Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนเผชิญเหตุ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก

แผนเผชิญเหตุ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก

Published by iT'Teacher Paratthakorn, 2021-12-21 03:40:42

Description: แผนเผชิญเหตุ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก

Keywords: #แผนเผชิญเหตุ2019,เทคนิคนครนายก2019

Search

Read the Text Version

1

2ก คำนำ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ได้ขยายขอบเขตการแพร่ของโรคออกไปในวงกว้างกระจายไปในหลายพ้ืนที่การตรวจพบผู้ป่วยยืนยัน ติดเช้ือรายใหม่ โดยเฉพาะกรณีท่ีเป็นการติดเช้ือภายในประเทศมีจานวนเพิ่มสูงขึ้นในแต่ละวัน ประกอบกับ มีการเดินทางของบุคคลจากเขตพื้นท่ีสถานการณ์ท่ีกาหนดให้เป็นเขตพื้นที่ควบคุมซึ่งส่วนใหญ่ ยังไม่ปรากฏ อาการของโรคเป็นเหตุให้เช้ือโรคแพร่ออกไปในลักษณะเป็นกลุ่มก้อน ผู้ติดเชื้อโรคบางส่วน ปกปิดข้อมูล การเดนิ ทาง ทาให้ข้นั ตอนการสอบสวนโรคเกิดความล่าช้าและเปน็ อุปสรรคต่อการ ปฏบิ ัติงานอ่ืนท่ีเกยี่ วข้อง ส่งผลให้เกิดการระบาดขยายเป็นวงกว้าง รัฐบาลและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยศูนย์บริหารสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ (COVID-19) จึงได้กาหนดนโยบายและแนวปฏิบัติ เพ่ือความปลอดภยั ใหก้ ับประชาชนทง้ั ประเทศ วทิ ยาลยั เทคนคิ นครนายก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ ไดข้ ยาย ผลการดาเนินงานตามนโยบายและแนวปฏิบัติดังกล่าว เพ่ือขับเคล่ือนการศึกษาไทยให้ก้าวต่อไป ในภาวะฉุกเฉินนี้ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก มีความห่วงใย ครูบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนทุกคน จงึ ไดจ้ ดั ทา “คมู่ ือการเฝา้ ระวังตดิ ตาม และแผนเผชญิ เหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 (COVID – 19)” ดังนั้น วิทยาลัยเทคนิคนครนายก หวังเป็นอย่างยิ่งว่า บุคลากรของวิทยาลัยเทคนิคนครนายก และ ผู้เก่ียวข้องจะได้นาไปใช้ประกอบและเป็นแนวปฏิบัติในการเฝ้าระวัง กากับ ติดตาม และเตรียมพร้อมต่อ การเผชิญเหตุ สามารถรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อย่างทันเหตกุ ารณ์ อันจะสง่ ผลให้ นักเรยี น นักศกึ ษา ครู บุคลากรของสถานศกึ ษา และผ้เู กย่ี วข้องปลอดภัยไม่เสยี่ ง ไม่มอี าการป่วยของโรคโควดิ - 19 และสามารถดาเนนิ ชีวิตอย่างปกติสุขตามแนวชวี ิตวิถีใหม่ (New Normal) ศูนย์เฉพาะกิจบริหารสถานการณ์ โควิด - 19 วทิ ยาลัยเทคนิคนครนายก ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลยั เทคนิคนครนายก

3ข สำรบัญ เร่อื ง หนำ้ คานา ก สารบญั ข สถานการณ์โรคโควิด - 19 ท่วั โลก 1 สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2 เกณฑก์ ารพจิ ารณาความเสีย่ ง และสถานการณ์ท่ีกาลังเผชิญเหตภุ ายในประเทศ 4 บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง 11 มาตรการตามแผนเผชิญเหตุตามมาตรการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด - 19 16 อภิธานศพั ท์ 20 คณะผูจ้ ัดทา 23

1 คู่มือกำรเฝ้ำระวังติดตำม และแผนเผชิญเหตุ รองรบั กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด 19 (COVID – 19) วทิ ยำลัยเทคนิคนครนำยก สถำนกำรณโ์ รคโควิด 19 ทั่วโลก จากข้อมูล ณ วันที่ 2 ธันวาคม 2564 ยอดผู้ติดโควิดสะสมพุ่งสูงกว่า 263 ล้านรายทั่วโลก ภายหลัง การแพร่ระบาดผ่านมานานเกือบ 1 ปี 11 เดือนแล้ว ยอดผู้เสียชีวิตสูงกว่า 5.2 ล้านราย อัตราเสียชีวิตอยู่ท่ี ราว 2% รักษาหายแล้วราว 90% ของผู้ติดเชื้อท้ังหมด ขณะนี้มีประเทศที่พบผู้ติดเชื้อแล้ว 189 จาก 193 ประเทศทวั่ โลก โดยประเทศที่ยงั ไมพ่ บผ้ตู ิดเชื้อรายแรกอย่างเป็นทางการ ได้แก่ เกาหลีเหนือ เติร์กเมนิสถาน ตวู าลู และนาอูรู ล่าสุด สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีผู้ติดเช้ือสะสมมากท่ีสุด (48,690,380 ราย) และมียอดผู้เสยี ชีวิต สะสมมากทส่ี ุดกว่า 7.8 แสนราย ตามมาด้วย อินเดีย (34,596,776 ราย) บราซิล (22,105,872 ราย) สหราช อาณาจักร (10,333,442 ราย) และรัสเซีย (9,500,836 ราย) โดย 10 อันดับประเทศท่ีมีผู้ติดโควิดรายใหม่ ในช่วง 28 วันท่ีผ่านมา ไดแ้ ก่ สหรัฐอเมรกิ า (2,360,861 ราย) เยอรมนี (1,273,600 ราย) สหราชอาณาจักร (1,111,592 ราย) รัสเซีย (1,013,408 ราย) ตุรกี (706,126 ราย) ยูเครน (512,961 ราย) ฝร่ังเศส (506,059 ราย) โปแลนด์ (505,393 ราย) เนเธอร์แลนด์ (496,991 ราย) และเบลเยียม (405,385 ราย) ท่วั โลกฉีดวัคซีน ไปแลว้ กวา่ 8.03 พนั ล้านโดส โดยจีนนาเป็นอันดับ 1 ประเทศที่ฉีดวัคซีนโควดิ มากที่สดุ ในเชิงปริมาณขณะนี้ ฉีดวัคซีนไปแล้วกว่า 2.51 พันลา้ นโดส ตามมาด้วยอินเดีย 1.24 พันล้านโดส สหรัฐอเมรกิ า 462.26 ล้านโดส บราซิล 309.49 ล้านโดส ขณะท่ีอินโดนีเซียฉีดไปแล้วกว่า 232.87 ล้านโดส (27 พฤศจิกายน) ยังคงเป็น ประเทศทฉ่ี ดี วคั ซีนโควดิ มากสดุ ในย่านอาเซียน

2 สถำนกำรณก์ ำรแพรร่ ะบำดโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนำ 2019 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ (2563, น.1) ไดก้ ล่าวว่าโรคโควดิ คือ โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด - 19 (Coronavirus Disesse 2019 (COVID-19) เป็นตระกูลของไวรัสท่กี ่อให้อาการป่วยต้ังแต่ โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ ตะวันออกกลาง (MERS-COV) โรคระบบทางเดนิ หายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-COV) เปน็ สายพันธ์ุใหม่ที่ไม่เคยพบมากอ่ นใน มนุษย์ กอ่ ใหเ้ กดิ อาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคน และสามารถแพร่เชื้อจากคนสูค่ นได้ โดยเชอ้ื ไวรัสนพี้ บ การระบาดคร้ังแรกในเมอื งอูฮ่ ่ัน มณฑลหเู ปย่ สาธารณรฐั ประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019 หลงั จากนัน้ ได้มี การระบาดไปทัว่ โลก องค์การอนามัยโลก จึงตั้งชอ่ื การตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ใหม่นีว้ ่า โรคโควิด - 19 ซึ่ง อาการทวั่ ไปของผปู้ ว่ ยพบว่า มอี าการระบบทางเดินหายใจ มไี ข้ ไอ มนี ้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบากเหนื่อย หอบ ไมไ่ ดก้ ลิน่ ไม่รู้รส ในกรณที ี่อาการรุนแรงมาก อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซอ้ น เช่น ปอดบวม ปอดอกั เสบ ไตวาย หรืออาจเสยี ชวี ิตโรคโควดิ - 19 การแพรก่ ระจายเช้ือพบว่า โรคชนดิ นม้ี ีความเป็นไปได้ทม่ี ีสัตวเ์ ป็นแหล่งนาเช้ือ โรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผา่ นการสมั ผัสกับผู้ติดเช้ือผา่ นทางละอองเสมหะ การไอ น้ามกู น้าลาย ปจั จุบนั ยัง ไม่มีหลักฐานสนับสนุนการแพร่กระจายเชื้อผ่านทางการพ้ืนผิวสัมผัสที่มีไวรัสแล้วมาสัมผัส ปาก จมูกและตา สามารถแพร่เช้ือผ่านทางเชื้อที่ถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระเข้าสู่อีกคนหน่ึง โดยผ่านเข้าทางปาก (Feco-oral route) ได้ด้วยการรักษาพบว่า ยังไม่มียาสาหรับป้องกันหรือรักษาโรคโควิด - 19 ผู้ที่ติดเชื้ออาจ ต้องได้รับการรักษาแบบประดับประคองตามอาการ โดยอาการที่มีแตกต่างกันบางคนรุนแรงไม่มากลักษณะ เหมือนไข้หวัดท่ัวไป บางคนรุนแรงมากทาให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการใกล้ชิดร่วมกับการรักษา ดว้ ยการประคับประคองอาการจนกว่าจะพน้ อาการช่วงน้นั และยังไม่มยี าตวั ใดทมี่ ีหลกั ฐานชัดเจนว่า รักษาโรค โควิด - 19 ได้โดยตรง กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเช้ือ ได้แก่ ผู้ที่เพิ่งกลับจากพ้ืนที่เสี่ยง สัมผัสใกล้ชิด ผปู้ ่วยสงสัยติดเชอ้ื กลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ไดแ้ ก่ ผู้สูงอายุ 70 ปขี ึ้นไป ผู้ป่วยโรค เรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ ภูมิแพ้ เด็กเล็กอายุต่ากว่า 5 ปี ศูนย์การแพทย์ กาญจนาภเิ ษก (2563) ไดก้ ลา่ วถึง วธิ ปี อ้ งกันการตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ ดงั น้ี 1. หลกี เลีย่ งการใกลช้ ดิ กับผปู้ ่วยท่มี ีอาการไอ จาม นา้ มกู ไหล เหน่อื ยหอบ เจ็บคอ 2. หลกี เลี่ยงการเดนิ ทางไปในพ้ืนที่เสี่ยง 3. สวมหน้ากากอนามยั ทุกครัง้ เมอ่ื อยูใ่ นทีส่ าธารณะ 4. ระมัดระวังการสัมผัสพ้นื ผิวทไ่ี ม่สะอาด และอาจมีเชือ้ โรคเกาะอยู่ รวมถึงสง่ิ ที่มีคนจับบอ่ ยคร้งั เช่น ที่จับบน BTS, MRT, Airport Link ที่เปิด - ปิดประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบันได ฯลฯ เมื่อจับแล้วอย่าเอามือสัมผัสหน้า และข้าวของเคร่ืองใช้ส่วนตัวต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ กระเป๋า ฯลฯ ล้างมือให้สม่าเสมอด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่ต่ากว่า 70% (ไมผ่ สมนา้ ) 5. งดจับตา จมูก ปากขณะทไี่ ม่ไดล้ า้ งมอื 6. หลกี เล่ียงการใกลช้ ดิ สัมผสั สัตว์ต่าง ๆ โดยทีไ่ ม่มกี ารปอ้ งกัน 7. รับประทานอาหารสกุ สะอาด ไม่ทานอาหารทท่ี าจากสตั วห์ ายาก 8. สาหรับบุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ที่ต้องดูแลผู้ป่วยท่ีติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่หรือ โควิด - 19 โดยตรง ควรใสห่ น้ากากอนามัยหรือใส่แว่นตานิรภัย เพอ่ื ปอ้ งกันเชื้อในละอองฝอยจากเสมหะหรือ สารคดั หล่ังเขา้ ตา

3 วิธีปฏิบัติหากมีอาการโควิด 19 หากมีอาการของโรคท่ีเกิดขึ้นเกิน 5 ข้อขึ้นไป ควรพบแพทย์ เพ่ือทาการตรวจอย่างละเอียด และเม่ือแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่บิดเบือน ข้อมูลใด ๆ เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องมากท่ีสุด และหากเดินทางไปกลับจาก พ้ืนที่เส่ียง ควรกักตัวเองอยู่แต่ในบ้าน ไม่ออกไปข้างนอกเป็นเวลา 14 – 27 วัน เพ่ือให้ผ่านช่วงเชื้อฟักตัว (ใหแ้ น่ใจจริง ๆ วา่ ไม่ตดิ เช้ือ) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือ โควิด - 19 ในไทย ณ วันท่ี 6 ธันวาคม 2564 พบผู้ติดเช้ือรายใหม่เพิ่ม 4,000 ราย ยอดติดเชื้อรวมระลอกเมษายน 2,116,378 ราย รวมยอดติดเชื้อสะสม 2,145,241 ราย เสียชีวิตเพ่ิม 22 ราย เสียชีวิตสะสม 20,966 ราย หายป่วยเพิ่ม 6,450 ราย หายปว่ ยสะสมระลอกเมษายน 2,027,839 ราย ผู้ป่วยกาลังรักษา 69,010 ราย

4 เกณฑก์ ำรพจิ ำรณำควำมเสีย่ ง และสถำนกำรณ์ทก่ี ำลังเผชิญเหตุภำยในประเทศ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2563, น.6-35) ได้กาหนดเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยงและ การเฝ้าระวังโรคโควดิ - 19 ดงั นี้ วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื จดั ระดับความรนุ แรงของการระบาดของโควิด - 19 2. เพ่ือนาไปใช้ในการกาหนดมาตรการ การปอ้ งกนั ควบคุมโรค ระดับประเทศ 3. เพ่ือให้จังหวัดนาไปปรับใช้ในระดับจังหวัด จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 ท่ีกาลังดาเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการกาหนดเกณฑ์การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาด ความเสี่ยงและการเฝ้าระวัง โดยจาแนกเป็น 3 ระดับ กล่าวคือ ระดับประเทศ ระดับชุมชน และระดับ สถานศึกษา มดี ังนี้ 1. เกณฑ์การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด - 19 ระดับประเทศ การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด - 19 ระดับประเทศ ควรคานึงถึงความสาคัญ ของคุณลกั ษณะ 3 ประเดน็ ได้แก่ 1) จานวนผตู้ ดิ เชอื้ รายใหม่สะสมตอ่ สปั ดาห์ 2) ลกั ษณะการกระจายของโรคตามจังหวัด และเขตสุขภาพ 3) การกระจายของโรคตามลกั ษณะทางระบาดวิทยา แต่ละประเด็นมีการจาแนกระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด - 19 ตามลักษณะสี แบ่งเป็น 5 สี ได้แก่ สขี าว เขียว เหลือง ส้ม แดง มีรายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะ ดงั นี้ สีขำว (ปลอดภัย มีวัคซีน) หมายถึง ไม่มีผตู้ ิดเชื้อในประเทศมีผ้ตู ิดเชื้อมาจากต่างประเทศ ผูเ้ ดินทาง มาจากตา่ งประเทศเข้าสถานท่กี ักกนั ผู้ตดิ เชือ้ เข้ารกั ษาในโรงพยาบาลทก่ี าหนด สีเขียว (ไม่รุนแรง ไมม่ ีวคั ซนี ) หมายถงึ มผี ู้ตดิ เช้ือในประเทศมผี ู้ตดิ เช้ือมาจากต่างประเทศ ผ้เู ดนิ ทาง จากต่างประเทศเข้าสถานทกี่ ักกัน ผู้ติดเชือ้ เข้ารักษาในโรงพยาบาลท่ีกาหนด

5 สีเหลือง (รุนแรงน้อย) หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์น้อยกว่า 300 รายต่อ สัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1 จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา ระบาดในวงจากดั มีไม่เกิน 3 กลุ่มก้อน (Cluster) สีส้ม (รนุ แรงปานกลาง) หมายถงึ จานวนผตู้ ิดเชื้อรายใหม่สะสมตอ่ สัปดาห์ 300 - 900 รายตอ่ สปั ดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1 จังหวัดต่อจานวนเขต 4 - 6 เขต หรือ มากกว่า 1 จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา ระบาดใน วงจากดั มมี ากกว่า 3 กลุม่ ก้อน (Cluster) และมคี วามเชอ่ื มโยงกัน 5 สแี ดง (รุนแรงมาก) หมายถึง จานวนผู้ติดเช้ือรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์มากกว่า 900 รายต่อสัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสขุ ภาพ ไมเ่ กิน 1 จงั หวัดต่อเขต และเกิน 6 เขต หรือมากกว่า 1 จังหวัดต่อเขต และเกิน 3 เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา มีการระบาด ในวงกว้าง หาสาเหตไุ ม่ได้ เกณฑก์ ำรพิจำรณำระดบั ควำมรุนแรงของกำรระบำดโควดิ 19 ระดบั ประเทศ เกณฑ์กำรพจิ ำรณำควำมเส่ียงและกำรเฝำ้ ระวังระดบั ชุมชน จากสถานการณ์ความเส่ียงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 กระทรวงสาธารณสุข จึงกาหนด เกณฑ์การพิจารณาความเส่ียงและการเฝ้าระวังในการประเมิน ความเสี่ยงกรณีเกิดปัจจัยเสี่ยงของคนใน ครอบครัว ในชุมชนหรือหมู่บ้านกับความเช่ือมโยงสถานศึกษา สาหรับให้สถานศึกษาใช้เป็น มาตรการ ดาเนนิ การใหส้ อดคลอ้ งตามสถานการณ์ จาแนกเปน็ 4 สี ไดแ้ ก่ แดง สม้ เหลอื ง และเขียว มีดงั นี้ สีแดง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเส่ียงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 7 วัน คนในครอบครัวสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย อาการของคนในครอบครัวป่วยยืนยันโรคโควิด - 19 ระดับความเสี่ยงสูงมาก มาตรการดาเนินการ สาหรับ นักเรียนต้องเรียนอย่ทู ี่บ้าน 28 วัน ส่วนสถานศึกษาถือปฏบิ ตั ติ ามมาตรการสูงสุดอยา่ ง เคร่งครัด สีส้ม หมายถึง กรณมี ีปัจจัยเสย่ี งมผี ู้ป่วยในชมุ ชนใน 14 วัน คนในครอบครัวสัมผสั ไม่ใกล้ชิดกบั ผปู้ ่วย อาการของคนในครอบครัวรอยืนยันโรคโควิด - 19 ระดับความเส่ยี งสูง มาตรการดาเนินการ สาหรับนกั เรียน ตอ้ งเรียนอยทู่ บ่ี า้ น 14 วนั สว่ นสถานศกึ ษาถอื ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการสงู

6 สีเหลือง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเส่ียงมีผู้ป่วยในชุมชนใน 28 วัน คนในครอบครัวไปในพ้ืนท่ี สถานท่ีเสี่ยง หรือมีพฤติกรรมเส่ียง อาการของคนในครอบครัวป่วยแต่ไม่เป็น โรคโควิด - 19 ระดับความเสี่ยง ปานกลาง มาตรการดาเนินการสาหรับนักเรียนเรียนอยู่ทบี่ ้าน 7 วัน ส่วนสถานศึกษาถือปฏิบัติตามมาตรการ พน้ื ฐาน สีเขียว หมายถึง กรณีไม่มีผู้ป่วยในชุมชน 28 วันข้ึนไป คนในครอบครัวไม่มีพฤติกรรมเส่ียง อาการของคนในครอบครัวปกติ ระดับความเสี่ยงต่า มาตรการดาเนินการสาหรับนักเรียน ไปโรงเรียนได้ ส่วนสถานศกึ ษาถอื ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการผ่อนคลาย การประเมนิ ชุมชนและครอบครัวเพ่ือกาหนดมาตรการในสถานศึกษา ระดับกำรบริหำรสถำนกำรณ์ : ระดบั ขำว กรอบกำรปฏิบตั ิ 1. สามารถเดินทางขา้ มจงั หวดั ได้ 2. ใหจ้ ัดกิจกรรมรวมกลุ่มไดแ้ ตต่ ้องปฏบิ ัติตามมาตรการป้องกันโรคที่กาหนด 3. ให้ดาเนินกิจการหรือกิจกรรมได้ทุกประเภทตามปกติ ผู้ประกอบการหรือผู้จัดกิจกรรม ต้องมี การคดั กรอง ผ้ใู ช้บรกิ ารและต้องปฏบิ ัติตามมาตรการหลกั ได้แก่ - ทาความสะอาดพ้ืนผวิ ท่มี กี ารสัมผัสบ่อย ๆ - การสวมหน้ากากของเจา้ หน้าที่ พนกั งาน ผู้ใชบ้ ริการ ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม - ให้มจี ุดบริการลา้ งมือด้วยสบหู่ รือแอลกอฮอล์เจล น้ายาฆา่ เช้อื โรค - ใหม้ ีการควบคุมจานวนผู้ใชบ้ ริการ มิให้แออดั ตัวอย่างระดบั การผ่อนคลายกจิ การ/กิจกรรมท่ีสาคญั - โรงเรยี นเปดิ การเรยี นการสอนท่โี รงเรยี น 100% - สนามกีฬากลางแจ้งเปดิ ให้มีผชู้ มได้ 70% / 50% - สนามกฬี ากลางในรม่ เปดิ ใหม้ ีผู้ชมได้ 50% / 25% - ขนส่งสาธารณะบรรทกุ ผูโ้ ดยสารได้ 100% - โรงภาพยนตร์เปดิ ให้มีผ้ชู มได้ 100%

7 ตวั อย่ำงระดับกำรผอ่ นคลำยกจิ กำร/กิจกรรมทสี่ ำคญั - โรงเรียนเปดิ การเรียนการสอนทโี่ รงเรียน 100% - สนามกีฬากลางแจ้งเปดิ ใหม้ ีผู้ชมได้ 70% / 50% (5000) - สนามกีฬากลางในรม่ เปิดใหม้ ีผชู้ มได้ 50% / 25% (2000 / 1000) - ขนส่งสาธารณะบรรทกุ ผ้โู ดยสารได้ 100% - โรงภาพยนตร์เปดิ ให้มผี ู้ชมได้ 100% ตำรำงประสำนสอดคลอ้ งในกำรบรหิ ำรสถำนกำรณโ์ รคโควดิ 19 ระดบั กำรบริหำรสถำนกำรณ์ : ระดับเขียว กรอบกำรปฏบิ ัติ 1. ใหจ้ ัดกิจกรรมรวมกลมุ่ ได้แต่ต้องปฏบิ ัติตามมาตรการปอ้ งกนั โรคท่ีกาหนด 2. สามารถเดินทางขา้ มจังหวัดได้ 3. ให้ดาเนินกจิ การหรอื กจิ กรรมไดท้ ุกประเภท แต่ผปู้ ระกอบการหรือผ้จู ัดกิจกรรม ตอ้ งมีการคดั กรอง ผู้ใชบ้ รกิ าร และตอ้ งปฏบิ ตั ิตามมาตรการหลัก ได้แก่ - ทาความสะอาดพนื้ ผวิ ท่มี กี ารสัมผัสบ่อย ๆ - การสวมหน้ากากของเจา้ หนา้ ที่ พนกั งาน ผใู้ ช้บริการ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม - ใหม้ ีจดุ บรกิ ารลา้ งมอื ด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลหรือนา้ ยาฆ่าเชอื้ โรค - ให้มกี ารควบคมุ จานวนผ้ใู ชบ้ รกิ าร มิให้แออัด - ลงทะเบยี นใชง้ าน “ไทยชนะ” และแอปพลเิ คช่ันที่รฐั กาหนด * ผู้วา่ ราชการจังหวัด/กทม. สามารถกาหนดมาตรการเพม่ิ เติมได้ ตวั อยำ่ งระดับกำรผอ่ นคลำยกิจกำร/กจิ กรรมทส่ี ำคญั - โรงเรยี นเปิดการเรียนการสอนท่โี รงเรียน 100% - สนามกฬี ากลางแจ้งเปดิ ใหม้ ีผู้ชมได้ 50% / 25% (3000/2000) - สนามกฬี ากลางในรม่ เปดิ ใหม้ ผี ู้ชมได้ 25% / 15% (1000/500) - ขนสง่ สาธารณะบรรทุกผ้โู ดยสารได้ 100% - โรงภาพยนตร์เปิดใหม้ ีผู้ชมได้ 70%

8 ตำรำงประสำนสอดคล้องในกำรบริหำรสถำนกำรณโ์ รคโควดิ 19 ระดบั กำรบรหิ ำรสถำนกำรณ์ : ระดบั เหลอื ง กรอบกำรปฏิบัติ 1. สามารถเดินทางข้ามจงั หวดั ได้ 2 ให้ดาเนินการหรือทากิจกรรมด้านเศรษฐกิจและการดาเนินชีวิตตลอดจนด้านการ ออกกาลังกาย หรือดูแลสขุ ภาพหรือสันทนาการได้ แตผ่ ้ปู ระกอบการหรอื ผู้จดั กิจกรรมต้องมกี ารคัดกรองผใู้ ชบ้ รกิ าร และตอ้ ง ปฏิบัติตามมาตรการหลัก - ทาความสะอาดพื้นผิวทม่ี ีการสมั ผัสบอ่ ย ๆ - การสวมหนา้ กากของเจ้าหนา้ ที่ พนักงาน ผูใ้ ชบ้ รกิ าร ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม - ให้มจี ดุ บรกิ ารล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอลเ์ จลหรือนา้ ยาฆ่าเชอ้ื โรค - ใหม้ ีการเวน้ ระยะหา่ งอย่างน้อย 1 เมตร - ให้มกี ารควบคุมจานวนผ้ใู ชบ้ รกิ าร มใิ หแ้ ออัด - ลงทะเบียนใช้งาน “ไทยชนะ” และแอปพลิเคชน่ั ที่รัฐกาหนด * ผวู้ ่าราชการจังหวดั สามารถกาหนดมาตรการเพ่ิมเติมได้ ตวั อย่ำงระดับกำรผอ่ นคลำยกจิ กำร/กจิ กรรมทส่ี ำคัญ - โรงเรยี นเปิดการเรยี นการสอนท่ีโรงเรียนได้ แตถ่ ้ามคี วามแออดั ให้จดั นักเรยี นสลับกนั เรยี น - สนามกฬี ากลางแจง้ เปิดให้มผี ู้ชมได้ 25% / 15% (3000/1000) - สนามกีฬากลางในรม่ เปิดไม่ให้มีผชู้ มได้ - ขนสง่ สาธารณะทางอากาศ และ BTS บรรทุกผโู้ ดยสารได้ 100% - รถขนส่งสาธารณะบรรทุกผ้โู ดยสารได้ 70% - โรงภาพยนตร์เปดิ ใหม้ ีผชู้ มได้ 50% - อื่น ๆ ตามคาสั่ง ศบค.

9 ตำรำงประสำนสอดคลอ้ งในกำรบรหิ ำรสถำนกำรณ์โรคโควดิ 19 ระดับกำรบรหิ ำรสถำนกำรณ์ : ระดบั สม้ กรอบกำรปฏิบัติ ตามขอ้ กาหนด ฉบบั ที่ 6 1. จากดั การเดินทางขา้ มจงั หวัด 2. ให้ดาเนินการหรือทากิจกรรมบางอย่างได้เฉพาะ เพื่อเป็นการอานวยความสะดวก ประชาชน ในการทากิจกรรมด้านเศรษฐกิจและการดาเนินชีวิตตลอดจนด้านการออกกาลังกาย หรือดูแลสุขภาพหรือ สนั ทนาการทไ่ี ม่เสย่ี งตอ่ การแพรร่ ะบาด และผู้ประกอบการหรอื ผจู้ ัดกิจกรรมต้องมีการคัดกรองผู้ใชบ้ รกิ ารและ ต้องปฏิบัติตามมาตรการหลัก ไดแ้ ก่ - ทาความสะอาดพ้ืนผวิ ทมี่ ีการสัมผัสบ่อย ๆ - การสวมหน้ากากของเจา้ หนา้ ที่พนักงานผูใ้ ช้บรกิ ารผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม - ให้มีจุดบริการลา้ งมือดว้ ยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลหรือน้ายาฆ่าเช้ือโรค - ใหม้ ีการเว้นระยะหา่ งอยา่ งนอ้ ย 1 เมตร - ให้มีการควบคมุ จานวนผ้ใู ช้บรกิ ารมิใหแ้ ออัด - ลงทะเบยี นใชง้ าน“ไทยชนะ” และแอปพลิเคชันทีร่ ัฐกาหนด * ผ้วู ่าราชการจังหวดั สามารถกาหนดมาตรการเพม่ิ เติมได้ ตวั อย่ำงระดบั กำรผอ่ นคลำยกิจกำร/กิจกรรมทีส่ ำคัญ - สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนออนไลน์และ/หรือออนแอร์ - รา้ นอาหารจาหน่ายอาหารและเคร่ืองดม่ื ได้ (เว้นเคร่ืองดื่มทม่ี ีแอลกอฮอล์ในสถานท่ีต่าง ๆ) - ปดิ สถานบรกิ ารผับบาร์ - รา้ นคา้ ปลกี /ตลาดนดั /ตลาดสดเปิดได้แต่ต้องปฏบิ ตั มิ าตรการที่กาหนด - สนามกฬี า ลานกฬี า ประเภทกลางแจ้งและเปน็ กฬี าทีไ่ ม่มีการปะทะกัน สวนสาธารณะเปดิ ทาการได้ - อื่น ๆ ตามคาสง่ั ศบค.

10 ตำรำงประสำนสอดคลอ้ งในกำรบรหิ ำรสถำนกำรณ์โรคโควิด 19 ระดบั กำรบริหำรสถำนกำรณ์: ระดับสแี ดง กรอบกำรปฏิบัติ ตามข้อกาหนดฉบับท่ี 1 - เน้นที่การห้ามเขา้ พื้นที่เสี่ยงและการปดิ สถานทเี่ ส่ยี งต่อการตดิ ต่อโรค - ปดิ ช่องทางเข้ามาในราชอาณาจกั ร เวน้ บุคคลบางประเภท - หา้ มชมุ นุม ตามขอ้ กาหนดฉบบั ท่ี 2 และ 3 - หา้ มบคุ คลใดทวั่ ราชอาณาจกั รออกนอกเคหะสถาน เวน้ บคุ คลท่ีมเี หตุจาเป็นตามข้อกาหนดฉบบั ท่ี 5 * ผวู้ ่าราชการจงั หวัด สามารถกาหนดมาตรการเพิ่มเติมได้ ตวั อย่ำงระดับกำรผ่อนคลำยกิจกำร/กิจกรรมทส่ี ำคญั - สถานศึกษาจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ และ/หรือออนแอร์ - ห้ามการเดนิ ทางข้ามจังหวดั ยกเวน้ ขนสง่ สินค้า - ปิดกิจการ/กิจกรรมต่าง ๆ ยกเว้นกิจการท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น ธนาคาร โรงงาน สถานบริการเชื้อเพลิง บริการส่งสนิ ค้าและอาหารตามสง่ั หรือตามท่ีคณะกรรมการเฉพาะกิจ พิจารณาการผอ่ น คลายฯ ทกี่ าหนด ตำรำงประสำนสอดคลอ้ งในกำรบริหำรสถำนกำรณ์โรคโควดิ 19

11 บทบำทของบคุ ลำกรและหน่วยงำนท่เี กี่ยวข้อง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ยังคงมีการแพร่ระบาด อย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงกาหนดบทบาทของบุคลากร และหน่วยงาน ทเ่ี กี่ยวข้อง ดังน้ี 1. บทบำทของนักเรียน นักศึกษำ นักเรียน นักศกึ ษาเป็นหวั ใจสาคญั ทีต่ ้องไดร้ ับความคมุ้ ครอง ดูแล ในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ท้ังน้ี นักเรียน นักศึกษาจะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัย ของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการอย่างเคร่งครัด ตั้งแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยูใ่ นวิทยาลยั จนถึงการกลบั บา้ น บทบาทของนักเรยี น นกั ศึกษาควรมีดังนี้ 1) เตรยี มความพรอ้ มในเรอ่ื งอปุ กรณ์การเรียน เครื่องใชส้ ่วนตวั และอ่นื ๆ ที่จาเปน็ สาหรบั การเรียน การสอน 2) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดอย่างเคร่งครัด 3) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเส่ียงจากการ แพรก่ ระจายของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) จากแหล่งข้อมูลที่เช่อื ถือได้ 4) ประเมินความเส่ียงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอ และสังเกต อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) หรือกลับจากพื้นที่เส่ียง และอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขอยา่ งเคร่งครดั 5) ขอคาปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเก่ียวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องใช้ สว่ นตวั หรอื พบความผิดปกติของร่างกายท่ีอาจเสีย่ งต่อการติดเช้อื ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทนั ที 2. บทบำทของครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ ครู และบุคลากรทางการศึกษาน้ัน ซึ่งถืออยู่ใกล้ชิด นักเรียน นักศึกษามีหน้าที่สาคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน นักศึกษาทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความ พร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียน นักศึกษาอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการท่ี กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนดบทบาทของครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ควรมดี งั น้ี 1) ประชมุ ออนไลน์ (Online) ชีแ้ จงผู้ปกครองนกั เรยี น นักศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกัน ในการปอ้ งกนั การเฝา้ ระวัง การเตรียมตัวของนักเรยี น นกั ศึกษาใหพ้ รอ้ มก่อนเปิดเรยี น 2) ประเมินความเส่ียงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอ และสังเกตป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ินไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) หรือกลับจากพื้นท่ีเส่ียงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข อยา่ งเคร่งครัด

12 3) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเส่ียงจาก การแพร่กระจายของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) จากแหล่งข้อมลู ทีเ่ ชือ่ ถอื ได้ 4) จัดหาส่ือประชาสมั พนั ธ์ในการปอ้ งกัน และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือ หน้ากาก อนามัย คาแนะนาการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทาความสะอาด หลีกเลี่ยงการทา กจิ กรรมรว่ มกนั จานวนมากเพอ่ื ลดจานวนคน 5) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวง ศึกษาธิการ กาหนดอย่างเครง่ ครัด 6) คอยดูแล สอดส่องชว่ ยเหลือนักเรียน นักศกึ ษาในเร่ืองสุขอนามัยให้เป็นไปตามมาตรการ ทีก่ ระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ไดแ้ ก่ (1) ทาการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียน นกั ศึกษาทุกคนท่ีเข้ามาในวิทยาลัยในตอนเช้า ใช้เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย พร้อมสังเกตอาการ และสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์ สติกเกอร์หรือตราป๊ัม แสดงใหเ้ หน็ ชดั เจนว่า ผ่านการคดั กรองแล้ว (2) กรณีพบนักเรียน นักศึกษาหรือผู้มีอาการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียล ขน้ึ ไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นท่ีแยกส่วน ประสานโรงพยาบาล ส่งเสรมิ สขุ ภาพประจาตาบล หรือเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ เพ่อื ตรวจคัดกรองอกี คร้งั หากพบว่าผลตรวจเบ้ืองต้น เป็นบวกจึงแจ้งผปู้ กครองมารับ จากนน้ั แจ้งผู้บริหารหรอื ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง เพื่อดาเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการปอ้ งกันตามระดับการแพร่ระบาดโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ของสถานศกึ ษา (3) บนั ทึกผลการคดั กรอง และสง่ ตอ่ ประวตั กิ ารปว่ ย ตามแบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพ (4) จดั อุปกรณก์ ารล้างมอื พร้อมใชง้ านอย่างเพยี งพอ เชน่ เจลแอลกอฮอลว์ างไวบ้ รเิ วณ ทางเข้า สบูล่ ้างมอื บริเวณอา่ งล้างมอื 7) ตรวจสอบ กากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรยี น นักศกึ ษาขาดเรยี น ถูกกกั ตวั หรืออยใู่ น กลมุ่ เสย่ี งตอ่ การติดโรคโควิด 19 และรายงานตอ่ ผู้บรหิ าร 8) ปรับพฤติกรรมสาหรับนักเรียน นักศึกษาท่ีไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการท่ีครูกาหนด ดว้ ยการแกป้ ัญหาการเรียนรใู้ หมใ่ ห้ถกู ต้อง นน่ั คอื “สร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมทไ่ี มพ่ ึง ประสงค์” 9) สร้างความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับความเครียดว่าเป็นปฏกิ ิริยาปกตทิ ี่เกิดขน้ึ ได้ในภาวะวิกฤติ ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และกาหนดให้นากระบวนการการจัดการ ความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืน และเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตท่ีเสรมิ สร้าง ความเขม้ แข็งทาง ใจ (Resilience) ให้กบั นักเรียน ได้แก่ ทักษะชีวติ ดา้ นอารมณ์ สังคม และความคดิ เป็นตน้ 10) สงั เกตอารมณ์ความเครียดของตวั เอง เน่ืองจากภาระหนา้ ท่ีการดูแลนักเรยี นจานวนมาก และกากบั ให้ปฏบิ ตั ิตามมาตรการปอ้ งกนั การติดโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) เป็นบทบาทสาคัญ อาจจะสร้างความเครียดวิตกกังวล ทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกันตัวเองจากการสัมผัสกับ เช้อื โรค ดงั นัน้ เมอ่ื ครูมคี วามเครยี ดจากสาเหตุต่าง ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี (1) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของวิทยาลัยที่ไม่ชัดเจน แนะนาให้สอบถามกับ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื เพ่อื นรว่ มงาน เพ่ือให้เข้าใจบทบาทหน้าท่แี ละข้อปฏิบัติทตี่ รงกนั

13 (2) กรณีมคี วามวิตกกังวล กลัวการตดิ เชอ้ื ในโรงเรียน ใหพ้ ดู คุยสื่อสารถึงความไมส่ บายใจ และร้องขอสิ่งจาเป็นสาหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เช่น สถานที่ สื่อการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากตนเองเป็นกลุ่มเส่ียงหรือมีโรคประจาตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวง สาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการกาหนด (3) จัดให้มีกิจกรรมบาบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเร่ิมการเรียน การสอน เพ่อื ลดความวิตกกังวลตอ่ สถานการณ์ที่ตึงเครยี ดน้ี 11) กากับ และติดตามการได้รับวัคซีนของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตาม มาตรการทกี่ าหนด และเปน็ ปัจจุบัน 3. บทบำทของผบู้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา เปน็ ผู้ท่มี ีบทบาทสาคญั ในการขับเคลื่อนตั้งแตก่ ารวางแผน การกาหนดนโยบาย สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การกากับ ติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมิน สถานการณ์ การรายงาน ตลอดจนร่วมมือกบั ครูและบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน นักศกึ ษาให้การตรวจสอบ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพ่ือความปลอดภัยของนักเรียน นกั ศกึ ษา โดยบทบาทของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ควรมดี ังนี้ 1) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครนายก ครู ผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษา ผู้นาชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบร่วมกันในการจัดพ้ืนท่ี และรูปแบบ การจดั การเรียนการสอน 2) ประกาศนโยบาย และแนวปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในวทิ ยาลยั 3) แต่งต้ังคณะทางานดาเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19) ประกอบด้วย นักเรียน นักศึกษา ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ท้องถ่ิน ชมุ ชน และผ้เู กยี่ วขอ้ ง 4) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล ผา่ น MOE Covid 5) ทบทวน ปรับปรุง ซักซ้อมปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุของวิทยาลัยในภาวะที่มีการระบาดของ โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) 6) จัดให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรั ส โคโรนา 2019 (Covid-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และติดตามข้อมูล ขา่ วสารท่ีเก่ียวข้องจากแหล่งข้อมลู ท่ีเชื่อถอื ได้ 7) สนับสนุนใหน้ กั เรียน นักศึกษา ครู และบคุ ลากรได้รับวัคซีนครบโดส ตง้ั แตร่ ้อยละ 85 ข้นึ ไป 8) สนับสนุนใหม้ ีการตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครฐั 9) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน นักศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมิน ตนเองผ่าน Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จาแนกเขตพืน้ ท่กี ารแพรร่ ะบาด 10) สือ่ สารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อลดการรังเกยี จ และลดการตตี ราทางสังคม (Social Stigma) กรณีพบวา่ มีบคุ ลากรในโรงเรยี น นกั เรยี น หรอื ผปู้ กครองตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

14 11) กาหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในวิทยาลัย (Point of Entry) ใหแ้ ก่ นกั เรยี น นักศกึ ษา ครู บุคลากร และผ้มู าตดิ ต่อ และจดั ให้มพี นื้ ที่แยกโรค อปุ กรณ์ปอ้ งกัน เชน่ หน้ากาก ผ้า หรือหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการส่ือสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุข ในกรณีทพ่ี บนักเรยี นกลมุ่ เส่ยี งหรอื สงสัย 12) จดั ให้นกั เรียนสามารถเขา้ ถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่างต่อเน่ือง ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียนการสอนทางไกล สื่อออนไลน์ การติดต่อทางโทรศพั ท์ หรอื Social Media เปน็ รายวัน หรอื รายสัปดาห์ 13) กรณีพบนกั เรยี น ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยใู่ นกลุ่มเสี่ยงหรือผ้ปู ่วยยืนยนั เข้ามาในวิทยาลัย ให้รีบแจ้งเจา้ หน้าทสี่ าธารณสุขในพ้นื ทเี่ พื่อดาเนนิ การสอบสวนโรค และพิจารณาดาเนินการตามแผนเผชญิ เหตุ และมาตรการปอ้ งกันตามระดับการแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ของสถานศกึ ษา 14) มีมาตรการให้นักเรียนไดร้ บั อาหารกลางวัน และอาหารเสรมิ นม ตามสิทธทิ ่ีควรไดร้ ับ กรณพี บอยู่ ในกลมุ่ เสย่ี งหรืออยใู่ นช่วงกักตวั 15) ควบคุม กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดาเนินงาน ตามมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดภายในโรงเรียนอยา่ งเคร่งครดั และตอ่ เนอ่ื ง 16) เย่ียมบ้าน สร้างขวัญกาลังใจนักเรียน นักศึกษา ทั้งนักเรียน นักศึกษาท่ีมาเรียนแบบปกติ และ ที่ไมส่ ามารถมาเรียนแบบปกตไิ ด้ 4. บทบำทของผปู้ กครองนกั เรยี น นกั ศึกษำ ผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษาเป็นบุคคลท่ีมีสาคัญยิ่ง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเอง ในด้านสุขอนามัย และการป้องกันความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเช้ือโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) อย่างเคร่งครัด ต้องให้ความร่วมมอื กับวิทยาลัย ครูประจาชั้นหรือครูทีป่ รึกษา เกย่ี วกับมาตรการ การดูแลนักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน นักศึกษาจึงมีบทบาทสาคัญร่วมกับครูเพ่ือช่วยนักเรียน นักศึกษาท้ังในเร่ืองการเรียนรู้ และการดูแลความปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา บทบาทของผู้ปกครอง นักเรยี น นักศกึ ษา ควรมีดังน้ี 1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจาย ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) จากแหล่งข้อมลู ทีเ่ ชือ่ ถือได้ 2) ประเมินความเสี่ยงของตนเอง นักเรียน นักศึกษา และคนในครอบครัวผ่านแอปพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสมา่ เสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครวั หากมี อาการไข้ ไอ มีนา้ มกู เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลนิ่ ไมร่ รู้ ส ให้รบี พาไปพบแพทย์ ควรแยกไมใ่ หไ้ ป ใกล้ชิดกับคนอน่ื ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยดว้ ยโรคติดเช้อื ไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19) หรือกลับจากพื้นที่เส่ียงอยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขอยา่ งเครง่ ครัด 3) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียน นักศึกษาอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทาความสะอาดทุกวัน เช่น หนา้ กากผ้า ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้า แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผา้ เช็ดหนา้ ผา้ เช็ดตัว เปน็ ต้น 4) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกากับดูแลนักเรียน นักศึกษาให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม หลีกเล่ียงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จาเป็น และสร้างสุขนิสัยท่ีดี หลังเล่นกับ เพ่ือน และเมอ่ื กลับมาถึงบา้ น ควรอาบนา้ สระผม และเปลย่ี นชดุ เสือ้ ผา้ ใหมท่ ันที

15 5) ดูแลสุขภาพนักเรียน นักศึกษาจัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่และผัก ผลไม้ 5 สี และควรจัดอาหารกล่อง (Box Set) ให้แก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า แทนการซื้อจากวิทยาลัย (กรณีท่ีไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากท่ีบ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกาลังกาย อย่างน้อย 60 นาที ทุกวนั และนอนหลับอยา่ งเพยี งพอ 9 - 11 ชั่วโมงต่อวนั 6) หลีกเล่ียงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สถานท่ี แออัดท่ีมีการรวมกันของคนจานวนมาก หากจาเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ 7 ขั้นตอน ด้วยสบ่แู ละน้านาน 20 วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ 7) กรณีนักเรียนเดินทางมาโรงเรียน โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอ่ืน ๆ ผู้ปกครองและวิทยาลัยต้อง ขอความรว่ มมือกบั คนขบั รถใหป้ ฏิบัติตามมาตรการของสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั 8) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผปู้ กครองควรให้ความรว่ มมือกบั ครูในการดูแล จดั การเรยี นการสอนแก่นักเรยี น นกั ศึกษา เช่น การส่งการบา้ น การร่วมทากิจกรรม เป็นต้น

16 มำตรกำรตำมแผนเผชิญเหตตุ ำมมำตรกำรปอ้ งกันกำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด - 19 ของวทิ ยำลัยเทคนิคนครนำยก ระดับกำรแพรร่ ะบำด มำตรกำรป้องกนั ในชุมชน ในสถำนศกึ ษำ คร/ู นักเรียน สถำนศกึ ษำ ไมม่ ีผูต้ ิดเชื้อ ไมพ่ บผ้ตู ดิ เช้อื ยนื ยนั - ปฏิบัติตามมาตรการ OMHT - - เปิดเรียน Onsite ประเมิน TST เปน็ ประจา - ปฏบิ ตั ิตามแนวทาง TST - เนน้ เฝา้ ระวังสงั เกตอาการ กลุ่มเปราะบาง มีผูต้ ิดเชอ้ื ไม่พบผ้ตู ิดเช้อื ยืนยัน - ปฏิบัติเขม้ ตามมาตรการ - เปดิ เรียน On Site ปฏิบัตติ าม ประปราย DMHT มาตรการ TSC Plus (44 ข้อ) (1-5 ราย) - กรณีเป็นผมู้ คี วามเส่ียง เช่น - ติดตามรายงานผลประเมนิ TST อาศยั ในพื้นที่ท่ีมผี ู้ตดิ เช้อื ควรสมุ - เขม้ เฝ้าระวังตรวจคัดกรอง กลุ่ม ตรวจหาเช้ือเป็นระยะ เปราะบาง ตามสถานการณ์ พบผู้ติดเช้ือยืนยัน 1 - ปฏบิ ัตเิ ขม้ 6 มาตรการหลัก - ห้องเรยี นทีพ่ บผูต้ ดิ เชอื้ ปิดเรยี นเปน็ ห้องเรียน ต้ังแต่ 1 ราย (DMHT-RC) 6มาตรการเสริม เวลา 3 วัน เพ่ือทาความสะอาด ข้ึนไป (SSET-CO) - หอ้ งเรียนอน่ื เปิดเรียน Onsite - ประเมิน TST ทกุ คนใน ตามปกติ งดกจิ กรรมทมี่ ี ห้องเรยี น และผ้สู ัมผัสใกล้ชดิ การรวมกล่มุ กนั โดยเฉพาะระหวา่ ง ทกุ วนั เพื่อรายงานผล ห้องเรียน - กรณีเสี่ยงสงู (High Risk - ปฏบิ ตั เิ ขม้ ตามมาตรการ TSC Plus Contact) : งดเรียน Onsite - เปิดประตหู น้าตา่ งห้องเรียน กักตัวทีบ่ ้าน 14 วนั เพ่ือตรวจ ให้อากาศถ่ายเทอากาศสะดวก หาเชื้อ ตลอดเวลาการใชง้ าน กรณใี ช้ - กรณเี ป็นผสู้ มั ผัสเสยี่ งตา่ (Low เครอ่ื งปรบั อากาศ เปิดประตู Risk Contact) : มาเรียน หน้าต่างระบายอากาศช่วงเวลา Onsite สงั เกตอาการตนเอง พักเท่ียงหรือชว่ งเวลาไม่มีเรียน พ บ ผู้ ติ ด เ ช้ื อ ยื น ยั น - ประเมิน TST ทกุ คนทุก - หอ้ งเรียนท่ีพบผูต้ ดิ เชอื้ จะต้องปิด มากกวา่ หอ้ งเรียนทีม่ ีผตู้ ดิ เช้อื และ เรียนเป็นเวลา 3 วัน เพ่อื ทา 1 ห้องเรยี น ผ้สู มั ผัสใกลช้ ิดทุกวนั เพอื่ รายงาน ความสะอาด งดกจิ กรรมทม่ี ีการ ผล รวมกลมุ่ กนั ทุกกจิ กรรมหรือปิดเรยี น - กรณีเส่ยี งสูง ส่งตรวจคัดกรอง ตามอานาจพิจารณาของ หาเช้อื ด้วย RT-PCR เมือ่ พบ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จังหวัด ผลบวก และมีอาการป่วยร่วม นครนายก ดว้ ย จะนาส่งต่อรบั การรกั ษา - ปฏบิ ตั ิตามมาตรการตัดความเสีย่ ง โรงพยาบาลนครนายก สร้างภูมิค้มุ กันดว้ ย 3T1V (TSC Plus , TST , TK,Vaccine)

17 มำตรกำรตำมแผนเผชิญเหตตุ ำมมำตรกำรป้องกนั กำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ -19ของวทิ ยำลยั เทคนิคนครนำยก ระดับกำรแพร่ระบำด มำตรกำรปอ้ งกนั ในชมุ ชน ในสถำนศกึ ษำ ครู/นกั เรียน สถำนศกึ ษำ มผี ้ตู ิดเชอ้ื เปน็ พิจารณาใช้แนวทาง - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ - พิจารณาการเปดิ เรยี น Onsite โดย กลุม่ กอ้ น ร่วมกับกรณีพบการ ยกระดบั ปอ้ งกนั Universal ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการทุกมติ ิ อย่าง (Cluster) ติดเชือ้ ในวิทยาลัยฯ Prevention (UP) ท้ังที่บา้ น และ เขม้ ข้น กรณไี มม่ ีความเชือ่ มโยงกบั ในชุมชน วทิ ยาลัยฯ หลกี เล่ียงการไปที่ชมุ ชน cluster ในชมุ ชน อาจไมต่ ้องปิด - ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการปอ้ งกัน เรียนหรือจัดการเรยี นตามการ สาหรบั ครู/นกั เรยี นอย่างเข้มข้น พิจารณาของ คณะกรรมการควบคมุ ตามระดบั การแพรร่ ะบาดใน โรคตดิ ตอ่ จงั หวดั นครนายก วิทยาลัยฯ อาทิ ไมพ่ บผู้ติดเช้อื - พิจารณาการปดิ เรียน โดย ยืนยนั หรอื พบ ผ้ตู ดิ เชอื้ ยืนยัน 1 คณะกรรมการควบคมุ โรคตดิ ตอ่ หอ้ งเรยี น หรือพบผู้ตดิ เชื้อยนื ยัน จังหวดั นครนายก ตามข้อมลู มากกวา่ 1 หอ้ งเรียน หลกั ฐานและความจาเป็น มีการระบาด พจิ ารณาใช้แนวทาง - ปฏบิ ตั เิ ข้มตามมาตรการ - พจิ ารณาการเปิดเรยี น Onsite โดย แพรก่ ระจาย รว่ มกบั ยกระดับป้องกัน Universal ปฏิบัตติ ามมาตรการทุกมิติ เป็นวงกว้างใน กรณีพบการตดิ เชอ้ื ใน Prevention (UP) อย่างเครง่ ครดั ชุมชน วิทยาลัย - ปฏบิ ัตติ ามมาตรการป้องกนั - พิจารณาการปิดเรยี นโดย สาหรบั ครู/นกั เรียนอยา่ ง คณะกรรมการควบคมุ โรคติดตอ่ เคร่งครัดตามระดับการแพร่ จงั หวดั นครนายกตามขอ้ มูลหลักฐาน ระบาดในสถานศึกษา อาทิ ไมพ่ บ และความจาเปน็ ผู้ตดิ เชื้อยืนยันหรอื พบ ผูต้ ิดเชอื้ - กรณีโรงเรียนไป-กลบั ตาม ยนื ยนั 1 ห้องเรยี น หรือพบผตู้ ดิ 7 มาตรการเข้มเตรยี มพรอ้ มเปดิ เช้ือยนื ยัน มากกว่า 1 หอ้ งเรียน เรยี น เนน้ Seal Route - ส่มุ ตรวจคดั กรองหาเชื้อเป็นระยะ

18 มาตรการเฝ้ าระวงั และแผนเผชิญเหตุ วิทยาลยั เทคนิคนครนายก

20 อภิธำนศพั ท์ ATK : Antigen Test Kit หมายถึง ชุดตรวจการติดเชื้อโควิด๑๙ ที่สามารถทดสอบได้ในเบ้ืองต้น เหมาะกบั ผ้ทู ่สี งสัย หรือไม่แสดง อาการตดิ เช้ือ ซ่ึงเป็น 1 ใน 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสริม และ7 มาตรการเข้ม ของ Sandbox Safety Zone in School นักเรยี น นกั ศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ทุกคนตอ้ งตรวจ คัดกรอง ATK ก่อนเข้าโรงเรียน และมีการสุ่มตรวจเฝ้าระวังอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ Antigen Test Kit (ATK) หรือชุดตรวจโควิด - 19 แบบเรง่ ด่วน ดว้ ยวิธีการ Swab เก็บตัวอย่างสารคัดหลง่ั ทางจมูกลึกถึงคอ หรือเก็บจากคอ สามารถทาได้เองทีบ่ ้าน การตรวจ ชนดิ นีเ้ ปน็ การตรวจคัดกรองเบ้ืองต้น Covid free Zone หมายถึง สถานศึกษาเป็นพื้นที่ที่ปราศจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19) อันเน่ืองจากสถานศึกษามีการปฏิบัติตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดสามารถเปดิ การเรียนการสอนแบบ Onsite และการจัดกิจกรรมได้อย่างปลอดภัย และยัง่ ยืน DMHT-RC หมายถึง คาย่อของ 6 มาตรการหลักได้แก่ 1) Distancing เว้นระยะห่าง เว้นระยะห่าง ระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร 2) Mask Wearingสวมหน้ากาก สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา 3) Hand washing ล้างมือ ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่และน้า นาน 20 วินาที หรือ ใช้เจลแอลกอฮอล์ 4) Testing คัดกรองวัดไข้วัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผัสเสี่ยงทุกคนก่อนเข้า สถานศึกษา 5) Reducing ลดการแออัด ลดเข้าไปในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มคนจานวนมาก และ 6) Cleaning ทาความสะอาด ทาความสะอาดบริเวณพน้ื ผวิ สัมผสั ร่วม อาทิ ท่ีจบั ประตู ลกู บดิ ประตู ราวบนั ได ป่มุ กดลิฟต์ MOE Covid หมายถึง ระบบการติดตาม และประเมินผลข้อมูลของศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด - 19 กระทรวงศึกษาธิการ (ศบค.ศธ.) เว็บไซต์www.covid.moe.go.th ซึ่งมีเครื่องมือประเมินตนเองของ สถานศึกษาในการเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรียน ซ่ึงเปน็ 1 ใน 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเขม้ ของ Sandbox : Safety Zone in School ทสี่ ถานศึกษาตอ้ งประเมินตนเอง mRNA Vaccine หมายถึง คาย่อของ Messenger Ribonucleic Acid เทคโนโลยีในการผลิตวัคซีน รูปแบบใหม่ ท่ีลงลึกถึงระดับโมเลกุล จากเดิมที่ใช้โปรตีนของไวรัส หรือใช้ไวรัสท่ีถูกทาให้อ่อนแอฉีดเข้าไป รา่ งกายเพ่ือให้ร่างกาย สร้างภูมิต้านทานข้ึนมา แต่สาหรับเทคโนโลยี mRNA จะแตกตา่ งออกไป โดยใชว้ ิธีฉีด พนั ธุกรรมโมเลกุลที่ เรียกว่า mRNA เข้าไปในรา่ งกาย ซ่ึงร่างกายก็จะสร้างโปรตีนท่ีมีลักษณะคล้ายหนามของ ไวรัสโควิด 19 แต่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ข้ึนมา ซ่ึงโปรตีนตัวน้ีจะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทาน เพ่ือ ตอ่ สู้กบั ไวรสั นอกจากนี้ วคั ซีนยังมีไขมันอนุภาคนาโน (Lipid Nanoparticle) ท่ีใช้หอ่ หมุ้ mRNA เพ่อื ป้องกัน การย่อยสลายจากเอนไซม์ ไรโบนิวคลเิ อส ซง่ึ มีอยทู่ ั่วร่างกาย Safety Zone หมายถึง พ้ืนท่ีชั้นในที่มีความปลอดภัยสาหรับนักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากร ที่ผ่านการตรวจหาเช้ือ โควิด 19 สถานศึกษามีการประเมินตนเอง และจัดแบ่งพื้นท่ีไว้เป็นการเฉพาะ ในวิทยาลยั ไดแ้ ก่ พื้นท่คี ดั กรอง พน้ื ที่กักกนั ผสู้ ัมผัสเส่ียง และพนื้ ที่ปลอดภยั สีเขียว Safety Zone in School หมายถึง แนวปฏบิ ัติของ Sandbox : Safety Zone in School สาหรับ กาหนดมาตรการดา้ นความปลอดภยั และสุขอนามัยภายในวิทยาลัย เช่น การจากดั บุคคลเขา้ – ออกวิทยาลัย อย่างชดั เจน มีการคดั กรองโดยใช้วิธี Rapid Antigen Test มีระบบติดตามของครู และบุคลากรอยา่ งเข้มงวด กาหนดให้ทุกคนต้องประเมินความเสี่ยงผ่าน “Thai save Thai” อย่างสม่าเสมอ และเฝ้าระวังโดยการสุ่ม ตรวจทุก 14 วัน หรือ 1 เดือนต่อ ภาคเรียน เป็นตน้

21 School Pass หมายถึง เอกสารหรือใบอนุญาตให้นักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร หรือบุคคล ที่เกี่ยวข้องที่สถานศึกษาออก ให้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยเม่ือเข้า-ออกวิทยาลัย โดยเป็นข้อมูลมาจาก ผลการประเมินสถานศึกษาผ่าน Thai Save Thai ผลการตรวจ ATK ภายใน 7 วัน ประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการกระทรวงศึกษาธิการ และ กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยเม่ือเข้า – ออก วิทยาลัย School Pass น้ีเป็น 1 ใน 7 มาตรการเข้มเพิ่มสาหรับวิทยาลัยท่ีจะเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 School Isolation หมายถึง สถานแยกตัวในวิทยาลัย ที่สถานศึกษาทุกแห่งจะต้องจัดให้มี เตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน เป็นการวางแผนการเผชิญเหตุ และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด หากพบ ผ้ตู ิดเชื้อที่ต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงาน ตรงกับบคุ ลากรทางการแพทยใ์ นพ้ืนท่ี Screening Zone หมายถึง พื้นที่แรกท่ีวิทยาลัยต้องดาเนินการคัดกรองนักเรียน นักศึกษา ครู ผู้ปกครองหรือผู้มาติดต่อที่เข้ามาในวิทยาลัยเบื้องต้น เช่น การใช้เคร่ืองตรวจวัดอุณหภูมิ การตรวจ ATK การตรวจระบบ School Pass และ อ่ืน ๆ ตามมาตรการท่ีกระทรวงสาธารณสุขกาหนดเป็น 1 ใน 3 พื้นที่ Safety Zone ในวิทยาลัยที่ถูกกาหนดไว้ใน 7 มาตรการเข้มสาหรับวิทยาลัยท่ีจะเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ได้แก่ คอื พืน้ ท่ี 1 Screening พ้ืนที่ 2 Quarantine และพืน้ ท่ี 3 Safety Zone Seal Route หมายถงึ การควบคมุ รถรับ – ส่งนักเรยี น นักศึกษา รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสาร สาธารณะ (สาหรบั โรงเรียนไปกลับ) อย่างเข้มงวด โดยใช้กระบวนการกากับ ติดตามอย่างเคร่งครัด เพ่อื ไม่ให้ เกิดการแพร่กระจายเช้ือ การรับเชื้อจากชุมชนเข้าสู่วิทยาลัย และควบคุมการแพร่เชื้อไม่ให้ออกไปสู่ชุมชน มาตรการควบคุมเข้มงวดนี้ วิทยาลัยสามารถดาเนินการได้เองหรือขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก ช่วยควบคุม กากับ ดูแลให้ดาเนนิ การอยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ้ Small Bubble หมายถึง การจัดกลุ่มย่อย ให้นักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรปฏิบัติกิจกรรม ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน และไม่ข้ามกลุ่ม ดังน้ันเมอ่ื พบผู้ติดเช้ือจะสามารถแยกผทู้ ี่ติดเช้ือเข้าสูร่ ะบบการรักษา ได้ทันที และทราบกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มผู้สัมผัสโดยเร็ว ทาให้ควบคุมได้ไว และลดการแพร่กระจายของโรคใน วิทยาลัย เช่น การแบ่งกลุ่มย่อยในกลุ่มใหญ่ (Large Bubble) ตามลักษณะระดับช้ันเรียน แผนกวิชา กลุ่มละ ประมาณ 10–20 คน เป็นต้น ซ่ึง Small Bubble น้ีเป็น 1 ใน 7 มาตรการเข้มเพิ่มสาหรับวิทยาลัยที่จะเปิด การเรียนการสอนแบบ On site ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 SSET-CQ หมายถึง คาย่อของ 6 มาตรการเสริม ไดแ้ ก่ 1) Self care ดแู ลตนเอง ดแู ลใสใ่ จปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตวั เอง ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครดั 2) Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตัวใช้ช้อนกลางของ ตนเองทุกครั้ง เม่ือต้องกินอาหารร่วมกัน ลดสัมผัสร่วมกับผู้อื่น 3) Eating กินอาหารปรุงสุกใหม่ กินอาหาร ปรุงสุกใหม่ร้อน ๆ กรณีอาหารเก็บเกิน 2 ชม. ควรนามาอุ่นให้ร้อนท่ัวถึง ก่อนกินอีกครั้ง 4) Thai Chana ไทยชนะ ลงทะเบียนตามท่ีรัฐกาหนดด้วย APP ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า-ออกอย่างชัดเจน 5) Check สารวจ ตรวจสอบ สารวจบุคคล นักเรียน นักศึกษากลมุ่ เส่ียงที่เดินทางมาจากพื้นที่เส่ียง เพื่อเข้าสู่ กระบวนการคัดกรอง และ 6) Quarantine กักกันตัวเอง 14 วัน เมื่อเข้าไปสมั ผัสหรืออยู่ในพ้ืนท่ีเสยี่ งทมี่ ีการ ระบาดโรค

22 SSS หมายถึง คาย่อของ Sandbox Safety Zone in School เป็นการกาหนดมาตรการทดลองใช้ ระยะท่ี 1 สาหรับการเปิดเรียนแบบ Onsite ในโรงเรียนแบบพักนอน โดยมีหลักการตัดความเสี่ยง สร้าง ภมู ิคุ้มกัน และสร้างความความปลอดภัย ซ่ึงประสบผลสาเร็จ และมีการขยายผลในระยะท่ี 2 ให้กับวิทยาลัย จะเปิดการเรียน การสอนแบบ Onsite ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 เป็นการกาหนดมาตรการเขม้ ขน้ กว่า ระยะที่ 1 TST หมายถึง คาย่อของ Application Thai Save Thai เป็นเครื่องมือประเมินตนเองของนักเรียน นักศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และวิทยาลัยท่ีต้องประเมิน และมีข้อมูลความเส่ียงของตนเอง โดย สามารถดาวโหลดแบบฟอร์มจากเว็บไซต์ www.savethai.anamai.moph.go.th และผ่านทาง Application Thai save Thai TSC+ หมายถึง คาย่อของ Thai Stop Covid Plus เป็นเคร่ืองมือประเมิน เพ่ือเตรียมความพร้อม ก่อนเปิดเรียนแบบ Onsite โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้วิทยาลัยประเมินตนเอง ระบบ ประเมินตนเองของสถานศึกษา ในการเตรียมความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ซ่ึงวิทยาลัย ต้องประเมินตนเอง เตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ประกอบด้วย 6 มิติ 44 ข้อ โรงเรียนสามารถดาวโหลด ไดท้ ี่ www.stopcovid.anamai.moph.go.th V : Vaccine หมายถงึ ครู และบุคลากรทางการศึกษา จะต้องมีการเข้าถึงการฉีดวัคซีนมากกว่าหรือ เท่ากับรอ้ ยละ 85 และต้องมีการประเมนิ ความเส่ยี ง (TST) 1 วัน/สัปดาห์ซ่งึ เปน็ ไปตาม 7 มาตรการเขม้ สาหรับ วทิ ยาลยั ทจ่ี ะเปดิ การเรียนการสอนแบบ Onsite ในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 Quarantine Zone หมายถึง พนื้ ที่ 2 ซ่ึงโรงเรยี นต้องดาเนินการคัดแยกกักตัวนกั เรียน นกั ศกึ ษา ครู ผู้ปกครองหรือผู้มาติดต่อท่ีเข้ามาในวิทยาลัยที่ยังไม่ครบ 14 วัน หรือรอผลตรวจยืนยัน และต้องปฏิบัติตาม มาตรการอย่างเข้มงวด ตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด เป็น 1 ใน 3 พื้นที่ Safety Zone ใน วิทยาลัยที่ถูกกาหนดไว้ใน 7 มาตรการเข้ม สาหรับวิทยาลัยที่จะเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ได้แก่ พน้ื ที่ 1 Screening พนื้ ท่ี 2 Quarantine และพื้นที่ 3 Safety Zone

23 คณะผ้จู ัดทำ ทป่ี รกึ ษำ ผอู้ านวยการวิทยาลัยเทคนคิ นครนายก นางสาวสุกญั ญา สุขสถาน รองผอู้ านวยการฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือ นายสมพงษ์ แซ่บา่ ง รองผอู้ านวยการฝา่ ยบริหารทรัพยากร นายภชู นะ อดุ มเวช รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ นางพชั รา ศรีคา รองผูอ้ านวยการฝ่ายพฒั นากิจการนักเรยี น นักศึกษา นายชาครติ สุริยะฉาย หัวหน้ากล่มุ งานควบคุมโรคตดิ ต่อ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นครนายก นางวรรณสตรี รตั น์ลมั ภ์ กองบรรณำธิกำร นายภชู นะ อุดมเวช รองผู้อานวยการฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร บรรณาธกิ าร ผ้ชู ว่ ยบรรณาธิการ นางสาวสกุ ญั ญา เปน็ สุข ครู นายอาคม นาคน้อย ครู นางสาวยุวดี บุตรวงษ์ ครู นางณชิ ชา อินทร์ปน่ิ ครู นายปรตั ถกร ไชยสิรยิ านนท์ ครู นายชานนท์ ชืน่ นิรนั ดร์ ครู นายวันชัย วิชติ พรชัย ครู นางสาวเปมิกา สายเพช็ ร เจ้าหนา้ ที่ พมิ พ์ที่ : วทิ ยาลัยเทคนิคนครนายก จังหวัดนครนายก

24