Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่4

บทที่4

Published by Us Asama, 2021-06-08 03:54:19

Description: บทที่4

Search

Read the Text Version

146 บทที่ 4 การเมืองการปกครอง สาระสําคญั รัฐธรรมนูญเปนหัวใจสําคัญของระบอบประชาธิปไตย กลาวคือ เปนกฎหมายสูงสุด วาดวยการจัด ระเบียบการปกครองโดยยึดมั่นหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มรี ปู แบบการปกครองแบบอาํ นาจอธปิ ไตย ซ่ึงเปน อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองประชาชนและการใชอาํ นาจตอง เปนไปตามรัฐธรรมนูญ โดยมบี ทบญั ญตั ิกฎหมายรองรบั ประชาชนจงึ ตองมีหนาที่ปฏิบตั ติ นตอบานเมืองตามท่ี กําหนดไวในกฎหมายรฐั ธรรมนญู ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั 1. อธิบายสาระสําคญั ของรฐั ธรรมนญู และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข 2. ตระหนักในปญ หาการไมปฏบิ ัติตามกฎหมาย 3. มีสว นรว มสง เสรมิ และสนบั สนุนทางการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข ขอบขายเนือ้ หา เร่อื งท่ี 1 การเมืองการปกครองท่ีใชอยใู นปจจุบันของประเทศไทย 1.1 การปกครองในระบอบประชาธิปไตย 1.2 รฐั ธรรมนูญของไทย 1.3 กฎหมายและหนาทขี่ องพลเมอื ง เรอื่ งท่ี 2 เปรยี บเทยี บรปู แบบทางการเมอื งการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบอบอ่ืน ๆ

147 เร่อื งท่ี 1 การเมอื งการปกครองทีใ่ ชอยูใ นปจจบุ นั ของประเทศไทย ประเทศไทยไดยึดหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญการปกครองแผนดินมาต้ังแตพุทธศักราช 2475 จนถึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เปนแนวทางสําคญั ตลอดมา 1.1 การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การปกครองที่ประชาชนมีอํานาจสูงสุดหรือแบง การปกครองของประชาชนโดยประชาชนและเพ่ือประชาชน อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขและทรงอยู ใตร ฐั ธรรมนญู หลักการสาํ คญั ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เปาหมายของการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพื่อจัดระเบียบการอยูรวมกันของผูคนใน ลกั ษณะทเี่ อื้ออาํ นวยประโยชนต อประชาชนทุกคนในรัฐ ใหความคมุ ครองสิทธแิ ละเสรีภาพอยา งเสมอภาคและ ยตุ ธิ รรม มหี ลักการสําคญั ดังน้ี 1. มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดที่ใชในการปกครองประเทศ ซึ่งไดกําหนดความสัมพันธ ระหวางสถาบันการเมือง การปกครองและประชาชน รวมถงึ สทิ ธเิ สรภี าพและหนา ที่ของประชาชนทุกคน 2. มีอํานาจสูงสุดในการปกครอง คือ อํานาจอธิปไตย ประกอบดวย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจ บริหารและอํานาจตุลาการในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศและ การใชอาํ นาจตองเปน ไปตามรฐั ธรรมนูญท่ีกําหนด 3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยใหถือวาเสียงขางมากหรือเหตุผลของคนสวนใหญเปนมติ ที่ตอ งยอมรบั 4. มคี วามเสมอภาค โดยประชาชนทุกคนมสี ิทธิเทาเทียมกนั ในทกุ ๆ ดาน เพราะทุกคนอยูภายใต การปกครองของรัฐธรรมนูญฉบับเดยี วกนั รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แบงอํานาจในการบริหารประเทศออกเปน 3 สว น รวมเรยี กวา “อํานาจอธปิ ไตย” ประกอบดวย 1. อํานาจนิติบัญญัติ พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา ซึง่ เปนอํานาจทีใ่ ชในการตรากฎหมาย ควบคมุ การบริหาราชการแผนดินของฝายบริหารและกําหนดนโยบาย ใหฝายบริหารปฏิบัติ สถาบันทางการเมืองที่เก่ียวของกับอํานาจนิติบัญญัติ ไดแก รัฐสภา ประกอบดวย สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา และใหถือวารัฐสภาเปนตัวแทนของประชาชนทั้งประเทศและเปนผูรักษา ผลประโยชนของประชาชน 2. อํานาจบริหาร พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจบริหารผานทางรัฐบาลหรือ คณะรฐั มนตรี มีหนา ท่ใี นการวางนโยบาย กําหนดเปา หมายดาํ เนินกิจการตาง ๆ ของรัฐ เพื่อบําบัดทุกขบํารุง สขุ ของประชาชน ดวยเหตุน้ีอาํ นาจบรหิ ารจึงมีความสําคญั ตอ ระบบการปกครองของรฐั

148 3. อาํ นาจตุลาการ พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจตุลาการฝายทางศาล มีอํานาจ หนา ท่ีรกั ษาความยตุ ิธรรมตามท่กี ฎหมายกาํ หนด รกั ษาเสรีภาพของบุคคล ปองกนั และแกไขมิใหบุคคลลวงล้ํา เสรภี าพตอ กัน ตลอดจนคอยควบคุมมใิ หเจา หนาท่ีของรฐั ใชอาํ นาจเกินขอบเขต การกําหนดใหมีการแยกใชอํานาจอธิปไตย 3 สวน และมีสถาบัน รัฐสภา รัฐบาลและศาล คอยรบั ผิดชอบเฉพาะสวน ทง้ั นเ้ี ปน ไปตามหลกั การประชาธปิ ไตยที่ไมตอ งการใหมกี ารรวบอาํ นาจ แตตอ งใหม ี การถว งดุลอํานาจซ่ึงกันและกัน เปนการปองกันมิใหเกิดการใชอํานาจแบบเผด็จการ ยกตัวอยางเชน ถาให คณะรัฐมนตรใี ชอํานาจนติ ิบัญญัติและอํานาจบริหาร คณะรัฐมนตรีก็อาจจะออกกฎหมายที่ไมสอดคลองกับ ความตองการของประชาชน และเมื่อนํากฎหมายนั้นมาบังคับใชก็จะไมเกิดประโยชนตอทุกฝายโดยเฉพาะ ประชาชน ดงั นั้นการบริหารประเทศไทยทั้ง 3 สถาบันจึงเปนหลักประกันการคานอํานาจซ่ึงกันและกันและ ประการสําคัญเปน การปอ งกนั การใชอ าํ นาจเผด็จการ ความสมั พันธร ะหวา งรฐั บาลกบั ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ดังไดกลา วแลว วาการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ประชาชนเปนผูมีอํานาจสูงสุด มีสิทธิเสรีภาพ และหนาทีต่ ามกฎหมายกาํ หนด ทีส่ ําคัญคือประชาชนเลือกผูแทนราษฎรซ่ึงสังกัดพรรคการเมืองและรัฐบาล มาจากผแู ทนราษฎรตามที่กาํ หนดไวใ นกฎหมายรัฐธรรมนูญดงั น้นั รฐั บาลกับประชาชนจึงมีความเก่ียวพันกัน ตลอดเวลา กลาวคือ รฐั บาลก็มีหนา ทอี่ อกกฎหมายบรหิ ารประเทศตามเจตนารมณข องประชาชน จงึ ตอ งอาศัย ความสัมพันธกับประชาชนอยางใกลชิด เชน คอยสํารวจตรวจสอบปญหาและความตองการของประชาชน อยเู สมอและตอ งปฏบิ ัติตอประชาชนอยา งเสมอภาคกนั ทุกคน ขณะเดียวกันประชาชนก็ตองประพฤตปิ ฏิบตั ติ น ตอ บา นเมอื งตามท่กี าํ หนดไวใ นกฎหมายรฐั ธรรมนญู เหมอื นกนั จึงอาจกลา วไดวา ความสมั พนั ธระหวา งรัฐบาล กบั ประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย จึงเปนไปในลกั ษณะการปกครองทตี่ อ งพ่งึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกนั การใชอ าํ นาจอธปิ ไตยของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย อาํ นาจอธิปไตยเปนอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตย ประชาชน สามารถใชอาํ นาจอธิปไตยของตนได 2 วธิ ี คือ 1. โดยทางตรง หมายถงึ การใชอาํ นาจอธปิ ไตยดว ยตนเองโดยตรง จะใชไ ดกบั รฐั เล็ก ๆ ท่มี ี ประชากรไมมาก

149 2. โดยทางออ ม หมายถึง การใชอํานาจอธิปไตยโดยผานผูแทนของประชาชน เน่ืองจากจํานวน ของประชากรในประเทศมีมาก ไมส ามารถใหทุกคนใชอํานาจอธิปไตยไดดวยตนเอง จึงตองมีการเลือกผูแทน ของประชาชนไปใชอํานาจอธิปไตยในการปกครองประชาชน ปจจุบันมีหลายประเทศทั่วโลกท่ีใชวิธีนี้รวมท้ัง ประเทศไทยดว ย ขอดีของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1. ประชาชนมสี ทิ ธเิ สรีภาพในการดาํ รงชวี ติ ในทุก ๆ ดา น ท้งั การเมอื งการปกครอง การประกอบ อาชีพ สทิ ธิในทด่ี นิ ครอบครองทรพั ยสนิ การนบั ถือศาสนาและอื่น ๆ โดยไมละเมดิ กฎหมาย 2. ประชาชนทกุ คนมีสิทธิเสรีภาพในดานตาง ๆ อยางเทาเทยี มกนั ไมวาจะร่ํารวย ยากจน รา งกาย สมบูรณหรอื พิการเพราะทุกคนตองปฏิบตั ติ ามกฎหมายเชน เดียวกัน 3. ประชาชนมีความกระตือรือรนในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถประกอบอาชีพตาม ความตอ งการของตน ทําใหเ ศรษฐกจิ ของประเทศสามารถพฒั นาไปสูค วามเจริญได 4. รฐั บาลไมส ามารถผูกขาดอํานาจได เนอื่ งจากประชาชนเปน ผคู ัดเลอื กรฐั บาลและหากไมพอใจ ยังสามารถถอดถอนรัฐบาลได ดังนั้นรัฐบาลจึงตองมีความสามารถในการบริหารราชการแผนดินและมี จรยิ ธรรมในการทํางาน 5. มีความรุนแรงระหวางประชาชนและรัฐบาลในระดับนอย เนื่องจากกฎหมายใหอํานาจ ประชาชนในการคัดเลือกรัฐบาลและการชุมนุมเรียกรองโดยสันติวิธี มีการเจรจาอยางมีเหตุผล อีกท้ังมี หนว ยงานท่รี องรับกรณพี พิ าทระหวางรฐั และเอกชน เชน ศาลปกครอง เปน ตน 6. ในกรณที ม่ี ปี ญ หาตอ งแกไ ขจะตองใหความสําคญั กับเสียงสวนใหญแ ละเคารพเสียงสวนนอ ย

150 1.2 รฐั ธรรมนูญของไทย รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศที่ออกโดยฝายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา ซึ่งมีบทบัญญัติกําหนดหลักการสําคัญตางๆ เชน รูปแบบการปกครอง การใชอํานาจอธิปไตย ความสัมพนั ธระหวางสถาบนั การปกครอง ตลอดจนสิทธิเสรีภาพและหนาท่ขี องประชาชน ความสาํ คัญของรฐั ธรรมนูญ รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายหลักท่ีสําคัญท่ีสุด มีรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทเ่ี รียกวา อํานาจอธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยเปน ประมขุ ปกครองในระบบรัฐสภา การบริหารประเทศหรือ การออกกฎหมายยอมตอ งดําเนินการภายในกรอบของบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติแหงกฎหมายใด ถาขดั แยง กบั รฐั ธรรมนญู ยอ มไมม ผี ลบังคับใช ประเภทของรัฐธรรมนญู 1. รัฐธรรมนูญลายลกั ษณอักษร เปนรฐั ธรรมนูญท่ีเขียนไวเปนลายลักษณอักษรที่ชัดเจน ดังเชน รัฐธรรมนูญของประเทศไทยและประเทศสหรฐั อเมริกา 2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี เปนรัฐธรรมนูญที่ไมไดเขียนไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน ครบถวนในเอกสารฉบับเดียวและไมไดบัญญัติไวในรูปของกฎหมาย เชน ขนบธรรมเนียมประเพณีในการ ปกครองตาง ๆ ประเทศอังกฤษเปน ประเทศหนงึ่ ท่ีมีรัฐธรรมนูญประเภทน้ี ววิ ฒั นาการรัฐธรรมนญู ของประเทศไทย นับต้ังแตประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ตั้งแต พทุ ธศกั ราช 2475 มาเปน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขจนถึงปจจุบัน มีการเปลีย่ นแปลงแกไ ขและประเทศใชร ัฐธรรมนูญและรัฐธรรมนูญการปกครองแลวรวม 18 ฉบับ ทั้งน้ีเพ่ือให เหมาะสม สอดคลองกับสถานการณในประเทศในแตละยุคสมัย อยางไรก็ตามรัฐธรรมนูญท่ีมีมาทุกฉบับมี หลกั การสาํ คญั เหมอื นกันคือ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข และแตละฉบับจะสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบและวิธีการของการปกครองของประเทศเปน อยา งดี สาํ หรับ

151 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ฉบบั ที่ 18 โดยรฐั ธรรมนูญฉบบั นไี้ ดยึดตามแนวทางและ แกไขจดุ ออนของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เพื่อใหประชาชนไดรับประโยชนจาก รัฐธรรมนญู น้รี วม 4 ประการ คอื 1. คุมครอง สง เสริม ขยายสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชนอยางเต็มท่ี 2. ลดการผกู ขาดอาํ นาจรัฐและเพ่ิมอํานาจประชาชน 3. การเมืองมคี วามโปรงใส มคี ุณธรรมและจริยธรรม 4. องคกรตรวจสอบมีความอิสระ เขม แข็งและทาํ งานอยา งมีประสทิ ธิภาพ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกาศใชเม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2550 ประกอบดวยหมวดตาง ๆ ดังน้ี หมวดท่ี 1 บททั่วไป มาตรา 1 - 7 หมวดที่ 2 พระมหากษัตริย มาตรา 8 - 25 หมวดท่ี 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 26 - 69 หมวดท่ี 4 หนา ท่ีของชนชาวไทย มาตรา 70 - 74 หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหง รัฐ มาตรา 75 - 87 หมวดที่ 6 รฐั สภา มาตรา 87 - 162 หมวดท่ี 7 การมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน มาตรา 163 - 165 หมวดที่ 8 การเงนิ การคลังและงบประมาณ มาตรา 166 - 170 หมวดที่ 9 คณะรฐั มนตรี มาตรา 171 - 196 หมวดท่ี 10 ศาล มาตรา 197 - 228 หมวดท่ี 11 องคกรตามรฐั ธรรมนูญ มาตรา 229 - 258 หมวดที่ 12 การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ มาตรา 259 - 278 หมวดท่ี 13 จริยธรรมของผูด าํ รงตาํ แหนงทางการเมอื งและเจาหนา ท่ขี องรฐั มาตรา 279 - 280 หมวดท่ี 14 การปกครองสวนทอ งถิ่น มาตรา 281 - 290 หมวดท่ี 15 การแกไ ขเพิม่ เตมิ รัฐธรรมนูญ มาตรา 291 บทเฉพาะกาล มาตรา 292 - 309 1.3 กฎหมายและหนา ทขี่ องพลเมือง กฎหมาย คือ ขอบังคับทัง้ หลายของรัฐหรือประเทศที่ใชบังคับความประพฤติของบุคคล ซ่ึงผูใด จะฝาฝนไมปฏิบัติตามจะตองมีความผิดและตองถูกลงโทษ กฎหมายจึงมีความสําคัญตอบทบาทของทุก ๆ สงั คม ทั้งในดา นใหค วามคุม ครองและถกู ลงโทษตามเหตุการณ

152 ความสาํ คัญของกฎหมาย แยกไดเปน 2 ประการหลกั คือ 1. กฎหมายเปรียบเสมือนเปนเคร่ืองมือบริหารประเทศโดยตรง เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ เปนหลักเกณฑสําคัญในการวางรูปแบบโครงสรางและกลไกการบริหารงาน และกฎหมายปกครอง เปน กฎหมายที่จัดระเบียบการปกครองประเทศหรือการบรหิ ารรัฐ เปนตน 2. กฎหมายเปนเคร่ืองมือในการรักษาความสงบเรียบรอยในสังคมใหสมาชิกในสังคม สามารถ อยูรวมกันไดดวยความสงบสุข เชน กฎหมายอาญา กฎหมายแรงงาน กฎหมายคุมครองผูบริโภค เปนตน ซึ่งกฎหมายเหลานี้นอกจากจะมุงเนนใหป ระโยชนส ุขแกประชาชนแลว ยงั ปอ งกนั การกระทาํ ท่เี ปนผลราย มิให มกี ารรงั แก เอาเปรียบซง่ึ กันและกนั ผูทก่ี อใหเกิดผลภยั กระทาํ การไมดถี ือวา กระทาํ ตนไมถ ูกตอ งตามกฎหมาย ตองถกู ลงโทษ เพ่อื มใิ หผ อู ืน่ เอาเย่ียงอยา งและเพื่อความสงบสขุ ของคนสว นใหญในสังคม กฎหมายเปน ขอบงั คบั ทปี่ ระชาชนตองปฏบิ ัตติ าม ผูใดจะฝา ฝนไมปฏิบัติตามไมได กฎหมายจึงมี ความเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของมนุษยตั้งแตเกิดจนตาย ดังนั้น ประชาชนจึงมีความจําเปนตองรูและ เขา ใจถึงประโยชนข องกฎหมาย ดงั นี้ 1. ไดร จู กั ระวังตน ไมพ ลาดพลัง้ กระทาํ ความผดิ อันเน่อื งมาจากไมร ูกฎหมาย 2. รูจักการปองกันไมใ หผ ูอ ืน่ เอาเปรียบและถูกโกงโดยไมร ูกฎหมาย 3. เหน็ ประโยชนในการประกอบอาชีพ เพราะหากมีความรูในหลักกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการ ประกอบอาชพี ของตน ยอ มจะปองกนั ความผิดพลาดอันเนื่องมาจากความไมรูกฎหมายได 4. เปนประโยชนในทางการเมอื งการปกครอง เชน เมอ่ื ประชาชนรูในสทิ ธิ หนา ที่ ตลอดจนปฏิบตั ิตน ตามหนาทอ่ี ยา งครบถว นกจ็ ะทาํ ใหส ังคมสงบสุข ปราศจากความเดอื ดรอน บา นเมืองก็จะสงบสขุ ดว ย ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ หนาที่ท่ีสําคัญของประชาชนทุกคนคือ ตองประพฤติปฏิบัติตนใหถูกตองตาม ขอบังคับของกฎหมายและตองมีความเคารพยําเกรงตอกฎหมาย หลีกเลี่ยงการกระทําที่ละเมิดขอบังคับของ กฎหมาย เพ่ือใหสังคมไทยเปนสังคมท่ีปกครองโดยกฎหมายอยางแทจริง ดังนั้นการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยจึงมคี วามสําคัญตอ การดํารงชีวิตของประชาชนชาวไทยและตระหนักถึงคุณคาของประชาธิปไตย ซ่ึงกลา วโดยสรุปได ดังน้ี

153 ประชาชนชาวไทยทุกคนเปนสมาชิกในสังคมประชาธิปไตย จึงตองมีคุณลักษณะประจําตัวและ พงึ ปฏิบัตใิ นสิ่งตอไปน้ี 1. คิดและปฏิบัตดิ วยความเปนประชาธิปไตย 2. ตระหนกั วา ตนเปน สวนหน่ึงของสังคมดวยการมีสวนรว มในกจิ การตา ง ๆ และเมอ่ื มีปญหาควร ชว ยกนั แกไขดวยการใชเหตผุ ลและยอมฟง ความคดิ เหน็ ของผูอ นื่ 3. เปน ผนู ําและผูตามท่ีดีของสังคม ตามบทบาทและหนาท่ีของตน 4. ยดึ มนั่ ในวฒั นธรรม จารตี ประเพณแี ละพัฒนาตนเองและสังคมอยเู สมอ คุณคาของประชาธิปไตย 1. คุณคาทางการเมืองการปกครอง เชน ประชาชนสามารถเลือกบุคคลที่เปนตัวแทนปกครอง ตัวเองไดด ว ยการใชสทิ ธลิ งคะแนนเสียงเลือกผแู ทนราษฎร 2. คุณคาทางเศรษฐกิจ เชน มีสทิ ธเิ สรภี าพในการซ้ือขายจากการผลิต การบริการ โดยไดรับการ คมุ ครองจากรฐั อยางเปน ธรรม 3. คุณคาทางสังคม เชน ไดรบั ความคุมครองจากรฐั ทงั้ ชีวติ และทรัพยส นิ ภายใตก ฎหมายเทา เทียมกัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนลักษณะการปกครองเพื่อความสงบสุขของประชาชน โดยแทจ รงิ การดําเนนิ ชีวิตของบคุ คลจะเปนไปอยา งสงบสขุ ไดน้ัน ตองมีความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นคุณคา ของประชาธปิ ไตยเปนแนวทางดําเนนิ ชวี ิตประจําวัน

154 กจิ กรรมเร่ืองที่ 1 การเมืองการปกครอง ใหนกั ศกึ ษาเลอื กคําตอบขอทถ่ี กู ตอ งที่สดุ เพียงขอ เดียวในขอคําถามดงั ตอ ไปน้ี 1.การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภาเปด โอกาสใหฝายบริหารควบคมุ ฝา ยนิติบัญญัติไดด ว ยวธิ ใี ด ก. ยบุ รัฐสภา ข. ลงมติไมไววางใจ ค. ยุบสภาผูแทนราษฎร ง. แตงตัง้ วฒุ ิสมาชิกใหม 2. บทบาทและหนาท่ขี องรัฐสภาคือขอ ใด ก. ออกกฎหมายควบคมุ รัฐบาลและประชาชน ข. ยบั ยง้ั กฎหมายและอภิปรายลงมติไมไววางใจ ค. ถวายคําแนะนําแกพระมหากษตั รยิ ในการตรากฎหมายฉบับตาง ๆ ง. ออกกฎหมายและควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน ดินของราชการ 3. คําวา “อาํ นาจอธิปไตย” ตามที่บญั ญัติไวใ นกฎหมายรฐั ธรรมนูญหมายความวา อยา งไร ก. อาํ นาจสูงสดุ ของรัฐสภาในการรา งกฎหมาย ข. อํานาจสงู สดุ ของประชาชนในการบรหิ ารประเทศ ค. อํานาจสงู สดุ ของฝา ยบรหิ ารในการปกครองประเทศ ง. อาํ นาจสูงสุดของคณะรฐั มนตรใี นการบริหารประเทศ 4. หัวใจสําคัญของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยคอื ขอ ใด ก. ประชาชน ข. การเลอื กตงั้ ค. รัฐธรรมนูญ ง. พรรคการเมือง 5. การจัดระเบียบสงั คมเกีย่ วขอ งกับสถาบนั ใดมากทสี่ ุด ก. สถาบนั ศาสนา ข. สถาบันการศกึ ษา ค. สถาบนั ครอบครัว ง. สถาบันการปกครอง

155 6. ขอ ใดคืออํานาจของรฐั สภา ก. ศาล ข. บริหาร ค. ตุลาการ ง. นติ บิ ญั ญัติ 7. การปกครองแบบรฐั สภา ผูทด่ี ํารงตาํ แหนงหัวหนารัฐบาลคอื ใคร ก. องคมนตรี ข. นายกรัฐมนตรี ค. ประธานวฒุ ิสภา ง. ประธานรฐั สภา 8. ผูท ีม่ ีหนา ทใี่ ชอํานาจในการบริหารคอื ใคร ก. นายกรฐั มนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. ประธานวุฒิสภา ง. ประธานรฐั สภา 9. ผูท ีม่ ีหนา ที่ตราพระราชบัญญัติคือใคร ก. คณะรฐั มนตรี ข. นายกรฐั มนตรี ค. สภาผแู ทนราษฎร ง. พระมหากษัตรยิ  10. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยผทู ีม่ อี ํานาจสูงสดุ คอื ใคร ก. พระมหากษัตริย ข. นายกรฐั มนตรี ค. ผบู ญั ชาการเหลาทพั ง. ประชาชนชาวไทย 11. วัฒนธรรมในการทํางานแบบใดทจ่ี ะสงเสริมใหม คี วามเจรญิ กา วหนาของการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยเพิ่มมากขน้ึ ก. การทํางานคนเดียว ข. การทํางานเปน ทีม ค. การทาํ งานตามที่ตนถนัด ง. การทํางานกบั คนที่ชอบพอกัน

156 12. รฐั ธรรมนญู จะประกอบไปดว ยสว นตา ง ๆ หลายสวน สวนใดท่ีมีผลโดยตรงตอ อํานาจอธิปไตยของ ประชาชน ก. หมวดท่วั ไป ข. หมวดหนา ท่ขี องปวงชน ค. หมวดแนวนโยบายพน้ื ฐานแหงรัฐ ง. หมวดสทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชนชาวไทย 13. สิทธิของปวงชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญในการมสี วนรว มทางการเมอื งระดับทองถิ่นคอื ขอใด ก. การเลือกตัง้ สมัชชาแหงชาติ ข. การเลือกตง้ั สมาชิกวฒุ ิสภา ค. การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร ง. การเลอื กตั้งผูวาราชการกรุงเทพมหานคร 14. สิทธิเสมอภาคทางกฎหมาย หมายถงึ อะไร ก. ประชาชนทกุ คนมีสิทธอ์ิ อกกฎหมายเหมือนกนั ข. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธร์ิ ับรกู ฎหมายโดยเทา เทยี มกัน ค. ประชาชนทุกคนมีสทิ ธไ์ิ ดร บั สวสั ดกิ ารจากรัฐโดยเทา เทยี มกนั ง. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธไ์ิ ดร ับการคุม ครองตามกฎหมายโดยเทาเทยี มกนั 15. เพราะเหตุใดจึงตองมกี ารจาํ กดั สทิ ธิของประชาชนใหอยูภายใตกฎหมาย ก. เพือ่ รักษาความม่ันคงของชาติ ข. เพื่อรักษาความสงบสขุ ของบานเมอื ง ค. เพือ่ ปอ งกันไมใ หเกดิ การละเมดิ สทิ ธซิ ่งึ กนั และกัน ง. ถูกทุกขอ 16. กฎหมายจราจรทางบกไดเ พม่ิ โทษสงู แกผ ูฝา ฝน ในลักษณะใด ก. เมาสรุ า ข. ขบั รถฝา ไฟแดง ค. ขับรถโดยประมาท ง. ขับรถโดยไมมใี บอนญุ าตขบั ข่ี 17. สทิ ธเิ สรภี าพถูกควบคุมโดยขอ ใด ก. รฐั บาล ข. จริยธรรม ค. กฎหมาย ง. เจาหนาที่ตาํ รวจ

157 18. ใครคอื บคุ คลไดรับความคุมครองสิทธแิ ละเสรภี าพจากรฐั ก. ประชาชน ข. ขาราชการ ค. เดก็ และคนชรา ง. ถกู ทกุ ขอ 19. ตามรัฐธรรมนญู ประชาชนไมม ีสิทธใิ นดา นใด ก. การนบั ถอื ศาสนา ข. การวารายผูอนื่ ค. การประกอบอาชพี ง. การเลือกทอ่ี ยูอาศยั 20. ตามรฐั ธรรมนญู ของไทยสิทธิในดานใดของมนุษยจะไดรบั การปกปอ งเปน พิเศษ ก. สิทธสิ ว นบุคคล ข. การเมอื งการปกครอง ค. สิทธดิ า นการพดู ในท่ีสาธารณะ ง. สทิ ธดิ า นการถือครองทรพั ยสิน กจิ กรรมเร่ืองที่ 2 ใหนกั ศึกษาตอบคาํ ถามโดยอธบิ ายใหเขาใจดงั น้ี 1. เพราะเหตุใดระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงถือวา เหมาะสมทีส่ ุดในปจ จบุ ัน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................ 2. รฐั ธรรมนญู กาํ หนดใหป ระชาชนมีสว นรวมในทางการเมืองอยางไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .....................................................................................

158 3. รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญท่ีไมเปนลายลักษณอักษร อยางไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................... เร่อื งท่ี 2 เปรียบเทยี บรปู แบบทางการเมอื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและระบอบอนื่ ๆ ระบอบการเมืองการปกครอง หมายถึง การจัดระบบใหคนสวนใหญในสังคมสามารถดําเนินชีวิต อยูรวมกันไดอยางมีระเบียบแบบแผน มีความสัมพันธกันอันกอใหเกิดขอตกลงอันดีงามรวมกัน บังเกิด ความผาสกุ และความสามคั คีในสงั คม ซงึ่ แบงออกเปน 2 รปู แบบ คอื 1. ระบอบการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย 2. ระบอบการเมอื งการปกครองแบบมีประธานาธิบดีเปนประมขุ ระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ประชาธิปไตยเปน ระบบการปกครองที่ประเทศสว นใหญในโลกนิยมใชเ ปนหลกั ในการจัดการปกครอง และบรหิ ารประเทศ รวมท้ังประเทศไทยซง่ึ ใชมานานกวา 70 ปแลว การปกครองระบอบประชาธิปไตยเกิดจาก ความศรัทธาในคุณคาของความเปนมนุษยและเช่ือวาคนเราสามารถปกครองประเทศได จึงกําหนดให ประชาชนเปนเจาของอํานาจในการปกครอง ซึ่งถือวาการเมือง การปกครองมาจากมวลชน รูปแบบการ ปกครองแบบประชาธปิ ไตย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รัฐธรรมนูญและการปกครองของไทย ทุกฉบับกําหนดไวอยางชัดแจงวา เทิดทูนพระมหากษัตริยเปนสถาบันสูงสุด ดํารงอยูในฐานะอันเปนท่ีเคารพ สักการะผูใดจะละเมิดมิได รัฐธรรมนูญกําหนดวา ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ มิได พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยจึงมีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญ โดยปกติรัฐธรรมนูญกําหนดให พระมหากษัตริยเปน ผูใชอาํ นาจอธปิ ไตย ซึง่ เปน ของประชาชนโดยใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา อํานาจ บริหารผานทางคณะรัฐมนตรีและอํานาจตุลาการผานทางศาล การกําหนดเชนน้ีหมายความวา อํานาจตาง ๆ จะใชในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยซ่ึงในความเปนจริง อํานาจเหลานี้มีองคกรเปนผูใช ฉะนั้น การท่ีบัญญัติวาพระมหากษัตริยเปนผูใชอํานาจนติ ิบญั ญตั ิ อํานาจบริหารและอาํ นาจตุลาการผา นทางองคกร ตาง ๆ นนั้ จงึ เปนการเฉลมิ พระเกียรติ แตอ ํานาจท่ีแทจริงอยูท่ีองคกรท่ีเปนผูพิจารณานําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อพระมหากษตั ริยท รงลงพระปรมาภิไธย

159 อยางไรก็ตาม แมก ระทงั่ พระมหากษตั รยิ ใ นระบอบรัฐธรรมนูญ จะไดร บั การเชิดชูใหอยเู หนอื การเมอื ง และกําหนดใหมผี ูรับสนองพระบรมราชโองการในการปฏบิ ัติการทางการปกครองทุกอยา ง แตพระมหากษัตริย กท็ รงมีพระราชอาํ นาจบางประการท่ีไดรบั การรับรองโดยรัฐธรรมนูญและเปนพระราชอํานาจที่ทรงใชไดตาม พระราชอธั ยาศัยจรงิ ๆ ไดแ ก การตง้ั คณะองคมนตรี การพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ เปน ตน พระราชอาํ นาจท่ีสง ผลกระทบตอการเมืองการปกครองอยา งแทจรงิ คอื พระราชอํานาจในการยับยั้ง รา งพระราชบญั ญัติ ในกรณีท่ีพระมหากษัตริยทรงไมเห็นดวยกับรางพระราชบัญญัติที่ผานการเห็นชอบของ รัฐสภามาแลว และนายกรัฐมนตรนี ําขึน้ ทลู เกลาฯ ถวายเพื่อพระมหากษตั ริยทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช ก็อาจใชพระราชอาํ นาจยับยั้งเสียก็ได ซึ่งรัฐสภาจะตองนํารางพระราชบัญญัติที่ถูกยับย้ังนั้นไปพิจารณาใหม แตใ นทางปฏบิ ตั ไิ มปรากฏวา พระมหากษัตริยทรงใช พระราชอาํ นาจน้ี 2. ระบอบประชาธปิ ไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข ระบบน้ีไดถูกสรางข้ึนมานานกวา 200 ป แลว โดยมีประเทศสหรัฐอเมริกาเปนแมแบบ ซึ่งมีบทบาทสําคัญทางการเมือง คือ ประธานาธิบดี จะเปน ทั้งผูนําทางการเมืองและเปนผูนําประเทศ ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั่วประเทศ โดยผานคณะผูเลือกต้ัง สวนสมาชิกวุฒิสภาจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนแตละมลรัฐและ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรมาจากการเลือกต้ังของประชาชนในแตละเขตเลือกตั้ง มีการบริหารประเทศโดยมี รองประธานาธบิ ดแี ละรฐั มนตรีรวม

160 ปจ จบุ นั มีระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข เรียกวา ระบบกึ่งประธานาธิบดี ซึ่งมีมาเมื่อประมาณ 40 ปน้ี โดยมีประเทศฝร่ังเศสเปนแมแบบ ระบบน้ีประชาชน จะเปนผูเ ลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดแี ละผแู ทนราษฎรโดยตรง แตการเลือกวุฒิสภาจะเลือกโดยสมาชิกสภาผูแทน ราษฎร สมาชิกสภาจังหวัดและผูแทนสภาเทศบาลจะเปนผูเลือกแทนประชาชน ประธานาธิบดีจะเปนท้ัง ประมขุ และผูนําประเทศท่ีสําคัญท่ีสุด แตจะไมมีตําแหนงรองประธานาธิบดี จะมีนายกรัฐมนตรีเปนผูจัดตั้ง คณะรฐั มนตรี โดยมีความเห็นชอบและไววางใจจาก สภาผูแทนราษฎรและสภาผูแทนราษฎรน้ีมีอํานาจปลด นายกรฐั มนตรีหรือรัฐมนตรีได แตนายกรัฐมนตรีไมมีสิทธิ์ยุบสภา ผูมีอํานาจยุบสภา คือ ประธานาธิบดีและ คณะรัฐมนตรีสามารถเสนอรา งกฎหมายไดเ หมอื นระบบรัฐสภาโดยท่ัวไป ระบอบการเมอื งการปกครองแบบเผดจ็ การ การปกครองแบบเผด็จการ เปนระบบการเมืองที่รวมอํานาจแบบเบ็ดเสร็จไวท่ีผูนําคนเดียวหรือ คณะเดียวใหอํานาจการตัดสินใจที่รัฐ การปกครองและการบริหารประเทศใหความสําคัญกับรัฐมากกวา ประชาชน รวมทั้งประโยชนที่รัฐจะไดรับ ประชาชนเปรียบเสมือนเปนสวนประกอบ ของรัฐเทาน้ัน และท่ี สําคัญรฐั จะตอ งสงู สุดและถกู ตอ งเสมอ การปกครองแบบเผด็จการ แบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ แบบอํานาจ นิยมและแบบเบด็ เสร็จนิยม เผด็จการแบบอํานาจนิยม หมายถึง การใหอํานาจแกผูปกครองประเทศเปนสําคัญ ประชาชนไมมี สว นรว มและรบั รคู วามเปนไปของบานเมือง จะรูก็ตอเมื่อผูนําหรือคณะผูปกครองประเทศมีความตองการให รับรูเทา น้นั โดยถือวา เรื่องการเมืองเปนเร่อื งเฉพาะของผูป กครองประเทศเทา นั้น ประชาชนจะเขาไปเกี่ยวของ ไดในกรณีท่ีผูปกครองตองการสรางความชอบธรรมในบางเรื่องและบางสถานการณ แตก็เปนไปโดยจํากัด ประชาชนตอ งอยใู ตก ารปกครองและจะตองฟง คาํ สั่งอยา งเครง ครดั แตประชาชนจะไดรับสิทธิเสรีภาพในการ นับถอื ศาสนา สาํ หรบั เรอ่ื งทางเศรษฐกิจและสังคมทั่วไป ผูปกครองที่มักจะเปดโอกาสใหประชาชนไดดําเนิน กจิ การตา ง ๆ ไดอยางเตม็ ที่ แตตองระมดั ระวังไมใ หก ระทบอํานาจของผูปกครอง ลกั ษณะการปกครองแบบอํานาจนิยม 1. อํานาจทางการเมืองเปนของผูนํา มุงหมายที่จะควบคุมสิทธิเสรีภาพของทางการปกครองของ ประชาชนเปน สําคญั 2. การบริหารประเทศดําเนินไปอยางมีเอกภาพ รวมอํานาจไวท่ีรัฐบาลกลาง ประชาชนไมมีสวนรวม ในการปกครองประเทศ 3. ประชาชนตองปฏบิ ตั ติ ามคาํ สง่ั ของผนู ําอยางเครง ครัดและตองไมดําเนินการใด ๆ ท่ขี ดั ขวางนโยบาย ของผนู ํา 4. ควบคุมประชาชนดวยวิธีการลงโทษอยา งรุนแรงแตกม็ กี ารใชกระบวนการยตุ ิธรรมอยูบ าง 5. ลักษณะการปกครองแบบนี้ปจจุบันยังใชกันอยูหลายประการ ท้ังในทวีปอเมริกาใต แอฟริกาและ เอเชยี

161 เผด็จการแบบเบด็ เสรจ็ นิยม หมายถงึ รฐั บาลจะใชอํานาจอยา งเต็มท่ี ควบคุมกิจกรรมทัง้ ดานการเมอื ง เศรษฐกจิ และสังคมของประชาชนทุกคน แสดงใหเ หน็ ถึงประชาชนไมมสี ิทธเิ สรภี าพอันใด ระบบเผด็จการแบบน้ี ยังแบง รูปแบบออกไดอ กี 2 รปู แบบ คือ 1. ระบบเผดจ็ การแบบเบด็ เสร็จนิยมของพวกฟาสซสิ ต รูปแบบของระบบนีจ้ ะเหน็ การใชอ าํ นาจ รฐั ควบคมุ กิจกรรมตาง ๆ ของประชาชนอยางทวั่ ถึง นโยบายสง เสริมชาตินิยมเปนไปอยา งรนุ แรงและสรา งความ แข็งแกรง เพือ่ แสดงถงึ ความยิ่งใหญของชาติ 2. ระบบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จนิยมคือการปกครองแบบคอมมิวนิสต รูปแบบของระบบเนน การใชอํานาจรัฐควบคุมกิจกรรมตาง ๆ ของประชาชนอยางท่ัวถึง คลายกับพวกฟาสซิสตแตจะเชิดชูชนชั้น กรรมาชีพและทําลายลางชนชน้ั อ่ืน ๆ ใหหมดสนิ้ รวมทัง้ ชนชัน้ อื่น ๆ ทุกสังคมทั่วโลก เปาหมายตองการใหมี สงั คมโลก มีการปกครองแบบคอมมวิ นิสต ลกั ษณะการปกครองแบบเผด็จการเบ็ดเสรจ็ นยิ ม 1. สรางศรัทธาใหป ระชาชนยึดมนั่ ในระบบการปกครองและผูนําอยา งมั่นคงและตอ เน่ืองตลอดไป 2. ควบคุมการดําเนินกจิ กรรมตา ง ๆ ของประชาชนทงั้ ดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ประชาชน ไมมสี ิทธิเสรีภาพใด ๆ ทัง้ ส้ิน 3. ประชาชนตองเชื่อฟง คาํ สง่ั ของผูน ําอยางเครงครดั จะโตแ ยง ไมได 4. มีการลงโทษอยางรนุ แรง 5. รฐั บาลมอี ํานาจอยา งเต็มท่ี กิจการในดานการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม และการศกึ ษาจะตอ งอยูภายใตก ารควบคมุ ของรัฐ 6. มีการโฆษณาชวนเชอ่ื และอบรมประชาชนในรปู แบบตา ง ๆ 7. ลักษณะการปกครองแบบนี้ ปจจุบันยังใชกันอยูหลายประเทศ เชน โซเวียตรัสเซีย สาธารณรัฐ ประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เขมร เวียดนามและเยอรมนี เปนตน แตสังคมในโลก ปจ จุบัน การแขงขันเศรษฐกิจสูงสงผลใหประเทศตาง ๆ เหลาน้ีพยายามผอนคลายกฎเกณฑลงมีความเปน ประชาธิปไตยเพม่ิ ขึน้ เพ่ือใหม ีความสามารถในทางเศรษฐกจิ

162 เปรยี บเทียบขอดี ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครองระบอบเผด็จการ ขอดีของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ขอดีของการปกครองระบอบเผด็จการ 1. ประชาชนทกุ คนมคี วามเทา เทยี มกัน 1. รัฐบาลมคี วามเขม แขง็ ในดา นกฎหมาย 2. รฐั บาลมคี วามมั่นคงเปน ปกแผน 3. การตดั สินใจในกจิ การตาง ๆ เปน ไปอยา ง 2. ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิเสรภี าพในทกุ ๆ ดา น เพราะทกุ คนตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย รวดเรว็ เชน เดยี วกนั 3. รัฐบาลไมส ามารถผกู ขาดอาํ นาจไดเ นอื่ งจาก ประชาชนเปน ผูค ดั เลอื กรฐั บาลและหากไม พอใจยงั สามารถถอดถอนรฐั บาลได 4. การแกไขปญ หาตา ง ๆ ยดึ ถือแนวทางสนั ตวิ ธิ ีมี การเจรจาอยา งมเี หตผุ ลและมหี นว ยงานรองรบั กรณพี ิพาทระหวางรฐั และเอกชน เชน ศาลปกครอง ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ขอเสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. การแกไ ขบา นเมืองบางครง้ั มคี วามลา ชา 1. ประชาชนไมม สี ว นรว มในการปกครอง เนอื่ งจากมกี ระบวนการหลายขัน้ ตอนทต่ี อง 2. ไมค ํานงึ ถงึ ความตองการของประชาชน ผานความเหน็ ชอบซง่ึ บางคร้ังอาจแกไ ขได 3. รฐั บาลและประชาชนไมมคี วามสมั พันธก ัน ไมทนั เวลา อยา งใกลช ดิ 2. ในบางประเทศประชาชนสว นใหญยงั ขาด 4. ประชาชนไมไ ดรบั ความเปนธรรมเทาทค่ี วร ความรใู นดา นการเมอื งการปกครอง 5. ผูนําอาจใชอํานาจเพื่อประโยชนส ว นตน ในกรณคี ดั เลือกผแู ทนบรหิ ารอาจไมเ หมาะสม จะสง ผลกระทบตอ รฐั บาลได และพวกพองได 6. การบรหิ ารประเทศอยทู ี่ผูน าํ หรอื คณะเพยี ง 3. ในการเลือกตงั้ แตล ะครงั้ จาํ เปน ตอ งใชเ งนิ เปน จํานวนมากดงั นั้นประเทศยากจนจงึ เหน็ วา เปน กลมุ เดยี ว การตดั สินใจ การแกไ ขปญ หาอาจ การเสยี เงินโดยไมก อ ใหเ กดิ ประโยชนแ ละควร ผดิ พลาดไดงา ย นาํ เงนิ ไปใชใ นการพฒั นาประเทศสง เสริมให 7. ประชาชนไมม ีอสิ ระในการประกอบอาชพี ประชาชนมงี านทาํ หรือชว ยเหลือประชาชน อยางเต็มทส่ี ง ผลใหค วามเปนอยขู อง ทย่ี ากจน ประชาชนไมค อ ยดแี ละอาจทําใหไ มม คี วามสขุ

163 กจิ กรรมท่ี 3 ใหนกั ศกึ ษาตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ โดยอธิบายใหเขา ใจและไดใ จความทส่ี มบูรณ 1. รูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบมพี ระมหากษตั ริยเ ปน ประมขุ รฐั ธรรมนญู การปกครองของไทยทกุ ฉบบั กาํ หนดสาระไวอ ยางไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................... 2. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยระบบประธานาธิบดีมลี กั ษณะการปกครองอยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................... 3. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของทกุ ประเทศจะมรี ปู แบบการปกครองแตกตา งกัน แตหลกั การใหญ ๆ จะมเี หมือนกนั คืออะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................... 4. ใหน กั ศึกษาบอกขอ ดแี ละขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครองระบอบ เผดจ็ การ ขอ ดี ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. ..........................................................................................................................

164 ขอเสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................... ขอ ดี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................... ขอ เสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................... กิจกรรมที่ 4 ใหนกั ศึกษาเลือกคาํ ตอบทีถ่ กู ตอ งทสี่ ดุ เพยี งขอ เดยี วในขอ คาํ ถามตอ ไปน้ี 1. หนา ที่ของคนไทยทตี่ องดํารงความเปน ไทย คอื ขอใด ก. การปอ งกนั ประเทศ ข. เคารพสทิ ธเิ สรีภาพของผูอนื่ ค. การรับราชการทหารและเสยี ภาษอี ากร ง. ดํารงไวซ งึ่ ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย 2. ขอใดไมใ ชสทิ ธขิ องประชาชนชาวไทยทก่ี ฎหมายรฐั ธรรมนญู บัญญัติไว ก. สิทธใิ นทรพั ยส นิ ข. สิทธทิ างการเมอื ง ค. สทิ ธเิ สนอเรอ่ื งราวรอ งทุกข ง. สิทธิทจี่ ะไดร ับสวสั ดกิ ารเมอื่ สงู อายุ 3. ประชาชนทุกคนมสี ทิ ธแิ ละเสรีภาพเพยี งใด ก. ไมม ีขอบเขตจาํ กดั ข. มีจํากัดโดยอาํ นาจของผปู กครอง ค. มีจาํ กัดโดยขอ บญั ญตั ขิ องกฎหมาย ง. มีจาํ กัดตามฐานะของแตล ะบคุ คล

165 4. พฤตกิ รรมในขอ ใดทแ่ี สดงวาประชาชนยงั ไมต ระหนกั ถงึ สทิ ธแิ ละหนาที่ของตนเอง ตามระบอบประชาธปิ ไตย ก. ลุงบญุ มี ฟงขา วสารการเมอื งจากวทิ ยกุ อ นนอนทกุ คืน ข. นายออ น รวมเดินขบวนประทว งนโยบายปรบั คาจา งแรงงาน ค. สมหญงิ เขียนบทความลงหนงั สอื พมิ พเ สนอวธิ ีแกป ญ หายาเสพติด ง. สมชาย ไมไ ปลงคะแนนเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรเพราะไมว าง 5. เพราะเหตใุ ดการปกครองแบบประชาธปิ ไตยจงึ ไดร บั ความนยิ มมากกวา การปกครอง แบบอน่ื ก. พระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข ข. มีการจดั ตง้ั พรรคการเมอื งไดหลายพรรค ค. มีการเลอื กตง้ั ผนู าํ ฝา ยบรหิ ารเขา ไปปกครองประเทศ ง. ประชาชนมโี อกาสทจี่ ะเขาไปมสี ว นรวมในการปกครอง 6. ความมอี สิ ระในการกระทาํ ของบคุ คลโดยไมขดั ตอกฎหมายคืออะไร ก. สิทธิ ข. หนาที่ ค. อํานาจ ง. เสรภี าพ 7. ลกั ษณะการสง เสรมิ การปกครองแบบประชาธปิ ไตยทีด่ ีคือขอ ใด ก. เปด โอกาสใหป ระชาชนแสดงออก ข. ใหก ารศกึ ษาแกป ระชาชนอยา งเต็มที่ ค. ใหม กี ารเลือกตงั้ สม่ําเสมอเปน ประจาํ ง. สงเสรมิ รายไดประชาชนอยา งตอเนอ่ื ง 8. นกั ศกึ ษาคดิ วา การเมอื งเปน เรือ่ งของใคร ก. คณะรฐั มนตรี ข. รฐั สภาเทานน้ั ค. ประชาชนทุกคน ง. พรรคการเมอื งเทาน้ัน 9. ขอความใดกลาวถกู ตอ ง ก. ประเทศจนี และลาวมรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั ข. ประเทศรสั เซยี กบั จนี มรี ะบบการปกครองแตกตางกนั ค. ประเทศไทยและประเทศองั กฤษมรี ะบอบการปกครองเหมอื นกัน ง. ประเทศอังกฤษและประเทศสหรฐั อเมริกามรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั

166 10. ขอ ใดเปน เรอื่ งทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9) ทรงใหค วามชว ยเหลอื ประชาชนมากทสี่ ดุ ก. สนบั สนุนใหม ีอาชพี ข. ใหท นุ การศึกษาเด็กยากจน ค. ใหย ารกั ษาโรค ชวยเหลือผปู ว ย ง. แสวงหาแหลง นา้ํ เพือ่ การเกษตร

167 แนวเฉลยกิจกรรม บทท่ี 1 ภมู ิศาสตรกายภาพทวปี เอเชีย กิจกรรมที่ 1.1 ลักษณะทางภมู ิศาสตรกายภาพของประเทศในทวปี เอเชยี 1) ใหผเู รยี นอธบิ ายจุดเดนของลกั ษณะภูมปิ ระเทศในทวปี เอเชยี ท้งั 5 เขต 1. เขตท่ีราบตาํ่ ตอนเหนอื สว นใหญอยใู นเขตโครงสรางแบบหินเกา มีลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบ ขนาดใหญ มีแมน้ําออบ แมน้ําเยนิเซ และแมนํ้าลีนาไหลผาน แตไมคอยมีผูคนอาศัยอยู เพราะเน่ืองจากมี ภูมิอากาศหนาวเยน็ มากและทําการเพาะปลูกไมไ ด 2. เขตที่ราบลุมแมนํ้า มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบและมักมีดินอุดมสมบูรณ เหมาะแก การเพาะปลูก สวนใหญอยูท างเอเชียตะวันออก เอเชยี ใต และเอเชียตะวนั ออกเฉียงเหนือ ไดแก ที่ราบลุม ฮวงโห แยงซี จีน สินธุ คงคา พรหมบุตร ในประเทศปากสี ถาน อนิ เดยี และบงั กลาเทศ ที่ราบลุมแมน้ําไทกริส ยูเฟรทีส ในประเทศอิรัก ท่ีราบลุมแมน้ําโขงตอนลาง ในประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําแดง ในประเทศเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยา ในประเทศไทย ที่ราบลุมแมนํ้าสาละวินตอนลาง ท่ีราบลุม แมน าํ้ อิระวดี ในประเทศสาธารณรัฐแหง สหภาพพมา 3. เขตเทอื กเขาสูง เปน เขตเทือกเขาหินใหม เทือกเขาสงู เหลานสี้ วนใหญเปนเทอื กเขาทแ่ี ยกตัวไปจาก จุดรวมทีเ่ รยี กวา ปามีรนอต ตอนกลางประกอบไปดวยที่ราบสูง มีเทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันออก ไดแก เทอื กเขาหิมาลัย เทอื กเขาอาระกนั โยมา และเทือกเขาท่ีมีแนวตอเนื่องลงมาทางใต มีบางสวนท่ีจมหายไปใน ทะเล และบางสว นโผลข ้ึนมาเปน เกาะ ในมหาสมทุ รอนิ เดยี และมหาสมทุ รแปซิฟก ถัดจากเทอื กเขาหิมาลยั ขน้ึ ไป ทางเหนือ มเี ทอื กเขาท่ีแยกไปทางตะวันออก ไดแก เทือกเขาคนุ ลนุ เทอื กเขาอัลตินตัก เทือกเขานานชาน และ แนวทแี่ ยกไปทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ไดแก เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลไต ฯลฯ เทือกเขาท่ีแยกไป ทางทศิ ตะวันตก แยกเปนแนวเหนอื และแนวใต แนวเหนือ ไดแ ก เทือกเขาฮินดูกูช เทอื กเขาเอลบูชร สวนแนว ใต ไดแ ก เทอื กเขาสุไลมาน เทอื กเขาซากรอส 4. เขตที่ราบสูงตอนกลางทวีป เปนท่ีราบสูงอยูระหวางเทือกเขาที่หินใหม ไดแก ที่ราบสูงทิเบต ซงึ่ เปนทร่ี าบสูงขนาดใหญและสูงทส่ี ดุ ในโลก ท่รี าบสูงยนู นาน ทางใตข องประเทศจีน และทีร่ าบสูงท่ีมีลกั ษณะ เหมอื นแอง ช่อื ตากลามากนั ซ่ึงอยรู ะหวา งเทือกเขาเทยี นชานกับเทอื กเขาคุนลุน แตอยูสูงกวาระดับน้ําทะเล มาก และมีอากาศแหงแลง เปน เขตทะเลทราย 5. เขตท่รี าบสงู ตอนใตและตะวนั ตกเฉยี งใต เปน ท่ีราบสงู ตอนใต และตะวันตกเฉียงใต ไดแก ทีร่ าบสูง ขนาดใหญทางตอนใตของทวีปเอเชีย ซ่ึงมีความสูงไมมากเทากับท่ีราบสูงทางตอนกลางของทวีป ท่ีราบสูง ดังกลาว ไดแก ที่ราบสูงเดคคาน ในประเทศอินเดีย ที่ราบสูงอิหราน ในประเทศอิหราน และอัฟกานิสถาน ท่รี าบสงู อนาโตเลีย ในประเทศตรุ กีและท่ีราบสูงอาหรบั ในประเทศซาอุดีอาระเบยี 2) ภมู อิ ากาศแบบใดที่มีหมิ ะปกคลมุ ตลอดป และพชื พรรณทีป่ ลกู เปน ประเภทใด ภูมอิ ากาศแบบทุนดรา (ขัว้ โลก) พชื พรรณธรรมชาติเปน พวกตะไครนา้ํ และมอสส

168 กิจกรรมที่ 1.2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ 1) ใหผูเรียนอธิบายวาการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรงจะสงผลกระทบตอประชากรและสิ่งแวดลอม อยา งไรบาง - ประชาชนไดร บั ความเดือดรอน อาจถึงขั้นเสียชวี ติ หรือบาดเจบ็ สาหสั ขาดท่ีอยูอ าศัย - ประชาชนปว ยเปนโรคจิตเวช ซ่งึ เกิดขน้ึ กับเหย่ือภยั พิบตั ทิ กุ ชนดิ - อาคารและสิ่งกอ สรา งตา ง ๆ เสยี หาย - อาชีพการใหบ รกิ าร เชน คา ขาย ฯลฯ 2) ใหบอกความแตกตางและผลกระทบท่เี กิดตอ ประชากรและส่ิงแวดลอมของพายุฝนฟาคะนอง พายุ หมุนเขตรอ น และพายุทอรน าโด 1. พายุฝนฟาคะนอง มีลักษณะเปนลมพัดยอนไปมา หรือพัดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจเกดิ จากพายุทอ่ี อ นตัวและลดความรุนแรงของลมลง หากสภาพแวดลอมตางๆ เหมาะสม กจ็ ะเกิดฝนตก ผลกระทบ คือ อาจจะถกู ฟา ผา เกดิ นํา้ ทวมขงั 2. พายหุ มนุ เขตรอนตา ง ๆ เชน เฮอรริเคน ไตฝุน และไซโคลน ซึ่งลวนเปนพายุหมุนขนาดใหญ เชนเดยี วกนั จะเร่มิ ตนกอตัวในทะเล หากเกดิ เหนือเสน ศูนยส ตู ร จะมที ิศทางการหมุนทวนเข็มนาฬิกา และหาก เกดิ ใตเ สน ศนู ยส ูตรจะหมุนตามเขม็ นาฬกิ า โดยมีช่อื ตางกนั ตามสถานทเ่ี กดิ ผลกระทบ คือ ฝนตกชุก นํ้าทวม ประชาชนอาจไดรับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต อาคารบานเรือน ทรพั ยสนิ และสาธารณปู โภคตา ง ๆ เสียหาย ถา พายุมคี วามเรว็ สงู ก็จะทําใหส ง่ิ กอ สรา งและอาคารบานเรือนพัง เสยี หาย ราบเปน หนา กลอง 3. พายทุ อรนาโด เปนช่ือเรียกพายุหมนุ ทเี่ กดิ ในทวีปอเมรกิ า มขี นาดเนอื้ ทเี่ ล็กหรือเสน ผา ศูนยก ลาง นอ ย แตหมุนดวยความเร็วสงู หรอื ความเรว็ ที่จดุ ศูนยกลางสงู มากกวา พายหุ มุนอ่นื ๆ กอความเสียหายไดรุนแรง ในบรเิ วณท่พี ดั ผาน เกิดไดท ้ังบนบกและในทะเล ผลกระทบ คอื ประชาชนอาจไดรบั บาดเจ็บหรือเสยี ชีวิต สง่ิ กอ สรางและอาคารบานเรอื นพงั เสียหาย ราบเปนหนา กลอง 3) คลื่นสึนามิสงผลกระทบตอส่งิ แวดลอ มมากมายหลายอยา งในความคิดเหน็ ของผูเรียนผลกระทบดานใด ท่เี สียหายมากท่ีสุด พรอมใหเหตุผลประกอบ ผลกระทบตอชวี ติ ของประชากรและทรพั ยส นิ ท่ีอยูอ าศยั เพราะเมือ่ เกดิ เหตุการณแลว ประชาชนจะรสู ึก กลวั วา จะเกิดเหตุการณแ บบน้ีอีกในอนาคต ทําใหเกิดวิตกจรติ การสูญเสยี ชวี ติ ของญาติมิตร ครอบครัว ภูมิทัศน ในการประกอบอาชพี เปลย่ี นแปลงไปเพราะทกุ อยางโดนกวาดตอ นลงทะเลไปในเวลาฉับพลนั เปน การสญู เสยี ครง้ั ยง่ิ ใหญ ดังน้ันผูที่อาศยั อยใู นบรเิ วณนี้ จงึ มคี วามวิตกจรติ อยูตลอดเวลา กิจกรรมท่ี 1.3 วธิ ีใชเครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร 1) ถา ตอ งการทราบระยะทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนง่ึ ผเู รยี นจะใชเ ครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตรชนิดใด แผนท่ี

169 2) ภาพถา ยจากดาวเทียม มปี ระโยชนใ นดานใดบาง ใหข อ มูลพื้นผวิ ของเปลือกโลก ทาํ ใหเห็นภาพรวมของการใชพื้นที่ และการเปล่ียนแปลงตาง ๆ ตามที่ ปรากฏบนพ้นื โลก ซง่ึ เหมาะแกการศกึ ษาทรพั ยากรผวิ ดนิ เชน ปาไม การใชประโยชนจากดิน หิน และแร 3) แผนท่ี มีประโยชนในดา นใดบาง 1. ดา นการเมืองการปกครอง เพ่ือใชศึกษาสภาพทางภมู ิศาสตรและนํามาวางแผนดําเนินการ เตรียมรับ หรือแกไ ขสถานการณที่เกดิ ขน้ึ ได 2. ดานการทหาร ในการพจิ ารณาวางแผนทางยุทธศาสตรข องทหาร ตองหาขอ มลู หรือขาวสารที่เก่ียวกับ สภาพภมู ิศาสตร และตําแหนง ทางสิ่งแวดลอม 3. ดานเศรษฐกจิ และสังคม ดา นเศรษฐกิจ ใชงานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ใชเ ปนขอ มูลพื้นฐานเพือ่ ใหทราบทาํ เลทต่ี ้ังสภาพทางกายภาพ แหลงทรัพยากร 4. ดา นสงั คม สภาพแวดลอ มทางสังคมมกี ารเปลย่ี นแปลงอยเู สมอ การศกึ ษาสภาพการเปลี่ยนแปลงตอง อาศัยแผนทเ่ี ปน สําคัญ และอาจชว ยใหก ารดาํ เนนิ การวางแผนพฒั นาสงั คมเปน ไปในแนวทางทถี่ กู ตอง 5. ดา นการเรยี นการสอน แผนท่เี ปนตัวสง เสรมิ กระตุนความสนใจ และกอ ใหเ กิดความเขา ใจในบทเรยี นดี ขึน้ ใชเ ปนแหลง ขอ มลู ทงั้ ทางดานกายภาพ ภมู ภิ าค 6. ดานสง เสรมิ การทอ งเท่ยี ว แผนที่มีความจําเปน ตอ นักทอ งเทยี่ วในอันท่จี ะทาํ ใหรูจ กั สถานทท่ี องเทยี่ ว ไดง า ย สะดวกในการวางแผนการเดนิ ทางหรือเลอื กสถานที่ทองเที่ยวตามความเหมาะสม 4) ถาตองการทราบวาประเทศไทยอยูพิกดั ภูมศิ าสตรท ่ีเทา ไหร ผูเรียนจะใชเ ครอื่ งมือทางภูมศิ าสตรชนดิ ใด ไดบ า ง แผนที่ และลกู โลก กิจกรรมท่ี 1.4 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพของไทยท่ีสงผลตอทรัพยากรตาง ๆ และสง่ิ แวดลอม 1) ใหผูเ รียนอธบิ ายวาสภาพภูมศิ าสตรของประเทศไทย ทง้ั 6 เขต มีอะไรบาง และแตละเขตสวนมาก ประกอบอาชพี อะไร 1. เขตภูเขาและหุบเขาทางภาคเหนือ ลักษณะภมู ปิ ระเทศเปนภูเขาและเทือกเขา จะทอดยาวในแนว หรือใตสลับกับท่ีราบหุบเขา โดยมีท่ีราบหุบเขาแคบ ๆ ขนานกันไป อันเปนตนกําเนิดของแมนํ้าลําคลอง หลายสาย ทาํ ใหเกดิ ทรี่ าบลมุ แมน ํ้า ซึง่ อยูร ะหวางหบุ เขาอันอดุ มสมบรู ณไปดวยทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ คลา ยคลึงกบั ภมู ิอากาศทางตอนใตข องเขตอบอุน ของประเทศทมี่ ี 4 ฤดู ประกอบอาชีพเพาะปลูก เล้ียงสตั ว และ ทาํ เหมอื งแร 2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวนั ตก ลักษณะภูมิประเทศเปนพ้ืนท่ีแคบ ๆ ทอดยาวขนานกับพรมแดน ประเทศพมา สว นใหญเปนภูเขา มแี หลงทรัพยากรแรธ าตุ และปา ไมข องประเทศ มีปรมิ าณฝนเฉลี่ยตา่ํ กวา ทุกภาค ประชากรสว นใหญอยใู นเขตท่รี าบลุมแมนํา้ และชายฝง ลักษณะภูมิอากาศ โดยท่ัวไปมีความแหงแลง มากกวาในภาคอ่ืน ๆ ประกอบอาชีพปลกู พืชไรและการประมง

170 3. เขตที่ราบของภาคกลาง ลกั ษณะภูมิประเทศสว นใหญเปน ทร่ี าบลมุ แมน้ําอันกวางใหญ มีลักษณะเอียงลาด จากเหนอื ลงมาใต เปนที่ราบทม่ี คี วามอุดมสมบรู ณม ากท่สี ุดเพราะเกิดการทับถมของตะกอน ประกอบอาชีพ การเกษตร (ทํานา) 4. เขตภูเขาและท่ีราบบรเิ วณชายฝง ทะเลตะวันออก ลกั ษณะภมู ิประเทศเปนเทือกเขาสูงและที่ราบ ซ่งึ สวนใหญเปนที่ราบลกู ฟกู และมแี มน ํา้ ทีไ่ หลลงสอู าวไทย แมน้ําในภาคตะวันออกสวนมากเปน แมน้าํ สายสนั้ ๆ ซง่ึ ไดพ ดั พาเอาดินตะกอนมาทง้ิ ไว จนเกดิ เปนท่รี าบแคบ ๆ ตามทีล่ มุ ลักษณะชายฝง และมีลักษณะภูมิประเทศ เปนเกาะ อาว และแหลม ลักษณะภูมิอากาศมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจาก อาวไทย จึงทําใหมีฝนตกชุก หนาแนน บางพน้ื ทีป่ ระกอบอาชีพการประมง ทําสวนผลไม ปจ จุบนั มีการทาํ สวนยางพารา 5. เขตท่ีราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบสูงขนาดต่ําทางบริเวณ ตะวนั ตกของภาคจะมภี เู ขาสงู ทางบริเวณตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองกระทะ มีแมน้ําชีและแมน้ํามูล ไหลผา น ยงั มที ีร่ าบโลงอยูหลายแหง โดยมแี นวทวิ เขาภพู านทอดโคง ยาวคอนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของ ภาค ถดั เลยจากแนวทวิ เขาภพู านไปทางเหนอื มแี องทรดุ ตา่ํ ของแผนดิน ประกอบอาชพี ทาํ นา การประมงน้ําจืด 6. เขตคาบสมทุ รภาคใต ลกั ษณะภูมิประเทศเปนคาบสมทุ รยืน่ ไปในทะเล มเี ทือกเขาทอดยาวในแนว เหนอื ใต ท่ีเปน แหลงทับถมของแรดีบกุ บริเวณชายฝง ทะเล ทั้งสองดา นของภาคใตเปนท่ีราบมีประชากรอาศัย อยูหนาแนน ภาคใตไดรับอิทธิพลความชื้นจากทะเลทั้งสองดาน มีฝนตกชุกตลอดป และมีปริมาณฝนเฉล่ียสูง ประกอบอาชพี ยางพารา ปาลม นาํ้ มนั การประมง 2) ผเู รียนคดิ วา ประเทศไทยมที รัพยากรอะไรท่มี ากท่ีสดุ บอกมา 5 ชนดิ แตล ะชนดิ สงผลตอ การ ดาํ เนินชวี ิตของประชากรอยา งไรบาง ปา ไม ประชากรประกอบอาชพี ทาํ เฟอรน ิเจอร ทาํ ของปาขาย แรด บี กุ ประชากรประกอบอาชพี อตุ สาหกรรมเหมืองแร ลกิ ไนต ประชากรประกอบอาชีพ อตุ สาหกรรมเหมืองแร พลอย ประชากรประกอบอาชพี การเจยี รนัยพลอย ทรัพยากรสตั วน ้ํา ประชากรประกอบอาชีพ การประมง กจิ กรรมท่ี 1.5 ความสาํ คญั ของการดํารงชวี ติ ใหส อดคลองกับทรพั ยากรในประเทศ 1) ใหผ เู รียนอธบิ ายวาในภาคเหนือของไทยประชากรจะอาศัยอยูหนาแนนในบริเวณใดบาง พรอมให เหตุผล และสวนมากจะประกอบอาชพี อะไร ประชากรสวนใหญอาศัยอยหู นาแนน ตามท่รี าบลมุ แมนํ้า ประกอบอาชพี ทํานา ทําไร 2) ผูเรียนคดิ วาภาคใดของไทย ทส่ี ามารถสรา งรายไดจ ากการทอ งเที่ยวมากที่สดุ พรอมใหเหตุผลและ สถานทที่ อ งเทยี่ วดงั กลาวคืออะไรบาง พรอมยกตัวอยา ง ภาคใตแ ละภาคตะวนั ออก เพราะมีชายฝง ทะเลทีง่ ดงาม มีเกาะแกงมากมาย มกี ารบริการทีป่ ระทบั ใจ ภาคเหนอื มปี า ไม มีวฒั นธรรมดัง้ เดมิ คอื จังหวัดเชยี งใหม เชยี งราย

171 3) ปจจัยใดทีท่ ําใหม ปี ระชากรอพยพเขามาอาศัยอยใู นภาคตะวันออกมากขน้ึ การเจริญเติบโตของเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด และทาเรือนํ้าลึกเพ่ือขนสงลงทะเลและมีแหลง ทองเทยี่ วอนั งดงาม 4) ทวีปใดท่ีกลาวกนั วาเปน ทวปี “แหลงอารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจงึ กลาวเชนน้นั ทวีปเอเชียเพราะเปน ดินแดนทค่ี วามเจรญิ เกดิ ขึน้ กอนทวีปอื่นๆ ประชากรรจู กั และตง้ั ถน่ิ ฐานกันมากอ น อารยธรรมทสี่ ําคญั ๆ คอื อารยธรรมจีน อินเดยี ขอม 5) ในทวีปเอเชีย ประชากรจะอาศยั อยูกันหนาแนนบรเิ วณใดบา ง เพราะเหตุใด ริมชายฝงทะเลและท่ีราบลุมแมนํ้าตาง ๆ เชน ลุมแมนํ้าเจาพระยา ลุมแมนํ้าแยงซีเกียง ลุมแมนํ้าแดง และลุมแมนํ้าคงคา และในเกาะบางเกาะท่ีมีดินอุดมสมบูรณ เชน เกาะของประเทศฟลิปปนส อินโดนีเซีย และญปี่ นุ แนวเฉลยกจิ กรรม บทท่ี 2 ประวตั ิศาสตรท วปี เอเชยี คาํ ชแี้ จง ใหผูเรยี นเขียนเครือ่ งหมายถกู () หนา ขอ ความทถี่ ูกและเขยี นเคร่ืองหมายผิด () หนา ขอความทีผ่ ิด .............. 1. ประเทศจีนเปนประเทศในแถบภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกที่มีพน้ื ที่ใหญท ี่สุดในโลก ............ 2. ประเทศอินเดียเปน ประเทศประชาธิปไตยทม่ี ีประชากรมากท่ีสุดในโลก ............ 3. กษัตริยพมาท่ีสามารถรวบรวมประเทศใหเปนปกแผนเดียวกันไดสําเร็จเปนครั้งแรก คือ พระเจาอโนรธา กษัตรยิ เมอื งพยู ............ 4. พระเจา ตะเบง็ ชะเวต้ี กษตั รยิ พมา ทสี่ ามารถตีกรงุ ศรอี ยุธยาแตกในป พ.ศ. 2112 ............ 5. ประเทศอนิ โดนเี ซียเปนประเทศท่เี ปนหมูเกาะทใี่ หญท ส่ี ดุ ในโลก ............ 6. สงครามเจ็ดป (Seven Years’ War) เปน สงครามทเี่ กดิ ขน้ึ ในฟลิปปน สจนทาํ ใหญีป่ ุนเกิด การสูญเสียมากท่สี ุด ............ 7. ประเทศญป่ี ุนไดชอื่ วา “ดนิ แดนแหงพระอาทิตยอุทยั ” ............ 8. ยุคศกั ดินา หมายถงึ ยคุ ท่ีจกั รพรรดเิ ปน ใหญที่สดุ ในญีป่ นุ ............ 9. การทิ้งระเบดิ ท่ีเมืองฮิโรชมิ าและนางาซากิ ทําใหญีป่ ุนตองยอมแพสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ............ 10. ญป่ี นุ เปน ประเทศหนง่ึ ท่ีตอ ตานสหรฐั เมรกิ าสงกองกาํ ลงั ทหารไปสูรบในอริ กั ............ 11. ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนจนี มีการลงทุนในประเทศไทยเปน อนั ดบั 2 รองจากญป่ี นุ ............ 12. กลมุ ICS เปนกลมุ ชนช้นั กรรมกรที่องั กฤษคัดเลอื กใหท ํางานในอนิ เดยี และพมา ............ 13. ประเทศไทยตกเปน อาณานิคมของชาติตะวนั ตกและทาํ ใหเสยี ดนิ แดนไปถึง 14 ครัง้ ............ 14. สงครามเดียนเบยี นฟูเปนสงครามทีป่ ระเทศไทยรวมมือกับฝรงั่ เศสขบั ไลจีนฮอออกจาก เวยี ดนามจนสาํ เร็จ