครบถวน หากฝา ฝนมี โทษตามกฎหมาย ขอ ควรปฏบิ ตั หิ ลงั จากซอ้ื สนิ คา หรือบริการ ผูบริโภคมีหนาท่ีในการเก็บรักษาพยานหลักฐานตางๆ ที่แสดงถึง การละเมิดสิทธิของผูบริโภคไว เพื่อการเรียกรองตามสิทธิของตน พยานหลักฐานดังกลาว อาจเปนสินคาท่ีแสดงใหเห็นวามีปริมาณ หรือ คณุ ภาพไมเ ปนไปตามมาตรฐานทร่ี ะบไุ วในฉลาก มคี วามสกปรก หรอื มพี ิษทกี่ อ ใหเกดิ อันตราย ควรจําสถานท่ี ซอื้ สนิ คา หรอื บริการนัน้ ไว เพื่อประกอบการรองเรียนและตองเก็บเอกสารโฆษณาและใบเสรจ็ รับเงินเอาไวดวย เม่อื มกี ารละเมิดสิทธิของผูบริโภคข้ึน ผูบริโภคมีหนาที่ในการดําเนินการรองเรียน ตามสิทธิของตน โดยรองเรียนไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการกํากับดูแลสินคาหรือบริการนั้นหรือรองเรียนมาท่ีสํานักงาน คณะกรรมการคมุ ครองผูบรโิ ภค ตา งจังหวดั รองเรยี นทค่ี ณะอนกุ รรมการการคมุ ครองผบู ริโภคประจําจงั หวดั การเตรยี มตวั เพื่อรอ งทุกขส ําหรบั ผบู รโิ ภค พระราชบญั ญัติคมุ ครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึง่ แกไ ขเพ่ิมเติม โดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 มาตรา 4 ไดบ ัญญตั สิ ทิ ธขิ องผูบริโภคทจ่ี ะไดรับการคุมครอง 5 ประการ ไดแก สิทธิทจ่ี ะไดร บั ขาวสารรวมท้ังคําพรรณนาคุณภาพที่ถกู ตองและเพยี งพอเก่ียวกบั สินคาหรอื บริการ สทิ ธทิ ่จี ะมีอิสระในการเลอื กหาสนิ คา หรอื บริการ สทิ ธิที่จะไดร ับความปลอดภยั จากการใชสินคาหรอื บรกิ าร สิทธิทีจ่ ะไดรบั ความเปนธรรมในการทาํ สญั ญา สิทธทิ ี่จะไดรับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย ดงั น้ัน การรองทุกขเม่อื ไมไดรบั ความเปน ธรรมจากการซอ้ื สนิ คา หรอื บริการ ถอื เปนเรื่อง ที่ชอบธรรม ท่ีผูบริโภคควรกระทํา เพื่อใหผูประกอบธุรกิจชดใชความเสียหายและเพื่อเปนการลงโทษหรือปรามมิให ผปู ระกอบธรุ กจิ เอารัดเอาเปรยี บผูบริโภค การเตรียมตัวของผูบริโภค เพ่ือจะมารองทุกขเปนข้ันตอนท่ีมีความสําคัญ หากเอกสาร หลักฐาน ทีผ่ บู รโิ ภคนํามาไมครบถว น จะทาํ ใหผูบรโิ ภคเสียเวลาในการยนื่ เร่ือง

130 การเตรยี มเอกสาร หลักฐานของผูรองเรยี น ผรู องเรยี นจะตอ งเตรยี มเอกสาร หลักฐานใหพ รอม เพือ่ จะนาํ มาใชประกอบกับการบันทึกคาํ รอ งเรยี น ใหผูบริโภคย่ืนเร่ืองรองเรียนที่สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (กรุงเทพมหานคร) หรือ คณะอนกุ รรมการการคุมครองผูบ รโิ ภคประจาํ จังหวดั ในจังหวัดที่ทานอาศยั อยู โดยมขี ้นั ตอน ดังน้ี 1. ผูรองเรียนกรอกรายละเอียดในแบบบันทึกคํารองเรียนพรอมแนบเอกสาร (เอกสารลงช่ือ รบั รองสาํ เนาทกุ ฉบบั ) มอบใหเ จาหนา ที่ 2. ผูรอ งเรยี นกรอกรายละเอยี ดในแบบหนังสอื มอบอํานาจ (มอบอาํ นาจให สคบ.ดาํ เนินการแทน ผูร อ ง) 3. กรณีผูบริโภคไมสามารถรองเรียนดวยตนเองได ผูมารองเรียนแทนจะตองมีหนังสือรับรอง มอบอํานาจจากผูบริโภค (พรอมติดอากรแสตมป จํานวน 30 บาท) นํามาย่ืนตอเจาหนาที่ดวย หากมีขอสงสัย ประการใดโปรดสอบถามเจาหนา ทเี่ พ่ิมเตมิ หรือโทรศพั ทต ดิ ตอหนวยงานท่ีใหการคมุ ครองผูบรโิ ภค เรื่องท่ี 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ ในเอเชยี ความสาํ คญั ของกลุมทางเศรษฐกิจในเอเชีย การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคตา ง ๆ หลักการการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธของการคาระหวางประเทศมีวิวัฒนาการ เปล่ียนแปลงไปจากการคาในอดีต ท้ังในรูปแบบทางการคา ขอบขายกิจกรรมทางการคา ประเทศคูคาและ เทคโนโลยีสารสนเทศทอ่ี ํานวยความสะดวกทางการคา การเจรจาทางการคา เปนเรื่องสําคัญ และเปาหมายหลัก ของผเู จรจาทางการคาทม่ี าจากภาครัฐ คือ เพือ่ สิทธปิ ระโยชนท างการคาของชาตติ นเอง เน่ืองจากการแขงขัน ทางการคา ประเทศตา ง ๆ จึงมนี โยบายและมาตรการทีใ่ ชบ ดิ เบอื นทางการคา ซ่ึงทาํ ใหก ารคา ระหวา งประเทศ ขาดความเปนธรรมและขาดความเปนเสรี การเจรจาทางการคานั้น มุงหวังวาจะเปนการแลกเปล่ียนหรือ ลดหยอนสทิ ธพิ ิเศษทางการคา จัดทําขอตกลงทางการคา ความรวมมือและพัฒนารปู แบบการคา และเพอื่ แกไ ข ขอ พพิ าททางการคาระหวา งประเทศ รปู แบบการเจรจาตอ รองทางการคานนั้ สามารถแบงไดต ามระดบั ของการ เจรจา คอื ทวภิ าคี (Bilateral) ซ่งึ เปน ความสมั พันธร ะหวา งประเทศตอประเทศการเจรจามากฝา ย (Plurilateral) อาทิเชน การเจรจา 3 ฝา ย หรือการเจรจา 4 ฝา ย การเจรจาหลายฝา ยหรือพหุภาคี (Multilateral) ซึ่งเปน การ เจรจาท่ีมปี ระเทศเขา รว มและใชเ วลายาวนานกวาจะไดข อสรุป การเจรจาตอ รองทางการคาเหลา นน้ี ําไปสรู ะดับ ความสมั พันธท างการคา ระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ ปจจุบันระดับความสัมพันธในระดับกลุมประเทศ ในภูมภิ าคใกลเ คยี งกนั และมขี อตกลง ตอ กัน (Regional Trade Arrangements) เปนกลุมเศรษฐกิจและเปน เรือ่ งสาํ คัญตอการพัฒนาท่นี ําไปสกู ารคา เสรขี องโลก รปู แบบของการรวมกลุมทางเศรษฐกจิ การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ มีไดห ลายรูปแบบและมีววิ ฒั นาการแตกตางกันโดยแตละรปู แบบจะมี ความเขมขนของความสมั พนั ธซ ึง่ กันและกันแตกตางกันไป เชน

131 1. ขอตกลงการใหสิทธิพิเศษทางศุลกากร (Preferential Tariff Agreement) เปนขอตกลง เพือ่ ลดภาษีใหแ กกันและกนั โดยอัตราภาษีที่เรยี กเกบ็ จะนอยกวา อตั ราภาษที เี่ รยี กเกบ็ จากประเทศท่ีสาม เชน การรวมตัวกันของกลมุ LAIA (Latin American Integration Association) , ASEAN และ Trade Expansion and Cooperation Agreement เปน ตน 2. สหภาพศุลกากรบางสวน (Partial Customs Union) การรวมตัวทางเศรษฐกิจในรูปแบบนี้ ประเทศทที่ ําขอ ตกลงกันยงั คงอัตราภาษีไวในระดบั เดิม แตมกี ารกาํ หนดอัตราภาษีศุลกากรในการคากับประเทศ ภายนอกกลมุ รว มกนั 3. เขตการคาเสรี (Free Trade Areas) ในเขตการคาเสรี การซ้ือขายสินคาและบริการระหวาง ประเทศภาคี สามารถทาํ ไดอ ยางเสรปี ราศจากขอ กดี กนั ทางการคา ท้งั มาตรการทางภาษแี ละมาตรการกีดกัน ทางการคาที่มิใชภาษี ในขณะเดียวกันแตละประเทศสมาชิกยังคงสามารถดําเนินนโยบายกีดกันทางการคา กับประเทศนอกกลุมไดอ ยา งอสิ ระ เชน การรวมตัวกันของกลุม EFTA , NAFTA และ CER เปน ตน 4. สหภาพศลุ กากร (Customs Union) เปน รูปแบบของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ทีม่ รี ะดบั ความ เขมขนสูงข้นึ มาอีกระดบั หนึ่ง โดยการรวมกลุม ในลกั ษณะน้ี นอกจากจะขจัดขอกีดกันทางการคาออกไปแลว ยังมีการกาํ หนดพกิ ดั อตั ราภาษศี ลุ กากรในการคา กบั ประเทศภายนอกกลมุ รวมกนั และใหม อี ัตราเดียวกนั ดวย 5. ตลาดรวม (Common Market) รูปแบบของการรวมกลุมประเภทน้ี นอกจากจะมีลักษณะ เหมือนกับสหภาพศุลกากรแลว การเคลอ่ื นยา ยปจ จัยการผลิต (แรงงาน ทนุ และเทคโนโลย)ี สามารถทําไดอ ยา ง เสรี เชน การรวมตวั กนั ของกลมุ EU กอ นป 1992 6. สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากจะมกี ารคา เสรี การเคลือ่ นยายปจ จัยการ ผลติ อยางเสรี และนโยบายการคา รว มแลว ยงั มีการประสานความรวมมือกันในการดําเนนิ นโยบายทางเศรษฐกิจ ท้งั นโยบายการเงนิ และการคลังอีกดว ย เชน การรวมตวั ของกลุม EU ในปจจบุ ัน 7. สหภาพทางเศรษฐกจิ แบบสมบรู ณ (Total Economic Union) เปนการรวมตวั ทางเศรษฐกิจ ทม่ี คี วามเขม ขน มากที่สดุ จะมีการจัดตง้ั รฐั บาลเหนือชาติ และมนี โยบายทางเศรษฐกิจเดียวกัน การมขี อ ตกลงทางการคาเสรแี ละบทบาทของ WTO แกตตหรือองคการการคาโลก (WTO) ในปจจุบันมีวัตถุประสงคที่สําคัญประการหนึ่งคือ ตองการให การคา โลกดาํ เนินไปอยางเสรี บนพนื้ ฐานของความเทาเทียมกัน คือ ไมมกี ารเลอื กปฏิบัติระหวางประเทศภาคี สมาชกิ การจัดตง้ั กลุม เศรษฐกิจในระดบั ภมู ิภาคไมวา จะอยใู นรปู ทวิภาคหี รอื พหุภาคีความเปนเสรีทางการคา มากข้นึ ระหวางประเทศในกลุม แตไ มอาจหลีกเลยี่ งการกดี กันทางการคา ตอ ประเทศนอกกลุมไปได เมื่อพิจารณา จากบทบญั ญัตขิ อง WTO จะเห็นไดว า การรวมกลมุ หรือการทาํ ความตกลงทางการคาระดบั ภูมภิ าคเชนนเี้ ปน สงิ่ ที่ดําเนินการได ถือวาเปน “ขอยกเวน” อยางหน่ึงของ WTO ท่ีประเทศภาคีสมาชิกสามารถเลือกปฏิบัติได ระหวางประเทศในกลุมกับประเทศนอกกลุม แตจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเงื่อนไขที่กําหนดไวใน บทบัญญตั ิมฉิ ะน้นั อาจจะขัดกับพนั ธกรณภี ายใต WTO ได

132 การจัดตั้งกลุมเศรษฐกจิ ตามมาตรา 24 นั้น มีอยู 3 รูปแบบ คือ 1. สหภาพศุลกากร 2. เขตการคาเสรี 3. ขอตกลงชว่ั คราวกอนทีจ่ ะจดั ต้งั สหภาพศลุ กากรหรอื เขตการคาเสรี เหตุผลของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ประเทศเลก็ ทกี่ าํ ลงั พัฒนากอตัวเปนกลุมเศรษฐกิจมากขึ้น เพราะนานาประเทศตระหนักวาการที่มี ตลาดใหญ การรวมใชทรัพยากร การแบง งานกนั ทาํ อยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะประเทศท่ีอยูในอาณาบรเิ วณ ใกลเ คียงกันจะนาํ ไปสูพ ฒั นาการทางเศรษฐกจิ ทแ่ี ขง็ แกรง และสามารถแขง ขันกับตลาดใหญ ๆ ได ประเทศไทยไดรว มมือทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศอ่นื ๆ อยา งกวางขวาง และไดเขารวมเปน สมาชิกของ องคก รระหวา งประเทศหลายองคก ร ดงั นี้ 1. กลุมอาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาติเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ประกอบดว ย 6 ประเทศ ไดแ ก อนิ โดนีเซยี มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน และไทย สํานกั งานใหญตัง้ อยทู ีเ่ มืองจาการตา ประเทศอนิ โดนีเซีย องคก รนม้ี วี ัตถุประสงค เพื่อสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนการเมืองระหวา งประเทศสมาชกิ จากการกอต้ังกลุมอาเซียน มาต้ังแต พ.ศ. 2510 มาจนถึงปจจุบัน ประเทศสมาชิกอาเซียน มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว โครงสรางทางเศรษฐกิจก็เปล่ียนแปลงจากภาคเกษตรไปสู ภาคอตุ สาหกรรมมากขนึ้ สง ผลใหป ระเทศสมาชิกประสบปญหาท้ังทางดานการขาดดุลการคา การเพิ่มอัตรา คา จา งแรงงาน และการขาดแคลนการบริการพน้ื ฐาน 2. กลมุ เอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) กอตงั้ ขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2532 มีสมาชิก 12 ประเทศ ไดแ ก สหรัฐอเมรกิ า เกาหลใี ต สงิ คโปร ฟลิปปนส นิวซีแลนด มาเลเซีย ญ่ีปุน อินโดนีเซีย แคนาดา บรไู น ออสเตรเลยี และไทย องคกรน้มี วี ัตถปุ ระสงคเพ่อื สง เสริมความรวมมือในการแกปญหารวมกนั สงเสรมิ การคา เสรี ตลอดจน การปรบั ปรงุ แบบแผนการติดตอ การคา ระหวางกนั และเพอื่ ตั้งรับการรวมตวั เปน ตลาดเดยี วกนั ระหวางประเทศ สมาชิก 3. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสําหรับเอเชียและแปซิฟก (Economic and Social Commission for Asia and pacific : ESCAP) องคกรนี้เปนองคกรที่จัดต้ังขึ้นโดยองคการสหประชาชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือ ในการพัฒนาดา นเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศสมาชิกท่ีอยูในเอเชียและแปซิฟก รวมท้ังประเทศไทยดวย ESCAP เปนองคกรท่ีขยายมาจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแหงเอเชียและตะวันออกไกล (Economic commission for Asia and the Far East : ECAFE) ซง่ึ จัดตง้ั ข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2490 และใน พ.ศ. 2517 ไดข ยาย มาเปน ESCAP ทัง้ น้ีเพื่อใหค รอบคลุมประเทศในพน้ื ทีเ่ อเชียและแปซฟิ ก ทงั้ หมด ประเทศท่เี ปนสมาชิกจะไดรับ ความชว ยเหลอื ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม สํานักงานตง้ั อยทู ่กี รุงเทพมหานคร ประเทศไทย

133 4. ขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement of Tariffs and Trade : GATT) กอตั้งเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2490 มีประเทศสมาชิกเกือบท่ัวโลก ประเทศไทยเขาเปนสมาชิก เมอื่ วันที่ 20 พฤศจกิ ายน 2525 องคกรนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ พ่อื สงเสรมิ ระบบการคาเสรีและสงเสริมสัมพันธภาพ ทางการคา และเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ โดยทุกประเทศสมาชิกตองปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของ GATT ประเทศ ไทยไดรบั การสงเสริมดานการขยายตวั ทางการคา ทําใหค วามเสยี เปรยี บดา นการเจรจาการคาระหวา งประเทศ กับมหาอํานาจทางเศรษฐกจิ ลดลงไปมาก ลักษณะ ประเภทสินคาของประเทศในเอเชีย ประเทศตาง ๆ ในเอเชียมีการผลิตสินคาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เนื่องจากลักษณะ ภมู ปิ ระเทศท่เี ปน ท่ีตัง้ ของประเทศ ท่สี ามารถผลิตสินคา ไดดี โดยเฉพาะผลผลิตที่เปนอาหารของโลกท่ีไดจาก การเกษตร เชน ขาว ยางพารา มันสําปะหลัง แตก็มีหลายประเทศ เชน จีน ญี่ปุน อินเดีย ที่พลิกผันไปผลิต สนิ คา ทเี่ ปน เทคโนโลยสี มัยใหม เชน ยานยนต อุปกรณไ ฟฟา คอมพิวเตอร และอน่ื ๆ ประเทศไทย มีการผลิตสนิ คาท่สี งออกขายทวั่ โลก สนิ คาเกษตรสง ออกสําคญั ท่นี าํ รายไดเขาประเทศ สงู สดุ 10 อนั ดับแรก ไดแก ยางพาราและผลติ ภัณฑ ขา วและผลติ ภัณฑ ปลาและผลิตภัณฑ กุงและผลิตภัณฑ ไมและผลิตภัณฑ มันสําปะหลังและผลิตภัณฑ น้ําตาลและผลิตภัณฑ ผลไมและผลิตภัณฑกระดาษและ ผลติ ภัณฑเนื้อไก นอกจากนัน้ ยงั มีสนิ คา ที่ประเทศไทยทาํ การคาระหวางประเทศ เชน สง่ิ ทอและวัสดุสง่ิ ทอ การออกแบบ ผลิตภณั ฑ อญั มณี และอุตสาหกรรมการทอ งเทยี่ ว อนิ โดนเี ซยี มีทรพั ยากรปาไม พ้ืนที่สวนใหญเปนปาดงดิบ เปนประเทศท่ีมีปาไมมากที่สุดในเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต ผลติ ผลจากปา ไมสวนใหญเปนไมเน้ือแข็ง แรธาตุ แรธ าตุทีส่ ําคญั ไดแก น้ํามันปโ ตรเลียม ทํารายไดใหกับประเทศมากท่ีสุด อินโดนีเซียเปนสมาชิกขององคการประเทศ ผูสงนํ้ามันเปนสินคาออก เกษตรกรรม มกี ารปลูกพชื แบบข้ันบันได พชื เศรษฐกจิ ไดแก ขา ว ยาสบู ขา วโพด เคร่ืองเทศ ประมง ลักษณะ ภมู ปิ ระเทศเปนหมเู กาะทําใหอ นิ โดนีเซยี สามารถจบั สตั วนํ้าไดมาก อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรมท่ีสําคัญ ไดแก การกลั่นนา้ํ มนั การตอเรือ ญ่ปี นุ การสงออกของญปี่ ุนสินคา สงออกของญีป่ นุ ท่สี ําคัญเปน ประเภทยานพาหนะและอุปกรณข นสง เคร่อื งจกั ร และสินคา อเิ ลก็ ทรอนิกส เรือ ผลติ ภัณฑเ ภสัชกรรม เครอื่ งสําอาง รถไฟ/รถรางและอุปกรณ รวมถึง ผลิตภณั ฑจ ากกระดาษ เชน การบรรจภุ ัณฑ สิงคโปร ไมม ีทรัพยากรธรรมชาติของตนเอง ไมมแี รธ าตใุ ดๆ แมกระทั่งนํ้าจดื ยงั ไมมีเพียงพอ ตองพึ่ง แหลง นาํ้ จดื จากมาเลเซีย อตุ สาหกรรมสําคัญๆ โดยนําเขาวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบาน เชน อุตสาหกรรม กลั่นนํ้ามัน โดยซ้ือนํ้ามันดิบจากอินโดนีเซียและบรูไน นอกจากนี้ยังมีอุตสาหกรรมถลุงแรเหล็กและดีบุก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟา อุตสาหกรรมผลติ รถยนตแ ละชนิ้ สว นอะไหล ฯลฯ

134 สาธารณรัฐประชาชนลาว สินคาสงออกของลาว ไดแก ไมและไมแปรรูป สินคาประมงและสัตว แรธาตุ สินคาการเกษตร เชน ชา กาแฟ เครื่องเทศ ฯลฯ เครื่องนุงหม พาหนะและอะไหล หนังสัตวและ ผลติ ภัณฑห นังฟอก เครอื่ งจกั รกลท่ไี มใ ชไ ฟฟา และสวนประกอบ เครื่องพลาสตกิ ผลิตภัณฑและเครอื่ งอุปโภค เวียดนาม สินคาสงออกที่สําคัญของเวียดนาม ไดแก ขาว นํ้ามันดิบ ส่ิงทอและเสื้อผาสําเร็จรูป รองเทา ผลติ ภัณฑส ตั วน าํ้ ทะเล ไมและเฟอรนเิ จอร กาแฟ สาธารณรัฐแหง สหภาพพมา (เมียนมาร) รัฐบาลพมาประกาศนโยบายตั้งแตเขายึดอํานาจการ ปกครองใหม ๆ ท่ีจะเปลยี่ นแปลงเศรษฐกิจพมา จากระบบวางแผนสว นกลาง (Centrally-planned economy) เปนระบบตลาดเปด ประเทศ รองรับและสง เสรมิ การลงทนุ จากภายนอก สง เสริมการสง ออก การทอ งเท่ยี ว และ ขยายความรวมมอื ทางเศรษฐกิจกบั ภมู ภิ าค แตใ นทางปฏิบัติการปรับโครงสรางเศรษฐกิจของพมาไมคืบหนา รัฐบาลพมา ไมไ ดดาํ เนนิ การในทิศทางดังกลาวอยางเต็มที่ รัฐบาลยังคงคุมและแทรกแซงภาคการผลิตตาง ๆ อยา งเขมงวด มีการเปลย่ี นแปลงกฎระเบียบดา นการคา การลงทุน ดานเกษตรกรรม รฐั บาลพมาใหค วามสําคัญตอการผลิตและสงออกผลผลิตถั่ว ขาว ยางพารา ไดปรับ ระบบการสง ออกถ่ัวขนึ้ ใหม เพือ่ ใหเ กดิ ความคลอ งตวั และจงู ใจใหเกษตรกร ขยายการเพาะปลูก และรฐั บาลพมา พยายามสงเสริมโครงการปลูกขา วเพือ่ การสงออก ปจ จุบนั แมว า รฐั บาลพมา ยังไมไดดําเนินการใด ๆ ที่สําคัญ เพื่อปฏิรูประบบเศรษฐกิจมหภาค แตพยายามเรงการพัฒนาภาคการเกษตร การสงเสริมการลงทุนจาก ตางประเทศ การสงเสรมิ การทองเทีย่ ว การนาํ ทรัพยากรมาใชโดยเฉพาะกาซธรรมชาติและพลงั นํ้า

135 ประเทศจนี มปี ระชากรมาก และอาณาเขตกวา งขวางเปน ที่สองของโลก ผลผลิตตา ง ๆ สวนใหญ เพื่อเลี้ยงชีพคนในประเทศ แตอยางไรก็ตามรัฐบาลไดกําหนดนโยบายเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจใหสามารถ สงออกไปยงั นานาประเทศได โดยเนนศกั ยภาพของพลเมอื งเปนสําคัญ เชน ทางตะวันตกเฉียงเหนือ มีแรเหล็กมาก ก็จะเนนการเจรญิ เติบโตดานการผลิตเหลก็ กลา และผลติ ภณั ฑท่ีทาํ จากเหลก็ เมอื งที่เปนกลางการคาก็เนนการ บริการสงออก การผลิตสนิ คายานยนต เครือ่ งใชไฟฟาและอเี ล็กทรอนกิ ส เชน เซี่ยงไฮ เมืองที่มี ทรัพยากรธรรมชาติสวยงาม ก็เนนธุรกิจการทองเท่ียว และที่สําคัญผลผลิตทางการเกษตรที่เปนของจีน สามารถสงออกจาํ หนา ยเปนคูแ ขง ท่ีสาํ คญั ของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย เชน ผัก ผลไม และอาหารทะเล เปนตน เรือ่ งที่ 6 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น 1. ความเปน มา อาเซียนหรอื สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ( Association of South East Asian. Nation : ASEAN) เปนองคกรระหวางประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตกอตั้งขึ้น เมื่อวันท่ี 8 สงิ หาคม 2510 จนถงึ ปจจุบนั มสี มาชิกรวมทัง้ สิน้ 10 ประเทศ ไดแก ประเทศไทย, มาเลเชีย , สาธารณรัฐ ฟลิปปนส , อินโดนีเชีย , สาธารณรัฐสิงคโปร , บรูไนดารุสซาลาม , สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม , สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว , สหภาพพมา และราชอาณาจักรกัมพูชา การกอตั้งมีวัตถุประสงค

136 เพ่ือสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สงเสริมความรวมมือซ่ึงกันและกันอันจะนํามาสู ความมัน่ คงทางการเมืองความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม ในยคุ ท่สี ถานการณโลกมกี ารเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเรว็ การรวมตัวกันของประเทศในกลุมอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ ใหเขมแข็ง จะทําใหประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สามารถเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลงและปญหาไดด ยี งิ่ ขนึ้ อกี ทัง้ ยังเปนการเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขงขัน เพราะการที่มสี มาชกิ ถงึ 10 ประเทศ มที า ทเี ปน หน่งึ เดยี วในเวทรี ะหวา งประเทศ ทาํ ใหอ าเซยี นมีความนา เชื่อถอื และมอี ํานาจตอ รอง ในเวทรี ะหวา งประเทศมากขน้ึ ดังนั้นในการประชุมผูนําอาเซียน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่บาหลี ผูนํามี ความเหน็ ตรงกันวาอาเซยี นควรรวมมือกนั ใหเ หนยี วแนน เขมแข็งและมน่ั คงย่ิงข้นึ จงึ มีการลงนามในปฏิญญาวา ดว ยความรว มมืออาเซียนเพื่อกําหนดใหม กี ารสรางประชาคมอาเซียนขึ้นภายในป 2563 ตอมาไดมีการเลื่อน กาํ หนดการรวมตัวในป พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียนประกอบดวย 3 เสาหลกั ไดแก ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซยี นประชาคมสงั คม – วัฒนธรรมอาเซยี น และประชาคมความมัน่ คงอาเซยี น ซึ่งในท่ีน้เี ราจะเรียนรูเฉพาะ เรือ่ งประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Comunity : AEC) เปนการรวมกลุมของประเทศสมาชิก ของอาเซยี นทง้ั 10 ประเทศ ทีเ่ นนใหความสําคัญในเร่อื งการสรา งความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจอยางตอเน่ือง โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งท่ี 8 เม่ือ เดือนพฤศจิกายน 2545 โดยเห็นชอบให อาเซยี นกําหนดทิศทางการดําเนนิ งานเพอื่ มุง ไปสกู ารเปนประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน เพอื่ ใหอ าเซียนปรับปรุง กระบวนการดําเนนิ งานภายในของกลมุ อาเซียนใหม ปี ระสิทธภิ าพยิ่งขนึ้ ซึง่ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนในป 2546 ผูนาํ อาเซียนไดออกแถลงการณเห็นชอบใหม กี ารรวมตวั ไปสูการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใน ป 2558 และเรง รัดการรวมกลุม เพ่ือเปด เสรีสินคา และบริการสาํ คัญใน 12 สาขา ไดแก การทอ งเท่ียว การบิน ยานยนต ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ สขุ ภาพ และ โลจสิ ติกส 2. ความสาํ คญั ทามกลางบริบททางเศรษฐกิจ การคาและการลงทุนระหวางประเทศที่มีการแขงขันสูงอันสงผล ใหประเทศตา ง ๆ ตอ งปรบั ตัวเองเพอื่ ใหไ ดรับประโยชนจากระบบเศรษฐกิจโลก รวมถึงการรวมกลมุ การคากัน ของประเทศตา ง ๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการคา เสรีอเมริกาเหนือผูนาํ ประเทศสมาชกิ อาเซียนไดเหน็ ชอบ ใหจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน” ภายในป 2585 เพ่ือท่ีจะใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มคี วามม่ันคง มัง่ คงั่ และสามารถแขงขนั กบั ภมู ิภาคอนื่ ๆ ได โดยยึดหลัก ดังนี้ 1. มุงท่จี ะจดั ต้ังใหอ าเซียนเปนตลาดเดยี วและเปน ฐานการผลิตรว มกัน 2. มุงใหเกิดการเคลอื่ นยายเงนิ ทนุ สนิ คา การบรกิ าร การลงทนุ แรงงานฝมอื ระหวา งประเทศ สมาชิกโดยเสรี 3. ใหความชวยเหลอื แกประเทศสมาชกิ ใหมข องอาเซียน (ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สหภาพพมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดชองวาง

137 ของระดบั การพฒั นาของประเทศสมาชิกอาเซียน และชวยใหประเทศสมาชิกเหลาน้ีเขารวมในกระบวนการ รวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน สงเสริมใหอาเซียนสามารถรวมตัวเขากับประชาคมโลกไดอยางไมอยูใน ภาวะทเ่ี สียเปรยี บและสง เสรมิ ขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของอาเซียน 4. สงเสริมความรวมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาโครงสราง พ้ืนฐานและการคมนาคมความรวมมือดานกฎหมาย การพัฒนาความรวมมือดานการเกษตร พลังงาน การทองเทย่ี ว การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย โดยการยกระดับการศึกษาและการพฒั นาฝมือ ประชาคมเศรษฐกจิ ของอาเซียน จะเปนเครอ่ื งมือสาํ คญั ท่จี ะชว ยขยายปริมาณการคาและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพึ่งพา ตลาดของประเทศในโลกท่ีสาม สรางอํานาจการตอรองและศักยภาพในการแขงขันของอาเซียนในเวที เศรษฐกจิ โลก เพมิ่ สวสั ดกิ ารและยกระดบั ความเปน อยขู องประชาชนของประเทศสมาชกิ อาเซียน หากอาเซียนสามารถสรา งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดสําเรจ็ ประเทศไทยจะไดประโยชนจากการ ขยายการสง ออก โอกาสทางการคา และเปด โอกาสการคา บรกิ ารในสาขา ท่ีประเทศไทยมีความเขมแข็ง เชน การทอ งเทีย่ ว โรงแรมและภัตตาคาร สุขภาพ ฯลฯ ซ่งึ อาเซยี นยังมคี วามตอ งการดานการบรกิ ารเหลา นี้อีกมาก นอกจากนี้ยังชวยเสริมสรางโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศมายังอาเซียน ซ่ึงจะเพิ่ม อํานาจการตอรองของอาเซยี นในเวทกี ารคาโลก และยกระดับความเปนอยขู องประชาชนในอาเซยี นโดยรวมให ดยี ่งิ ขนึ้ 3. กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทําใหอาเซียนมีสถานะเปนนติ ิบคุ คล เปนการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรา งองคก รใหก ับอาเซยี น ผนู ําอาเซียนไดล งนามรับรองกฎบัตรอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เม่ือวันท่ี 20 พฤศจิกายน 2550 ในโอกาสครบรอบ 40 ป ของการกอตัง้ อาเซยี น ณ ประเทศสิงคโปร เพื่อใหประชาคมโลก ไดเห็นถงึ ความกาวหนา ของอาเซียนทจ่ี ะกาวเดินไปดวยกนั อยา งมัน่ ใจระหวา งประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ และถอื เปน ประวตั ิศาสตรจ ะปรบั เปลี่ยนอาเซียนใหเปนองคกรท่ีมีสถานะเปนนิติบุคคลในฐานะที่เปนองคกร ระหวางรฐั บาล ทง้ั น้ปี ระเทศสมาชิกไดใ หส ตั ยาบนั เปน กฎบัตรอาเซียนครบท้ัง 10 ประเทศแลว เม่อื วันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 ดงั นน้ั กฎบัตรอาเซยี นจึงมีผลบงั คับใชตั้งแตว นั ท่ี 15 ธนั วาคม 2551 เปนตน ไป วตั ถุประสงคข องกฎบัตรอาเซยี น 1. เพ่ือใหองคกรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลางและเคารพกฎกติกาในการ ทํางานมากขึน้ 2. เพื่อเสริมสรางกลไกตรวจสอบเฉพาะและติดตามการดําเนินการตามความตกลงตาง ๆ ของประเทศสมาชิก ใหมผี ลเปน รูปธรรม 3. เพอื่ ปรบั ปรุงโครงสรางการทํางานและกลไกตาง ๆ ของอาเซยี นใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน และเพ่มิ ความยืดหยุนในการแกไ ขปญหา

138 4. ความรว มมือดานเศรษฐกจิ ความรว มมือดา นเศรษฐกจิ ของอาเซียนเรม่ิ มีเปาหมายชดั เจนเริม่ นําไปสูการรวมตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศในภูมภิ าคอาเซียน นับตั้งแตการจัดต้ังเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ข้ึนและนับแตน้ันมากิจกรรม อาเซียนไดขยายครอบคลมุ ไปสูท กุ สาขาหลักทางเศรษฐกิจ รวมท้ังในดานการคาสินคาและบริการการลงทุน มาตรฐานอุตสาหกรรมและการเกษตรกรรม ทรัพยสินทางปญญา การขนสง พลังงาน และการเงิน การคลัง เปน ตน ความรวมมือทางเศรษฐกิจของอาเซยี นที่สาํ คญั มีดังน้ี 4.1 เขตการคา เสรอี าเซยี น (ASEAN Free Trade Area หรอื AFTA) เขตการคา เสรีอาเซยี น หรือ AFTA เปนขอตกลงทางการคาสําหรับสินคาท่ีผลิตภายในประเทศ สมาชิกอาเซียนทั้งหมด ทําข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของ อาเซยี น ในฐานะที่เปน การผลติ ทีส่ ําคัญในการปอนสินคา สูตลาดโลก โดยอาศยั การเปด เสรีดานการคา การลด ภาษี และยกเลกิ อุปสรรคขอกีดขวางทางการคาท่ีมิใชภาษี 4.2 เขตการลงทนุ อาเซียน (ASEAN Investment Area หรือ AIA) ที่ประชุมสุดยอดอาเซยี นครัง้ ท่ี 5 เมอ่ื เดอื นธันวาคม 2538 ที่กรุงเทพฯ ไดเห็นชอบใหจัดตั้งเขต การลงทนุ อาเซียน เปนเขตการลงทุนเสรีท่ีมีศักยภาพโปรงใสเพ่ือดึงดูดนักลงทุนท้ังจากภายในและภายนอก ภูมิภาค ความตกลงครอบคลุมการลงทุนในอุตสาหกรรม 5 สาขา คือ สาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร ประมง ปา ไม และเหมืองแร และภาคบริการท่ีเก่ยี วเน่อื งกับ 5 สาขาการผลิตดังกลาว ยกเวน การลงทุนดาน หลักทรัพยและการลงทนุ ในดานซึง่ ครอบคลุมโดยความตกลงอาเซยี นอื่น ๆ 4.3 ความริเริ่มเพ่อื การรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration หรอื IAI) การรวมตัวของประเทศสมาชิก เพื่อลดชองวางดานการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิกเกา (ไทย มาเลเซยี ฟลปิ ปน ส สิงคโปร บรูไน อินโดนีเซีย) กับสมาชิกใหมของอาเซียน (สหภาพพมา สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) โดยใหประเทศ สมาชกิ เกา รวมกันจดั ทําโครงการใหค วามชว ยเหลอื แกป ระเทศใหม ครอบคลมุ 4 ดาน ไดแก โครงสรา งพื้นฐาน การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 4.4 ความรวมมือดา นอุตสาหกรรม (ASEAN Industrial Cooperation Scheme หรือ AICO) ความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน เปนโครงการความรวมมือที่มุงสงเสริมการลงทุน ในอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีเปนฐานการผลิต โดยยึดหลักของการใชทรัพยากรรวมกัน การแบงสวน การผลติ ตามความสามารถ และความถนดั 4.5 กรอบความตกลงดานการคาบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services หรือ AFAS) เปนการกําหนดกรอบการเปดเสรีการคาการบริการในสาขาการบริการตาง ๆ ของอาเซียน โดยจัดทําขอผูกพันในดานการเปดตลาด (market access) การใหการปฏิบัติเย่ียงคนในชาติ (National Treatment) และดา นอ่ืน ๆ (additional commitments) นอกจากนี้ สมาชกิ อาเซียนยงั ตองเรงรัดเปดตลาด ในสาขาบริการทีเ่ ปนสาขาสําคัญ 5 สาขา ไดแก สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ

139 สาขาการทองเที่ยว สาขาการบนิ และสาขาบริการโลจิสตกิ ส ทง้ั นเ้ี พ่ือใหอาเซียนมีความพรอมในการกาวไปสู การเปนประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนในป 2558 ตอ ไป 4.6 ความรวมมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส (e-ASEAN Framework Agreement) ผูนําของอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ รวมกันลงนามในกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของ อาเซียน ซ่ึงเปนขอตกลงท่ีกําหนดแนวทางเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดาน เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือสาร (Information Technology and Communication-ICT) เพ่ือพัฒนา เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อสาร ในภมู ภิ าคใหสอดคลอ งกนั และเปนไปในทศิ ทางเดียวกัน โดยมีมาตรการ ที่ครอบคลุมท้ัง 5 ดา น ดงั น้ี 1) การพัฒนาเชอ่ื มโยงโครงสรา งพนื้ ฐานดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศของอาเซียน (ASEAN Information Infrastructure) ใหส ามารถติดตอ ถงึ กนั ไดอ ยางทวั่ ถงึ กนั และดวยความเรว็ สงู 2) การอํานวยความสะดวกดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) โดยการออกกฏหมาย และระเบียบดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่สอดคลองกับมาตรฐานระหวางประเทศ และมีระบบรักษา ความปลอดภัยที่เปนมาตรฐานสากล เพ่ือสรางความเชอ่ื มนั่ แกผบู ริโภค 3) สงเสริม และเปดเสรีดานการคาสินคา บริการ และการลงทุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร (ICT) โดยประเทศสมาชิกอาเซียนจะยกเลิกภาษีและอุปสรรคทางการคา ไมใ ชภาษสี าํ หรบั สนิ คา ICT 4) สรางสังคมอิเล็กทรอนิกส (e-Society) เสริมสรางความสามารถและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส เพือ่ ประโยชนต อสงั คม 5) สรางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) สงเสริมใหมีการใช ICT ในการบริการของ ภาครัฐใหมากขึ้น 4.7 ความรวมมอื ดานการเงนิ การคลัง (Financial Cooperation) เปน กรอบความตกลงความรว มมือท่ีเนนการสรางกลไกการสนับสนุนเกื้อกูลระหวางกันในเร่ือง การเงนิ การคลงั ของประเทศสมาชิกเพอ่ื ดูแลสภาวะเศรษฐกิจดา นการเงิน 1) อาเซียนไดจัดตั้งระบบระวังภัยอาเซียน (ASEAN Surveillance Process) ข้ึน เม่ือวันท่ี 4 ตลุ าคม 2541 เพ่ือสอดสองดูแลสภาวะเศรษฐกจิ และการเคลอ่ื นยายเงินทนุ ในภูมิภาค โดยใหมีการหารือและ แลกเปล่ียนขอคดิ เหน็ เกีย่ วกับภาวะเศรษฐกจิ ในประเทศสมาชิกในภูมภิ าคและในโลก โดยธนาคารพัฒนาเอเชยี (ADB) ไดสนับสนุนและใหความชวยเหลือทางวิชาการและเงินทุนโดยการจัดการฝกอบรมดานเทคนิค แกเจาหนาที่ประเทศสมาชิก และในการจัดต้ัง ASEAN Surveillance Technical Support Unit ในสาํ นกั งานเลขาธกิ ารอาเซียนเพ่อื สนบั สนนุ ระบบดงั กลา ว 2) การเสรมิ สรางกลไกสนับสนนุ และเกอ้ื กูลระหวางกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Enhancing self-help and support mechanism in East Asia) โดยไดก าํ หนดแนวทางความรวมมอื กบั จีน ญี่ปุน และ เกาหลีใต ท่สี ําคัญ ไดแ ก จดั ทําความตกลงทวิภาคดี านการแลกเปล่ียนการซ้ือ-ขายคืนเงินตราหรือหลักทรัพย

140 ตางประเทศ หารือเกี่ยวกับการจัดต้ังระบบเตือนภัยในภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนการหารือเกี่ยวกับภาวะ เศรษฐกจิ ในภมู ิภาค 3) ความริเริ่มเชียงใหม (Chiang Mai Initiative) ซ่ึงไดจัดต้ังข้ึนเมื่อวันท่ี 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 เปนการปรับปรุงความตกลงแลกเปล่ียนเงินตราอาเซียน (ASEAN Swap Arrangement - ASA) ในดานโครงสราง รูปแบบและวงเงิน และใหเสริมดวยเครือขายความตกลงทวิภาคีระหวางประเทศ อาเซียนกับจีน ญ่ีปุนและสาธารณรัฐเกาหลี (Bilateral Swap Arrangment-BSA) โดยไดขยายให ASA รวมประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศแลว 4.8 ความรว มมือดานการเกษตรและปาไมของอาเซียน และอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชน จีน สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี และญป่ี ุน) เปน โครงการความรว มมอื ระหวางอาเซียน และประเทศอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรฐั ประชาชนเกาหลี และญปี่ ุน) ทคี่ รอบคลุมความรวมมือในดานการประมง ปาไม ปศุสัตว พืช และ อาหารการเกษตร เพื่อสงเสรมิ ความม่นั คงทางดานอาหารและความสามารถในการแขง ขันของอาเซียนในดาน อาหารและผลผลิตปา ไม 4.9 ความรวมมือดา นการขนสง เปนกรอบความตกลงท่ีเนนการอํานวยความสะดวกในการขนสงท้ังสินคาและบริการรวมกัน ระหวา งประเทศสมาชิกที่จะสง ผลใหสภาพเศรษฐกิจโดยรวมในภมู ิภาคเจริญเตบิ โตอยางรวดเร็ว 1) โครงการพัฒนาทางหลวงอาเซียน (ASEAN Highway Network Project) ลักษณะของ โครงขายทางหลวงอาเซียน คือ มที างหลวงครอบคลุม 23 สาย ทว่ั ทง้ั ภมู ภิ าคอาเซียน และจดั ทํามาตรฐานทาง หลวงอาเซยี น (ปา ยจราจร สญั ญาณ และระบบหมายเลข)ใหเปนแบบเดยี วกัน 2) การอํานวยความสะดวก ในการขนสงสินคาผานแดน มีวัตถุประสงคใหประเทศสมาชิก อาเซียนอนุญาตใหรถยนตขนสงที่จดทะเบียนในประเทศสมาชิกหนึ่งสามารถขนสงสินคาผา นแดน ไปยงั อีก ประเทศหนึ่งได 3) การเปดเสรีบริการขนสง เฉพาะสนิ คา ของอาเซยี น มวี ัตถุประสงคท จี่ ะสงเสริมการขนสงสินคา ในอาเซยี นดว ยกนั 4) การเปดเสรีบริการขนสงผูโดยสารทางอากาศของอาเซียน เปนการสงเสริมอุตสาหกรรม การทอ งเทย่ี วและการสง ออกสินคาของไทยและสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลท่ีตองการใหมีการเปดเสรี การบนิ และสง เสรมิ ใหป ระเทศไทยเปนศนู ยกลางการบนิ ในภมู ิภาคน้ีดวย 4.10 ความรว มมือดา นพลงั งานในอาเซยี น (ASEAN Energy Cooperation) เพื่อเสริมสรางความม่ันคงและความยั่งยืนในการจัดหาพลังงาน การใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพในภูมิภาคอาเซยี น และการจัดการดานความตอ งการพลงั งานอยางเหมาะสม โดยคํานึงถึงปจจัย ดา นสภาพส่ิงแวดลอ ม และการชวยเหลือกนั ในการแบงปนปโตรเลียมในภาวะฉุกเฉิน

141 4.11 ความตกลงดานการทอ งเทีย่ วอาเซยี น (ASEAN Tourism Agreement) เปนความรวมมือเพื่อสงเสริมใหอาเซียนเปนจุดหมายปลายทางการทองเท่ียว โดยเนน ความรว มมือใน 7 ดา น คอื การอาํ นวยความสะดวกการเดินทางในอาเซียนและระหวางประเทศ การอํานวย ความสะดวกดานขนสง การขยายตลาดการทองเทย่ี ว การทองเท่ียวที่มคี ณุ ภาพความปลอดภยั และความมนั่ คง ของการทอ งเที่ยว การตลาดและการสงเสริมรว มกนั และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งตอมาการตกลงดาน การทอ งเทีย่ วอาเซยี นน้ยี งั ไดขยายไปยังประเทศอาเซยี น +3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชน เกาหลี และญ่ปี นุ ) เรยี กวา “ความรว มมอื ดานการทอ งเทย่ี วในกรอบอาเซยี นและอาเซียน +3 โดยใหประเทศ อาเซยี น +3 เสนอแนวทางความรวมมอื กับประเทศสมาชิกอาเซียนทช่ี ดั เจนเพือ่ สง เสริมความรว มมอื ระหวา งกนั 5. ประโยชนแ ละผลกระทบตอ ประเทศไทย 5.1 ประโยชนท ีป่ ระเทศไทยไดรับจากการเขา รว มประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น หากอาเซียนสามารถสรา งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดส ําเร็จตามเปาหมายที่ตง้ั ไว ประเทศไทย จะไดป ระโยชนห ลายประการ เชน 1) ขยายการสงออกและโอกาสทางการคา จากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใชภาษีจะเปด โอกาสใหสินคาเคลอ่ื นยา ยเสรี 2) คาดวา การสงออกไทยไปอาเซยี นจะสามารถขยายตวั ไดไมตํา่ กวา 18 - 20% ตอป 3) เปด โอกาสการคา บรกิ าร ในสาขาท่ไี ทยมีความเขม แขง็ เชน ทอ งเท่ียว โรงแรมอาหาร และ สขุ ภาพ ทําใหไทยมีรายไดจ ากการคาบริการจากตา งประเทศเพิ่มข้นึ 4) สรางเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคล่ือนยายเงินทุนไดเสรีย่ิงขึ้นอุปสรรคการลงทุน ระหวางอาเซยี นจะลดลง อาเซยี นจะเปนเขตการลงทนุ ทีน่ า สนใจทดั เทยี มประเทศจีนและอนิ เดยี 5) เพ่ิมพนู ขีดความสามารถของผปู ระกอบการไทย เมอื่ มีการใชท รัพยากรการผลิตรวมกัน/เปน พันธมิตรทางธุรกิจรวมกับอาเซียนอ่ืน ๆ ทําใหเกิดความไดเปรียบเชิงแขงขัน (Comparative Advantage) และลดตน ทุนการผลติ 6) เพิ่มอาํ นาจการตอรองของไทยในเวทีการคา โลก สรางความเช่ือมน่ั ใหประชาคมโลก 7) ยกระดบั ความเปน อยขู องประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงวา AEC จะทําใหรายได ที่แทจ ริงของอาเซียนเพม่ิ ขนึ้ รอ ยละ 5.3 หรือคดิ เปนมลู คา 69 พันลานเหรียญสหรฐั ฯ 5.2 ผลกระทบจากประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ถึงแมป ระเทศไทยจะไดป ระโยชนจ ากการเขา รว มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC) แตประเทศไทย กไ็ ดร บั ผลกระทบดวยเชน กัน เชน 1) การเปดตลาดเสรกี ารคาและบริการยอ มจะสง ผลกระทบตออุตสาหกรรมและผปู ระกอบการ ในประเทศทมี่ ีขีดความสามารถในการแขงขันตํ่า 2) อตุ สาหกรรมและผปู ระกอบการในประเทศตองเรงปรับตวั

142 กจิ กรรมทา ยบทที่ 3 เศรษฐศาสตร กิจกรรมที่ 1 ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอ ไปนี้ เพอ่ื เสรมิ ความรจู ากในหนังสอื เรียน โดยถามจากผรู ู 1.1 ใหผเู รยี นศึกษาคน ควาเร่อื ง สถานการณเ ศรษฐกจิ ไทยปจ จบุ นั เปน อยา งไร มจี ดุ ออ น จดุ แข็ง อยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................... 1.2 เพื่อปอ งกนั ถูกเอาเปรียบการใชสนิ คาหรือรบั บริการทา นมวี ธิ ปี องกันหรอื แกไ ขอยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................... กิจกรรมท่ี 2 ถา ผูเรียนเปน ผูผลิตในระบบเศรษฐกจิ ทา นคดิ วา ทา นจะผลติ อะไรในชมุ ชนทีค่ าดวา จะมีผลกาํ ไรเพียงพอตอการดําเนินชวี ิต และจะใชป จ จยั การผลิตและกระบวนการผลติ อยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ กจิ กรรมที่ 3 ใหผเู รยี นตอบคําถามตอไปนี้ 3.1 เศรษฐศาสตร หมายถึง วิชาทวี่ า ดว ยการศกึ ษาอะไร มคี วามสาํ คญั อยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................

143 3.2 ความตอ งการ (Wants) ในวชิ าเศรษฐศาสตรห มายถึงอะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................... 3.3 คุณธรรมของผผู ลิตมอี ะไรบา ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................... 3.4 ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมหมายถงึ อะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................... กจิ กรรมที่ 4 จงเลอื กคําตอบที่ถูกที่สุดเพยี งคําตอบเดยี ว 1. วชิ าเศรษฐศาสตรสวนใหญเปนเรอ่ื งเก่ยี วกับส่ิงใด ก. การผลิตสนิ คา ข. การใหบ รกิ าร ค. การใชท รัพยากร ง. การทาํ มาหากนิ ในชวี ติ ประจาํ วัน 2. การแขงขันทางการคา จะกอใหเ กิดผลดที างเศรษฐกจิ อยางไรบา ง ก. พอคาจะไดกาํ ไรจากการขายสนิ คา ข. ปอ งกนั ไมใหรฐั บาลเขา ไปควบคมุ ในกจิ การคา ค. ชว ยปองกนั การคากําไรเกินควร ง. ประชาชนใชส นิ คา มากข้ึน

144 3. ขอ ใดท่แี สดงวา ผูบ รโิ ภคนาํ วชิ าเศรษฐศาสตรมาใชในชวี ิตประจําวนั ก. ซอ้ื สนิ คาเฉพาะท่ีจาํ เปนและราคาไมแ พง ข. กกั ตนุ สินคา เม่อื รวู าจะขนึ้ ราคา ค. เลอื กซอื้ สนิ คาท่ีถกู ที่สดุ ง. ซอื้ สินคาจากการโฆษณา 4. ขอ ใดอธบิ ายความหมายของ “ระบบเศรษฐกจิ ” ไดถ ูกตอ งมากทสี่ ดุ ก. สังคมที่มแี นวปฏบิ ตั ิทางเศรษฐกจิ ภายใตรูปแบบเดยี วกัน ข. สังคมท่อี นุญาตใหเ อกชนเปนเจาของปจจยั การผลติ ค. สงั คมทีใ่ ชกลไกของราคาเขา มาแกไ ขปญหาเศรษฐกจิ ง. สงั คมทม่ี ีการผลิตภายใตก ารควบคุมของรฐั บาล 5. ประเทศไทยตอ งกูเงนิ จากสถาบันการเงนิ ระหวางประเทศ เพอื่ มาแกไ ขสภาวะเศรษฐกจิ จาก สถาบนั การเงนิ ในขอใด ก. โอเปค (OPEC) ข. ไอ เอ็ม เอฟ (IMF) ค. อีซี (EC) ง. อาเซยี น (ASEAN) กิจกรรมที่ 5 ใหผ เู รยี นพดู คุยกับเพ่ือนและสรุปสาระสาํ คัญของการศึกษาเอกสารเร่ืองประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนในแบบบันทึกที่กําหนด แบบบันทกึ 1. ใหสรุปความสาํ คญั ของประเทศไทยท่ไี ดร ับจากการเปนประเทศสมาชกิ ประชาคม เศรษฐกจิ อาเซียน ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจใดบางที่ประเทศตอ งเขารว มกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................

145 3. ใหอธบิ ายถึงประโยชนที่ประเทศไทยจะไดร บั จากการเปน สมาชิกประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 1 ขอ ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................