คูม่ ือการปกั ผ้าอิเลก็ ทรอนิกส์ โครงการ ยวุ ชนอาสา มอื แห่งการสรา้ งสรรค์ (เย็บ รอ้ ย ปกั ถกั สาน ประดิษฐ)์ ยกระดบั ผ้าปกั ควนชะลกิ http://www.khuanchalik.com ไดร้ ับทนุ สนบั สนนุ จากกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช
5 คานา โครงการยุวชนอาสาของสานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ภายใตช้ ือ่ โครงการ ยุวชนอาสา กิจกรรม มอื แหง่ การสรา้ งสรรค์ (เยบ็ รอ้ ย ปัก ถัก สาน ประดิษฐ์) ยกระดับผ้า ปกั ควนชะลกิ จัดทาข้นึ เพ่อื ส่งเสรมิ และสรา้ งองค์ความรู้เก่ียวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การสร้างอาชีพให้กับ วิสาหกิจชุมชนควนชะลิก ผู้ท่ีสนใจหรือเยาวชนในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม รวมท้ังส่งเสริมด้านการตลาด และประชาสัมพันธ์ เพือ่ ขยายกลมุ่ ลูกค้าและสรา้ งรายได้ให้กับชมุ ชน ทั้งน้ีคณะผู้จัดทาเล็งเห็นถึงความสาคัญ ร่วมกันกับชุมชนในการยกระดับผลิตภัณฑ์ และเสริมสร้าง คุณลักษณะความเป็นนิสิตทั้งทางด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ บุคลิกภาพ และสานึกทางจริยธรรม วิชาชีพ จึงได้จัดกิจกรรมวิชาการท่ีส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ตาม Expected Learning Outcome (ELO) ของหลกั สตู ร จึงจดั โครงการ ยวุ ชนอาสา กิจกรรม มือแห่งการสร้างสรรค์ (เยบ็ ร้อย ปัก ถัก สาน ประดษิ ฐ์) ยกระดบั ผ้าปกั ควนชะลกิ ขน้ึ หวงั วา่ โครงการท่ีจัดทาข้ึนคร้ังนีจ้ ะเป็นผลดแี กผ่ ทู้ ศ่ี ึกษา ผู้จดั ทา นางสาวผกามาศ ง่วนสน นางสาวศริ ปิ ระภา คงจนั ทร์ นายณฐั พงศ์ รตั นพนั ธ์ุ นางสาวรัชฏาพร ดาดวน นางสาวญาดา พลสวัสด์ิ นางสาวผกามาศ พวงศรี นางสาวกัญญาวรี ์ เครือคง นางสาวพชั ราภรณ์ สระวงั อาจารย์ ดร.อรพนิ ท์ บุญสิน อาจารยพ์ ชั รินทร์ อินทมาส 2564
6 กติ ตกิ รรมประกาศ โครงการ ยวุ ชนอาสา กิจกรรม มือแห่งการสร้างสรรค์ (เย็บ ร้อย ปัก ถัก สาน ประดิษฐ์) ยกระดับผ้า ปักควนชะลิก ในครั้งนี้เกิดขึ้นและสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้จัดทาโครงการอาจารย์พัชรินทร์ อินทมาส อาจารย์อรพินท์ บุญสิน ซึ่งสละเวลาใหค้ าแนะนาในสง่ิ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วย ความละเอียดและให้คาปรึกษาแนะนาดว้ ยดีเสมอมา ขอขอบพระคุณปูาไพริน รุยแก้ว กลุ่มแม่บ้านผ้าปักควนชะลิก ที่ให้ความร่วมมือในการตอบ แบบสอบถาม และนกั เรียนโรงเรียนวดั ควนชะลิก ที่คอยให้กาลังใจจนงานสาเร็จลุล่วงด้วยดีและส่ิงสาคัญท่ีสุด ท่ีให้โอกาสแก่ผู้จัดทาโครงการด้วยดีเสมอมา โครงการฉบับนี้สาเร็จเป็นรูปเล่มออกมาได้ ประโยชน์อันใดที่ เกดิ จากการทาโครงการในครง้ั น้ี ย่อมเปน็ ผลมาจากความกรุณาของทา่ นดงั กล่าวข้างตน้
สารบัญ 7 เร่ือง หน้า ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกบั การตัดเย็บเส้อื ผ้า 1 การเลอื กผา้ เพ่ือใช้ในการตัดเย็บ 2 ขัน้ ตอนการตัดเย็บเสื้อผ้า 3 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงานตัดเยบ็ เสอ้ื ผ้า 5 การตัดเยบ็ เส้อื ผ้าอย่างง่ายด้วยตนเอง 6 การดัดแปลงเส้อื ผา้ 7 ตวั อย่างการตดั เย็บผา้ ปาเต๊ะปกั เลือ่ ม 11 แผนการจดั การเรยี นรู้ 13 13 สาระสาคัญ 14 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 15 สาระการเรยี นรู้ 15 กิจกรรมการเรยี นรู้ 15 ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 15 การวัดและประเมินผล 16 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง ความร้เู บ้ืองตน้ เก่ียวกับการปัก 18 5 ลายปกั พน้ื ฐานเป็นลายดอกไม้ 21 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 เร่ือง การปกั ผ้าด้วยมือดว้ ยลายพ้นื ฐาน 24 การปกั ผา้ ดว้ ยมอื ด้วยลายพ้ืนฐาน 30 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การออกแบบลวดลายผสมผสาน 34 การออกแบบลวดลายแบบผสมผสาน (การปกั ลายดอกไม้) 39 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 4 แพทเทริ น์ และการออกแบบลวดลายผ้าปักบนผ้าปะเตะ๊ 43 ผา้ ปาเตะ๊ ปกั เลือ่ ม 46 การแพทเทิร์นกระโปรงปาู ย
1 ภาพที่ 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกยี่ วกับการตัดเยบ็ เสอื้ ผา้ อปุ กรณต์ ดั เยบ็ เสอ้ื ผ้า 1. สายวัด สายวัดที่ดีควรทาด้วยผ้าอาบน้ายาเคมี เพ่ือปูองกันการหดหรือยืด มีโลหะหุ้มท่ีปลายทั้ง 2 ข้าง มี ตัวเลขบอกความยาวเป็นเซนติเมตรและน้ิว 2. กระดาษสรา้ งแบบ ใช้สรา้ งแบบก่อนตัดผา้ มที ัง้ สขี าวและสีน้าตาล 3. กรรไกรตัดผ้า มี 2 ชนิด คือ ชนิดด้ามโค้งและด้ามตรง ซ่ึงกรรไกรด้ามโค้งจะตัดได้เท่ียงตรงกว่า เพราะใบ กรรไกรอยู่ขนานกับผ้าขณะตัด ไม่ควรทากรรไกรตกขณะใช้เพราะทาให้เสียคม หม่ันลับกรรไกรให้คมเสมอ และหยอดน้ามนั จักรเปน็ ครง้ั คราวเพือ่ ปอู งกนั ไม่ให้กรรไกรฝืด 4. ชอลก์ เขยี นผา้ ใชท้ าเครือ่ งหมายบนผา้ มที ัง้ แบบแทง่ เหมือนดินสอและแบบแผ่นรสู ามเหลยี่ ม 5. กระดาษกดรอย เป็นกระดาษสีมีหลายสี อาบด้วยเทียนไข ใช้กับลูกกลิ้งเพ่ือกดรอย เผ่ือเย็บเกล็ดหรือ ตะเข็บลงบนผา้ ควรเลือกให้เหมาะกบั สีของผา้ 6. ลูกกลิ้ง ใช้คู่กับกระดาษกดรอย มี 2 ชนิด คือ ชนิดลูกล้อฟันเลื่อย และชนิดปลายแหลมเหมือนเข็ม โดยทั่วไปนิยมใช้ชนดิ ลูกล้อฟันเล่อื ยมากกวา่ เพราะลกู กลิง้ ตดิ สีไดด้ แี ละรอยมีความถี่มากกว่า 7. เขม็ เยบ็ ผา้ ควรเลือกใหเ้ หมาะสมกับผ้า เช่น เข็มเบอร์ 10–11 มีขนาดเล็กใช้กับผ้าเนื้อบางเบา เข็มเบอร์ 9 มขี นาดกลางใชก้ ับผ้าเน้ือหนาปานกลาง และเขม็ เบอร์ 8 มีขนาดใหญ่ใช้กบั ผ้าเนื้อหนา
2 8. เข็มจักร ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของด้ายและความหนาของเนื้อผ้า เช่น เข็มจักรเบอร์ 9 ใช้กับผ้า แพร ผ้าชีฟอง ผ้าไหม และผ้าปุาน เข็มจักรเบอร์ 11 ใช้กับผ้าสักหลาดและผ้าฝูายผสมไนลอน เข็มจักรเบอร์ 13 ใช้กับผ้าลินิน ผ้าเสิร์จ และผ้าฝูาย เข็มจักรเบอร์ 14 ใช้กับผ้าขนสัตว์ ผ้าใยสังเคราะห์ และผ้าขนสัตว์ผสม สาลี เขม็ จกั รเบอร์ 16 ใชก้ บั ผา้ ใบ ผา้ ยีน และหนงั 9. เข็มหมดุ ใชก้ ลัดเพื่อปูองกันการเคล่ือนเวลากดรอยเผ่อื เยบ็ ใชท้ าเคร่ืองหมายลงบนผ้า หรือเนาผ้าให้ติดกัน เมื่อจะตดั ผ้าตามแบบ 10. ด้าย ใช้เย็บเพ่ือประกอบชิ้นส่วนของผ้าให้ติดกัน ควรเลือกให้เหมาะสมกับสีผ้า ความหนาของผ้า และ ขนาดของเขม็ ด้ายท่ีนยิ มใชก้ บั ผา้ ทกุ ชนิด คอื เบอร์ 60 11. ท่ีเลาะด้าย ใช้เลาะด้ายส่วนท่ีไม่ต้องการท้ิง ส่วนปลายมีลักษณะแหลมคมและมีง่าม มีปลอกสวมเพื่อ ความปลอดภยั 12. หมอนเข็ม เป็นอุปกรณ์พักเข็มชนิดต่าง ๆ หลังใช้งานหรือรอการใช้งาน หมอนเข็มที่ดีควรทาจากผ้า กามะหยีห่ รอื ผา้ ขนสัตว์ ไส้ในควรบรรจุดว้ ยเสน้ ผม ขนสัตว์ หรอื ข้เี ลื่อย เพือ่ ปอู งกนั สนมิ ภาพท่ี 2 การเลอื กผ้าเพอ่ื ใชใ้ นการตดั เยบ็ 1. ควรเลือกผ้าทท่ี อเนอ้ื ละเอียด ไมบ่ าง มนี ้าหนกั เพอ่ื ให้จับไดเ้ ต็มทขี่ ณะเยบ็ 2. ควรเป็นผ้าสพี ื้น ไม่ควรใช้ผา้ ทีต่ อ้ งต่อลายใหต้ รงกนั 3. ควรเปน็ ผ้าที่ไม่ยับง่าย เพราะจาทาใหเ้ สียเวลาในการรดี 4. ควรเป็นผา้ ทส่ี ไี มต่ ก และหลีกเลี่ยงการใช้ผ้าสีเขม้ เช่น สนี ้าเงนิ นา้ ตาล 5. ควรเป็นผ้าที่มีความคงทน เสน้ ดา้ ยทอไม่แตกงา่ ย และไม่ยดื หรือหดเมอื่ ผา่ นการซัก 6. ควรเป็นผา้ ทส่ี วมใสแ่ ลว้ สบายตวั ไมร่ ะคายเคอื งผิว 7. ควรเลือกผา้ ตามวัตถุประสงคข์ องการนาไปใช้ เช่น ผา้ ท่ใี ชต้ ดั ชดุ นอนควรเปน็ ผ้าเน้อื น่มิ เป็นตน้
3 8. ไมค่ วรเลือกใชผ้ า้ ราคาแพง เพราะหากตดั เย็บไม่สาเรจ็ จะสนิ้ เปลอื งโดยเปลา่ ประโยชน์ 9. พยายามเล่ยี งผ้าทม่ี ีเชงิ ริมผ้าทั้ง 2 ด้าน เพราะจะทาใหต้ ดั และเย็บประกอบเป็นตัวเส้อื ไดย้ าก สาหรับผา้ ทวี่ างจาหนา่ ยตามทอ้ งตลาดมีคณุ สมบตั ิเฉพาะที่แตกตา่ งกนั ไป ดงั น้ี 1. ผ้าฝ้าย มีคุณสมบัติซึมซับน้าและระบายความร้อนได้ดี ทนความร้อนสูง ทนต่อการซักรีด ราคาไม่แพงและ ตดั เย็บงา่ ย เหมาะจะนามาตัดชุดนอน ชุดลาลอง กางเกง กระโปรง ชุดเดก็ และผา้ ออ้ ม 2. ผ้าลินิน มีคุณสมบัติซึมซับน้าได้ดีและมีความเหนียวมาก สวมใส่สบาย เหมาะท่ีจะนามาตัดเย็บเป็นของใช้ ในครัว แตไ่ ม่ควรนามาฝึกตดั เยบ็ เส้อื ผ้า เพราะยบั ง่าย รีดยาก และราคาแพง 3. ผา้ ไหม เน้อื นุม่ เบา ขึ้นเงาสวยงาม นิยมนามาตัดชุดสาหรับงานพิธี งานกลางคืน หรือโอกาสพิเศษ ไม่ควร นามาฝึกตดั เยบ็ เส้ือผา้ เพราะซกั รีดยาก ราคาแพง 4. ผ้าขนสัตว์ มีความยืดหยุ่นดีเย่ียม ไม่ยับ และเก็บความร้อนได้ดี แต่มีราคาแพง นิยมนามาตัดเป็นเสื้อผ้า และเครือ่ งกันหนาว 5. ผ้าเส้นใยสังเคราะห์ ถ้าร้อยเปอร์เซ็นต์จะร้อน ไม่ซับเหง่ือ และสวมใส่ไม่สบาย แต่ชนิดท่ีผสมเส้นใย ธรรมชาติจะไม่ยับ ซักรีดง่าย และสวมใสส่ บายกวา่ นอกจากนี้ยังมคี วามเหนียวและจับจีบได้สวยงาม ผ้าเส้นใย สังเคราะห์มีช่ือเรียกทางการค้าต่าง ๆ กัน เช่น วิสคอสเรยอน ไลครา เคดอน แอนทรอน เดครอน ไวครอ น ออรล์ อน ไวคารา เปน็ ต้น ข้นั ตอนการตดั เย็บเส้ือผา้ 1. การวัดตวั ใชเ้ ชือกผูกเอวเพอื่ ให้รู้ตาแหน่งของเอว ยืนตัวตรง จากน้ันผ้วู ัดจะวดั ตามขั้นตอนตอ่ ไปน้ี 1) วดั รอบอก วัดให้ผา่ นช่วงท่ีนูนท่ีสุดของอก โดยใชส้ ายวดั ด้านหนา้ และด้านหลังเปน็ แนวเดียวกนั 2) วดั รอบเอว วงสายไปรอบเอวแลว้ วดั สว่ นท่ีคอดทสี่ ดุ ตรงเอวใหพ้ อดี 3) วัดรอบสะโพกล่าง ทาบสายวัดตรงส่วนที่นูนสุดของสะโพก ขณะวัดให้ใช้น้ิวสอดเข้าไปในสายวัด 2 น้ิว จากนน้ั ลองเล่อื นสายวดั ขึน้ -ลงพอใหส้ ายวดั ผ่านสะโพกได้สะดวก 4) วัดความยาวด้านหลงั ทาบสายวดั จากปมุ กลางกระดกู คอดา้ นหลังใหแ้ นบกบั ลาตวั ด้านหน้าลงมาถงึ เอว
4 5) วดั ความยาวด้านหนา้ ทาบสายวดั ตรงรอยบุ๋มตรงกลางคอดา้ นหน้าใหแ้ นบกับลาตวั ดา้ นหลังลงมาถึงเอว 6) วัดรอบคอ วางสายวัดให้ชิดกับฐานคอตรงแนวต่อกับช่วงไหล่ แล้วใช้น้ิวสอดไปในสายวัด 1 นิ้ว วัดให้พอ หมนุ ได้ 7) วดั ความกว้างของบ่าหน้า วดั จากชว่ งรกั แรด้ า้ นหนา้ ดา้ นหนง่ึ ไปยังอีกด้านหนงึ่ 8) วัดความกวา้ งของบา่ หลงั วัดจากช่วงรักแรด้ ้านหลังด้านหน่งึ ไปยงั อกี ด้านหนงึ่ 9) วดั ความยาวไหล่ วัดจากข้างคอท่ีแนวตะเข็บไหลม่ าท่ปี ุมปลายไหล่ 10) วัดความแขน ให้ผ้ถู กู วดั ยืนเท้าเอว แล้วใช้สายวัดทาบหวั ไหล่ผ่านข้อศอกไปจนถึงขอ้ มือ 11) วดั รอบขอ้ มือ วงสายวัดรอบตรงปุมข้อมือ แล้วลองเลือ่ นขนึ้ -ลงให้ผ่านมอื ได้สะดวก 12) วัดความยาวกระโปรงหรือกางเกง วางสายวดั ทาบจากขอบเอวยาวลงมาทางดา้ นหนา้ ขาหรอื ด้านข้างลาตัว การวัดตามข้ันตอนนี้เป็นแบบพ้ืนฐานท่ัวไป ถ้าต้องการเส้ือผ้าท่ีมีรายละเอียดมากขึ้น เช่น เส้ือแขน ยาว อาจจะต้องวัดรอบรักแร้เพิ่มเติม เพื่อจะได้เผ่ือหลวมให้สามารถเคลื่อนไหวในอิริยาบถต่าง ๆ ได้ โดยสะดวก 2. การเตรียมผ้าก่อนตัด บางคร้ังผ้าที่ซ้ือมาอาจถูกตัดหรือชายผ้าฉีก ทาให้เส้นด้ายของเนื้อผ้าเสียรูปทรง แก้ไขได้โดยดึงมุมทุกมุมของผ้าให้เป็นมุมฉาก และถ้าต้องการหดผ้าสาหรับผ้าที่ซักเปียกได้ ให้ทบผ้าตามยาว แล้วพับผ้าวางลงในภาชนะที่มีน้า แช่ท้ิงไว้ประมาณครึ่งชั่วโมงหรือจนกระท่ังน้าซึมท่ัวผืนผ้า แล้วยกออกท้ังที่ ยงั พับอยู่ จากนน้ั ใชฝ้ าุ มอื กดนา้ ออกโดยไมต่ ้องบิด แล้วนาไปวางบนพืน้ ราบ ผึ่งแดดให้แหง้ 3. การสรา้ งแบบตัด จะต้องสรา้ งแบบตัดมาตรฐาน โดยใช้อุปกรณ์ได้แก่ กระดาษสร้างแบบ ดินสอดา ยางลบ ไม้บรรทัด กรรไกร ดินสอสีน้าเงินหรือแดง แบบตัดมาตรฐาน ได้แก่ แผ่นหน้า แผ่นหลัง และแขนเสื้อ โดยมี ขน้ั ตอนดังนี้ 1) การสร้างแบบตัดแผ่นหน้า วัดขนาดริมกระดาษสร้างแบบด้านบนลงมา 10 เซนติเมตร เป็นจุดเริ่มต้น โดย ให้เส้นขนานท่ขี วามอื ด้านริมกระดาษเปน็ จดุ ท่ี 1 หาความกว้างและลกึ ของตัวเส้ือ เชน่ สว่ นที่กาหนด รอบคอ=33 รอบคอ=34 รอบคอ=35 6.25 คอหนา้ กว้าง 6 6 6.75 6.75 คอหนา้ สูง 6.5 6.5 1.75 คอหลังกวา้ ง 6.5 6.5 คอหลงั สูง 1.5 1.5 เอวรอบคอ ÷ 6 ถ้าหาคอหนา้ กวา้ ง ให้เอารอบคอ ÷ 6 + 0.5 = ? ถ้าหาคอหน้าสงู ให้เอารอบคอ ÷ 6 + 1 = ?
5 ถ้าหาคอหลังกวา้ ง ใหเ้ อารอบคอ ÷ 6 + 1 = ? ถ้าหาคอหลังสูง ให้เพิ่ม 1.5 ตามสัดส่วนของแตล่ ะคน 4. การตดั ผา้ ตามแบบ วางแบบกระดาษลงบนผ้าที่วางบนโต๊ะเรียบ สาหรับผ้าลาย ก่อนตัดควรดูให้แน่ใจก่อน เพอ่ื เวลาท่ีตอ่ ลายจะไดเ้ นียนสนทิ จากนน้ั ใชเ้ ข็มหมุดกลัดกระดาษให้ติดกับผ้าแล้วเผ่ือเย็บโดยรอบด้วยการกด ลูกกลิ้งลงบนกระดาษกดรอยไว้ทุกด้าน ประมาณด้านละ 2 เซนติเมตร หรือ 1 นิ้ว และตัดผ้าเป็นช้ิน ๆ ตาม แบบทีก่ ลัดไว้ 5. การทาเครื่องหมายบนผา้ มีอปุ กรณส์ าคัญ คอื ลูกกล้ิง กระดาษกดรอย และชอล์กเขียนผ้า ทาเครื่องหมาย ท่ีต้องการให้ปรากฏบนผ้าส่วนใหญ่ ได้แก่ กลางหน้าและกลางหลังของเสื้อ ตะเข็บต่าง ๆ เกล็ดกระโปรง กางเกง หรือเสอื้ รอยเผ่อื เยบ็ ตาแหน่งติดกระเป๋า เปน็ ตน้ ถา้ มีจักรเย็บผ้าก็ให้เย็บกนั ลุ่ยผ้าแตล่ ะช้นิ กอ่ น 6. การเนาผ้า เป็นการทาแนวเยบ็ ผา้ และยดึ ผา้ แตล่ ะช้ินใหต้ ดิ กนั เพ่ือปูองกนั การเล่ือนของตาแหน่งผ้าเวลาเย็บ ซ่งึ เมื่อเยบ็ เสร็จกจ็ ะเลาะด้ายที่เนาไวแ้ ลว้ ออกไป 7. การเย็บประกอบรูปรา่ ง โดยใช้เขม็ สอยกบั ด้าย หรือใช้จกั รเย็บผา้ รวมถงึ การติดกระดุม เย็บรังดุม ติดตะขอ ซปิ และสอยเกบ็ ริม ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านตดั เยบ็ เสอ้ื ผ้า 1. ศึกษาวธิ ีการใช้ใหล้ ะเอยี ดกอ่ นทุกครั้ง 2. ขณะใช้อปุ กรณก์ ารตัดเย็บเสือ้ ผ้าควรแตง่ กายให้รดั กมุ 3. ถ้างว่ งนอนหรือรา่ งกายอ่อนเพลยี ใหห้ ยดุ ทางานทนั ที 4. ถา้ อปุ กรณ์การตัดเย็บเสือ้ ผ้าผดิ ปกตหิ รือชารดุ ให้รีบซอ่ มทนั ทกี ่อนนามาใช้ 5. เมือ่ ใช้งานเสร็จควรเกบ็ ไว้ในทม่ี ดิ ชดิ และแยกประเภทให้เปน็ ระเบียบเพ่ือความสะดวกใชง้ าน 6. อุปกรณ์การตดั เยบ็ เสื้อผ้าทีม่ คี วามแหลมคม ควรใช้ด้วยความระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษ 7. อุปกรณอ์ ่ืน ๆ ทต่ี ้องใช้ไฟฟูา เช่น เตารดี จกั รเยบ็ ผ้าไฟฟูา ควรถอดปล๊ักและเก็บสายไฟฟูาให้เรียบร้อยหลัง ใช้งาน
6 การตดั เย็บเสอื้ ผ้าอยา่ งงา่ ยด้วยตนเอง การตัดเย็บผา้ ปาเต๊ะปักเล่ือม 1. การวิเคราะหง์ าน ลักษณะงาน ต้องศึกษาเกี่ยวกับวิธีการเลือกผ้า การวัดตัว การสร้างแบบ ข้ันตอนการตัดเย็บ จดั เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมอื ในการตดั เย็บ คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน ควรเป็นผู้ที่มีความรู้เก่ียวกับการตัดเย็บผ้า การออกแบบ เสื้อผ้ามีความประณีต ละเอยี ด รอบคอบ สามารถตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ได้ด้วยตนเอง 2. การวางแผนในการทางาน โดยสร้างแผนทคี่ วามคิดเพ่ือให้เหน็ ภาพรวมของการทางาน 3. การปฏิบตั ิงานตามลาดับข้นั ตอน 1. เตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมือ 5. เย็บกนั ลยุ่ ริมผ้า 2. วัดตวั และสร้างแบบตัด 6. เนาและลองสวมใส่ 3. วางแบบตดั และทารอยเผอื่ เย็บ 7. เยบ็ ผา้ ปาเต๊ะปกั เลื่อมตามลาดับขั้นตอน 4. ตดั ผา้ และทาเครอ่ื งหมายบนผา้ 8. ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของผลงาน วิธกี ารสร้างแบบผ้าปาเตะ๊ ปักเลื่อม เร่ิมด้วยการหาเอวของนางแบบ คือ ส่วนท่ีคอดที่สุดบริเวณกลางลาตัว หา ผา้ หรือเทปมาคาดผกู ไวเ้ พอ่ื กาหนดตาแหน่งของเอว แลว้ เรมิ่ การวัดขนาดของรอบเอว และรอบสะโพก ดังนี้ 1) วดั รอบเอว ตรงส่วนท่คี อดสุดกลางลาตวั 2) วดั ความยาวแนวตั้งจากเอวลงมาที่หน้าทอ้ งสว่ นทนี่ ูนท่สี ดุ 3) วัดรอบสะโพกบน คอื ส่วนท่ีนนู สดุ ของหนา้ ท้อง และเพอื่ ใหไ้ ดร้ ะยะวัดท่ีเหมาะสม ให้ใช้น้ิวมือสองนิ้ว สอดไวใ้ ตส้ ายวดั เพือ่ ให้ไดร้ ะยะรอบสะโพกบนทหี่ มุนสายวดั ไปมารอบๆ ได้ 4) วัดรอบสะโพกล่าง คือส่วนท่ีกว้างที่สุดบริเวณกลางลาตัว ใช้วิธีการวัดเหมือนการวัดสะโพกบน คือ สอดนิ้วมอื ไวร้ ะหว่างสะโพกกบั สายวดั หมนุ สายวัดไปมาได้ จากนน้ั วดั ความยาวของกระโปรงท่ตี อ้ งการตดั ดงั น้ี 1) วดั ความยาวกระโปรง จากเอวถึงชายกระโปรง ท้ังดา้ นหน้า ด้านขา้ ง และดา้ นหลงั 2) วัดความสูงจากพ้ืนถึงชายกระโปรงท้ังด้านหน้า ด้าน ข้างและด้านหลัง (ตัวเลขการวัดน้ี อาจไม่ได้ใช้ แตว่ ดั เกบ็ ไวเ้ ปน็ ขอ้ มูลความสูงของแบบ เผ่ือการตัดกระโปรงให้ยาวข้ึน) 3) วัดความยาวสะโพก ด้านหลัง ตามแนวตั้ง จากเอวถึงสะโพกล่าง (เก็บตัวเลขไว้ในกรณีท่ี แบบอาจมี สะโพกงอนมากกว่าคนทวั่ ไป จะไดใ้ ช้ในตอนปรบั แพทเทิรน์ ได้)
7 หน่วยการวดั สามารถใช้ไดต้ ามความถนัด จะวัดเป็นน้ิวหรือเซนติเมตรก็ได้ แต่โดยทั่วไป จะวัดเป็นเซนติเมตร เพื่อไม่ต้องใช้ตัวเลขที่มีจุดทศนิยมมากเกินไป ตัวเลขเหล่าน้ีจะนามาใช้สร้างแบบมาตรฐาน หรือแพทเทิร์น มาตรฐานของนางแบบแต่ละคน การสร้างแพทเทิร์นเส้ือผ้ามาตรฐาน เป็นเรื่องสาคัญ เพราะสามารถนาไป ปรับใช้สรา้ งกระโปรงได้ทุกแบบ http://sewitmyself.blogspot.com/2014/08/blog-post.html 4. การประเมนิ ผลการทางาน ถ้าพบว่ายางยดื ท่ีขอบกางเกงแน่นหรือหลวมไป ควรเลาะออก วัดขนาดให้พอดี แล้วเยบ็ ใหม่ ควรประเมินผลการปฏบิ ัติงานโดยภาพรวม หากพบรายการท่ีไม่ได้ปฏิบัติตามข้ันตอน ก็บันทึกไว้ เพ่ือนาไปแกไ้ ขในการทางานครง้ั ต่อไป การดดั แปลงเสอื้ ผา้ วธิ กี ารดดั แปลงเส้ือผา้ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คอื 1. เส้ือผา้ ทยี่ งั มสี ภาพดี ตอ้ งการดัดแปลงเพ่ือหนีความจาเจ หรอื เพ่ือให้ทนั สมัย 2. เสื้อผา้ ที่มรี อยชารุด จาเป็นต้องนามาดดั แปลงเพอ่ื แกไ้ ขหรือหลกี เลย่ี งสภาพทช่ี ารุด ข้นั ตอนการดัดแปลงเสอ้ื ผ้า 1. ออกแบบเสอ้ื กางเกง หรอื กระโปรงตัวใหม่กอ่ นโดยยดึ หลกั ความคงทน และประโยน์ใชส้ อย 2. เลือกวธิ กี ารดัดแปลงแกไ้ ขบางส่วนที่เหมาะสมกับเสอ้ื ผ้า 3. เตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมอื ท่จี ะใช้ในการตดั เย็บและดดั แปลงเสือ้ ผ้าให้พร้อม 4. ลงมือดัดแปลงตามแบบ 5. ตกแต่งเสอื้ ผา้ ที่ดดั แปลงใหเ้ รยี บรอ้ ยสวยงาม วธิ ดี ดั แปลงเสอื้ ผา้ 1. การตัดใหส้ ้นั 1) เส้ือแขนยาวทาเป็นเส้ือแขนสั้น โดยการตัดแขนทั้งสองข้างให้เท่ากัน แล้วเย็บตะเข็บด้วยจักรเย็บผ้าหรือ เย็บมอื ให้ม่นั คงแขง็ แรงสวยงาม
8 2) กระโปรงยาวตัดชายให้สั้น โดยตดั ชายใหส้ ้นั ตามต้องการ แล้วสอยชายใหเ้ รยี บร้อย 3) กางเกงขายาวทาเปน็ กางเกงขาสั้น นามาตดั ขาแลว้ เย็บปลายขาให้เป็นกางเกงขาสัน้ 2. การตอ่ ให้ยาว ใช้ดัดแปลงกระโปรง โดยนามาตกแตง่ ด้วยลกู ไม้ หรือจีบระบายทชี่ ายกระโปรง 3. การเปล่ียนสัดส่วน เส้ือผู้ใหญ่นามาเปล่ียนสัดส่วนดัดแปลงเป็นเส้ือเด็ก โดยออกแบบตัดเย็บหลบเล่ียงรอย ขาด หรือรอยต่อตะเข็บของเสอ้ื ตัวเดิม
9 4. การแก้ไขบางส่วน เช่น เสอ้ื ปกขาดแก้เป็นเสือ้ คอกลม แขนเสื้อขาดแก้เป็นไม่มแี ขน มีวิธดี ังน้ี 1) เลาะปกเก่าออก แล้วรดี ตะเข็บตัวเส้ือตรงรอยเลาะใหเ้ รยี บ 2) เย็บโดยพบั สอย หรอื อาจใช้ผ้ากนุ๊ รอบคอเส้ือเพื่อใหส้ วยงามยิ่งข้ึน 5. การตกแตง่ เพ่มิ เติม โดยนามาติดโบ ตดิ ลกู ไม้ หรือปักลวดลายต่าง ๆ 6. การเปล่ียนประโยชน์ใช้สอย เสื้อผ้าท่ีใส่มานานแล้ว แต่เนื้อผ้ายังดี สามารถนามาดัดแปลงได้ 1) เส้ือชุดเก่าเปล่ียนเป็นผ้ากันเปื้อน โดยตัดแบบผ้ากันเป้ือนวางบนตัวเส้ือด้านหน้า แล้วตัดตามแบบ นามา เย็บริม ผ้าคลอ้ งคอ ผา้ ผกู เอวตดั จากเส้อื ดา้ นหลงั นามาเยบ็ ติดกัน และกุน๊ ด้วยผา้ สีสวย ๆ
10 2) ผ้าเช็ดตัวเปล่ียนเป็นผ้าจับหูกระทะ ผ้าเช็ดตัวที่มีรอยขาดนามาตัดตามแบบ 4 ชิ้น นา 2 ชิ้นประกบกัน เยบ็ ริมโดยรอบแล้วกุน๊ ดว้ ยผา้ สีสวย ๆ อาจตกแต่งเพิ่มเตมิ หรอื เย็บหูสาหรับแขวนด้วยก็ได้ แหลง่ ท่ีมาของเนอื้ หา : สานักพมิ พ์วัฒนาพานชิ www.wpp.co.th/
11 ตวั อยา่ งการตดั เย็บผา้ ปาเต๊ะปกั เลอ่ื ม ขน้ั ตอนการเย็บผ้าปาเตะ๊ ปักเล่อื ม 1. รอ้ ยด้ายเข้ารูเข็ม ขมวดปมให้เรยี บรอ้ ย เลอื กสลี ูกปัด หรอื ปล้องอ้อยตามโทนให้ไดก้ บั สผี า้ และใหใ้ ส่ ลงดา้ ยเพื่อปักลงบนผา้ 2. กะระยะลูกปัด หรือปล้องอ้อยให้พอดี เพ่ือผ้าไม่ย่น กะระยะได้เท่าไหร่ก็แทงเข็มลง-ขึ้น ถ้าเรากะ ระยะยาวเกินไปด้ายก็จะโผล่ออกมานอกเหนอื จากลูกปัด และปล้อง ซ่ึงจะไม่สวย หลังจากนั้นก็เอาเข็มดัน ไปใหส้ ุด 3. วิธีแทงเข็มจะต้องแทงตรง และสะกิดข้ึนมานิดเดียว ถ้าเราแทงเฉียงงานก็จะออกมาเฉียง และจะยุก ยกิ ๆไปมา กจ็ ะไมส่ วย
12 4. ปักไปตามรูปแบบบนผ้าที่ออกแบบไว้ ปักไปเร่ือยๆจนถุงจุดสิ้นสุดของลวดลาย จากน้ันให้ลอดใต้ผ้า และขมวดปมให้เรยี บรอ้ ย ใหน้ กั เรยี นปักเลื่อมโดยใชล้ กู ปัด หรือปลอ้ งบนผา้ ปาเตะ๊ คนละ 1 ช้ิน ตามลวดลายท่กี าหนดให้ อา้ งองิ จาก https://youtu.be/N_nXFMD6-_Y
13 แผนการจดั การเรยี นรู้ กิจกรรม มือแห่งการสร้างสรรค์ (เย็บ รอ้ ย ปกั ถัก สาน ประดิษฐ์) ยกระดบั ผา้ ปักควนชะลิก กิจกรรมย่อย หลักสตู รการปักผา้ 40 ชั่วโมง สาระสาคัญ การปัก เป็นงานศิลปะแขนงหนึ่งของกุลสตรี เพราะเป็นการเสริมแต่งเคร่ืองแต่งกาย เช่น การปักเสื้อ กระโปรง ปลอกหมอนอิง หมอนหนุน ผ้าคลุมเตียง ผ้าม่านหน้าต่าง และเครื่องใช้อื่น ๆ ตามความต้องการ ท้ังนี้เพ่ือให้เห็นคุณค่าของงานและความสวยงามย่ิงข้ึน การปักในสมัยก่อนน้ันนิยมปักด้วยมือแต่เพียงอย่าง เดียว เพราะถือว่าเป็นงานฝีมือท่ีต้องการความละเอียดเป็นพิเศษ ต่อมาเมื่อมีผู้นิยมลายปักมากข้ึน การใช้มือ ผลิตผลออกมาได้ไม่ทันตามความต้องการ และค่าแรงสูงมาก จึงมีการปักด้วยเคร่ืองมือพิเศษ และปักด้วยจักร เพม่ิ ขึ้นอกี ซง่ึ ส่งผลดตี ่อการทางานของสมองในผู้สงู วัย ใหต้ ้องฝึกคดิ อยเู่ สมอ รับรองวา่ ห่างไกลจาก อัลไซเมอร์ แน่นอนช่วยคลายความความกังวลและความเครียด รู้สึกผ่อนคลายมากข้ึน แถมหลังจากท่ีผลงานปักออกมา สาเร็จ กย็ งั ทาใหร้ ู้ภูมิใจกบั ผลงานของตวั เองอกี ด้วย การปักสมัยก่อนนิยมปักแต่สีขาว ผ้าท่ีนามาปักก็เป็นสีขาว เพราะนิยมว่าสุภาพ ต่อมาความนิยม เหลา่ นนั้ ก็เปลีย่ นแปลงไปเปน็ ใชด้ ้ายและไหมสตี า่ ง ๆ ปกั บนผา้ สีขาว ชมพู ครีม หรือสีที่มีพ้ืนสีอ่อน ๆ ส่วนผ้า ที่มสี ีพ้ืนหนัก ๆ หรือสีเข้ม การใช้สีของด้ายปักจะต้องคิดให้ดี จะใช้สีอะไรจึงจะงาม ส่วนผ้าท่ีพื้นสีอ่อน ๆ น้ัน หาสีของด้ายปักได้ง่ายกว่าผ้าพ้ืนสีเข้ม ๆ ปัจจุบันจะเห็นเส้ือผ้าของใช้ต่าง ๆ ของประเทศท่ีเอามาขายในบ้าน เรา มีราคาสูงมาก ต่างกับราคาของบ้านเรา ฝีมือการปักก็พอ ๆ กัน จะเห็นว่างานอาชีพการปักของบ้านเรา เวลาน้ี ไม่ย่ิงหยอ่ นไปกวา่ ตา่ งประเทศ ทง้ั ยังเปน็ สนิ คา้ ทีข่ ายไดด้ มี ากแม้แต่ตา่ งประเทศก็นิยม ส่ิงที่ควรคานึงถึง เราควรใช้วัสดุท่ีมีในท้องถ่ิน เช่น ผ้า และไหม เราควรคานึงคุณภาพของวัสดุ มากกว่าที่จะหาซ้ือผ้าจาก ต่างประเทศได้ไม่น้อยทีเดียววิธีการ ขั้นตอนกระบวนการทางานในการปักผ้าด้วยมือวัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชใ้ นการปักผ้าดว้ ยมือการปกั ด้วยมือโดยการใช้ไหมหรือริบบิ้นด้วยวิธีต่างๆ การปักเล่ือมแบบต่างๆ การ ปักและการสรา้ งสรรค์ชนิ้ งานได้ แพทเทิร์น (Pattern) คือ กระดาษออกแบบที่เราวาดตามจินตนาการหรือดีไซน์ท่ีเราคิดเอาไว้ จากน้ันจึงแกะ แบบออกมาให้พอดีกับขนาดรูปร่างของผู้สวมใส่ตามท่ีเราได้วัดขนาดไว้ เพ่ือใช้ในการวางบนผ้าและตัดผ้าตาม ขนาดแบบสาหรบั นามาตดั เยบ็ เส้อื ผา้ ในข้นั ตอนตอ่ ๆ ไป การทาแพทเทริ น์ เสอื้ ผา้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื
14 แพทเทิร์นเส้ือผ้ารายบุคคล การทาแพทเทิร์นแบบน้ีคือการทาแพทเทิร์นตามขนาดท่ีวัดได้จากบุคคล ใดบุคคลหนง่ึ โดยเฉพาะ ข้อดขี องแพทเทิร์นแบบนี้คือ ช่วยให้การตัดเย็บมีความเหมาะสมหรือพอดีตัวผู้สวมใส่ รายน้ันๆ แบบพอดีตัว สามารถปรับแก้จุดที่ไม่สมส่วนหรือไม่พอดีได้ แต่การทาแพทเทิร์นแบบน้ีไม่เหมาะกับ อตุ สาหกรรมเสือ้ ผ้าสาเร็จรปู ทต่ี ้องการตัดเย็บเป็นจานวนมาก เพราะขนาดที่ได้อาจไม่ใช่ขนาดมาตรฐานสากล นอกจากนย้ี ังอาจทาใหต้ น้ ทุนสงู ขนึ้ ทั้งจากค่าผา้ และคา่ ตัดเย็บอกี ดว้ ย แพทเทิร์นเสื้อผ้าสาเร็จรูป หรือ แพทเทิร์นอุตสาหกรรม การทาแพทเทิร์นแบบน้ีเป็นการตัดเย็บตาม ขนาดมาตรฐานตามท่ีเราต้องการ ไม่ว่าจะอ้างอิงจากไซส์ของฝ่ังตะวันตก ยุโรปหรือญี่ปุน เป็นต้น การตัดเย็บ ตามแพทเทริ น์ แบบน้เี หมาะสาหรับแบรนด์ท่ีต้องการผลิตเสื้อผ้าจานวนมากและต้องการขนาดที่เป็นมาตรฐาน ใกลเ้ คียงกนั กรณีน้ี แพทเทริ ์นอุตสาหกรรม จงึ หมายถึง แม่แบบสาหรบั ตัดเส้ือผ้าสาเร็จรูป ซ่ึงมักนิยมนาไปตัดเย็บ แบบละหลายตัว หรืออาจมีแบบละหลายไซส์ ( XS , S , M , L , XL ) หรือนาไปตัดเย็บเพียงตัวเดียวก็ได้ หลายคนอาจเข้าใจว่าแพทเทิร์นอุตสาหกรรม ใช้ทาเสื้อผ้าแบบหยาบๆหรือเป็นงานเกรดไม่ดี “ ในความเป็น จริงด้วยวิธีการสร้างแพทเทิร์นอุตสาหกรรมที่ถูกต้อง สามารถทาได้ตั้งแต่ชุดเส้ือผ้าง่ายๆ จนถึง เสื้อผ้าช้ันสูง เพียงแต่หลักการของแพทเทิร์นอุตสาหกรรมเป็นไปในทางธุรกิจมากกว่างานฝีมือ ”หากกล่าวถึงความความ แตกต่างของแพทเทิร์นท้ัง 2 ประเภท จากผลการวิจัยเราพบว่านอกเหนือจากหลักการของแพทเทิร์น อุตสาหกรรมท่ีเป็นไปในทางธุรกิจมากกว่างานฝีมือแล้ว ยังพบอีกว่า “ หลักการและวิธีการสร้างแพทเทิร์น อุตสาหกรรมที่ถูกต้อง ไม่มีการแบ่งเพศ ชาย/หญิง หรือ วัย เด็ก/ผู้ใหญ่ แต่ใช้สัดส่วนสรีระมาตรฐาน(เป็น ตวั กาหนดลักษณะของแพทเทริ น์ และใช้หลกั การเรขาคณิตเข้ามาควบคุมรูปทรงมาตรฐาน) ทั้งหมด ” การปัก เลื่อมโดยใช้ลูกปัดกลมเป็นเกสร วิธีน้ีนิยมใช้ปักลายที่ต้องการปักเล่ือมห่างกันไม่ซ้อนกัน วิธีปักจะใช้ด้ายร้อย ผา่ นเลอ่ื มและคล้องกบั ลูกปัด ซึ่งลูกปัดจะเป็นตัวยึดให้เล่ือมติดกับผ้าอีกทีหน่ึง - การปักเล่ือมแบบเดินเส้น ใช้ กับการปักเป็นลายเส้น ซง่ึ สามารถปกั เดนิ เสน้ แบบให้เหลื่อมซอ้ นกนั หรอื แบบทตี่ อ่ กนั โดยไมซ่ ้อนทับก็ได้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ปลายทาง 1. เพื่อใหร้ แู้ ละเข้าใจการปักผา้ ด้วยมือ 2. เพื่อให้ตระหนักถึงความสาคัญของการปกั ผ้าด้วยมือ 3. เพอื่ ให้ลงมอื ปฏบิ ตั ิการปกั ผ้าด้วยมือไดจ้ รงิ
15 จุดประสงคน์ าทาง 1. อธบิ ายความสาคญั ของการปกั ผา้ ด้วยมอื ได้ 2. ยกตวั อย่างหลักการของการปกั ผา้ ดว้ ยมอื ได้เพื่อจะได้ปฏบิ ตั ิได้จรงิ 3. สามารถนาเทคนิคการปักผา้ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ สาระการเรยี นรู้ ด้านความรู้ : ได้แก่ สาระความรูท้ ก่ี าหนดใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ : หมายถึงทักษะทเี่ กยี่ วขอ้ งกับสาระการเรียนรู้ ทักษะการทางาน ทักษะการเรียนรู้ ที่ต้องการใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ ึก ด้านเจตคติ คุณคา่ : หมายถงึ อารมณค์ วามรู้สึก การเห็นประโยชน์ คุณคา่ ของเรื่องที่เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมท่ี 1 5 ลายปกั พืน้ ฐานเปน็ ลายดอกไม้ กิจกรรมที่ 2 การปกั ผ้าดว้ ยมือ ด้วยลายพ้ืนฐาน กจิ กรรมท่ี 3 การปักลายดอกไม้แบบผสมผสาน กิจกรรมที่ 4 ผา้ ปาเตะ๊ ปักเลื่อม ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ YouTube การวัดและประเมินผล ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านความรู้ (K) จิตวทิ ยา(A) - ผู้เรียนสามารถอธิบายเก่ียวกับ - ผู้เรียนสามารถปฏิบัติลวดลายที่ - ประเมินทักษะการออกแบบ ลวดลายตา่ งๆทอี่ อกแบบได้ ออกแบบได้ ลวดลายโดยการทาแบบประเมนิ - อ ธิ บ า ย ขั้ น ต อ น วิ ธี ก า ร ปั ก - ผู้เรียนสามารถเลือกรูปแบบ - การแสดงความคิดเห็นและการ ลวดลายบนผนื ผา้ ได้ ลวดลายผ้าปกั ให้มีความผสมผสาน ตรวจผลงาน
16 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความร้เู บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั การปัก เวลา 8 ชั่วโมง สาระสาคัญ การปกั เป็นงานศิลปะแขนงหนึ่งของกุลสตรี เพราะเป็นการเสริมแต่งเคร่ืองแต่งกาย เช่น การปักเส้ือ กระโปรง ปลอกหมอนอิง หมอนหนุน ผ้าคลุมเตียง ผ้าม่านหน้าต่าง และเครื่องใช้อื่น ๆ ตามความต้องการ ท้ังนี้เพ่ือให้เห็นคุณค่าของงานและความสวยงามยิ่งขึ้น การปักในสมัยก่อนน้ันนิยมปักด้วยมือแต่เพียงอย่าง เดียว เพราะถือว่าเป็นงานฝีมือที่ต้องการความละเอียดเป็นพิเศษ ต่อมาเม่ือมีผู้นิยมลายปักมากขึ้น การใช้มือ ผลติ ผลออกมาได้ไม่ทันตามความต้องการ และค่าแรงสูงมาก จึงมีการปักด้วยเครื่องมือพิเศษ และปักด้วยจักร เพ่ิมขน้ึ อีก ซ่ึงส่งผลดีตอ่ การทางานของสมองในผู้สูงวัย ให้ต้องฝึกคิดอยู่เสมอ รับรองว่าห่างไกลจากอัลไซเมอร์ แน่นอนช่วยคลายความความกังวลและความเครียด รู้สึกผ่อนคลายมากข้ึน แถมหลังจากที่ผลงานปักออกมา สาเรจ็ กย็ ังทาใหร้ ูภ้ ูมใิ จกบั ผลงานของตัวเองอีกด้วย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ จดุ ประสงคป์ ลายทาง 1. เพ่ือให้รแู้ ละเขา้ ใจการปักผา้ ดว้ ยมอื 2. เพอ่ื ให้ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการปักผ้าดว้ ยมือ 3. เพอื่ ให้ลงมือปฏิบัติการปกั ผา้ ดว้ ยมอื ได้จรงิ จดุ ประสงคน์ าทาง 1. อธบิ ายความสาคญั ของการปกั ผา้ ดว้ ยมอื ได้ 2. ยกตวั อย่างหลักการของการปกั ผ้าดว้ ยมอื ได้เพอ่ื จะได้ปฏิบตั ิได้จริง 3. สามารถนาเทคนิคการปักผ้าไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ สาระการเรยี นรู้ ด้านความรู้ : ได้แกส่ าระความรู้ทกี่ าหนดให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี น ดา้ นทักษะกระบวนการ : หมายถึงทักษะทเี่ กี่ยวข้องกบั สาระการเรยี นรู้ ทักษะการทางาน ทักษะการเรียนรู้ ท่ตี ้องการให้ผู้เรียนได้ฝกึ ด้านเจตคติ คุณค่า : หมายถึงอารมณค์ วามรูส้ ึก การเหน็ ประโยชน์ คณุ ค่าของเรื่องทเ่ี รียน กจิ กรรมการเรียนรู้ 5 ลายปกั พื้นฐานเปน็ ลายดอกไม้ จุดประสงค์ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นร้ลู งมือปฎบิ ัตจิ รงิ ลงมือปฎบิ ัติตามแบบทกี่ าหนดใหแ้ ละสามรถนาไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริง
17 การวัดและประเมินผล 1.การสังเกตความสนใจและการมีสว่ นร่วม 2.การแสดงความคิดเห็นและการตรวจผลงาน 3.สามารถปฎิบัติงานปกั 5 ลายปักพ้นื ฐานได้ บนั ทึกผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใชบ้ ันทึกผลการใชแ้ ผนฯ เพือ่ ปรบั ปรงุ และพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ ต่อไป วิเคราะหก์ ระบวนการเรยี นรู้ /การจดั การเรียนรู้ ผสู้ อนตอ้ งวเิ คราะหจ์ ุดประสงค์และสาระการเรียนรู้เพ่อื ออกแบบการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ตาม องคป์ ระกอบการเรียนรู้ตอ่ ไปนี้ 1.ผู้เรียนได้แลกเปล่ียนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เป็นกระบวนการที่ครูกระตุ้นให้ผู้เรียนดึงหรือเช่ือมโยง ประสบการณ์เดิมกับสถานการณ์ใหม่ การแลกเปล่ียนประสบการณ์กันน้ีช่ว ยให้ผู้เรียนรวบรวมมวล ประสบการณ์ทห่ี ลากหลายแล้วนาไปส่กู ารเรียนรสู้ ิง่ ใหม่ 2.มีกิจกรรมการสร้างความรู้ร่วมกัน เป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และ สร้างสรรค์มวลประสบการณ์ ข้อมูล ความคิดเห็น ฯลฯ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีถ่องแท้ หรือเกิดข้อสรุป ของความรูใ้ หม่ 3.กระบวนการเรียนรู้ความรู้จากครู (ผ่านส่ือและแหล่งการเรียนรู้) เป็นองค์ประกอบที่ท่ีผู้เรียนได้รับข้อมูล ความรู้ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ ข้นั ตอนหรือข้อสรุปตา่ งๆโดยครเู ดแป็นผู้จัดให้เพ่ือเป็นประโยชน์ในการสร้าง ความรูใ้ หม่และช่วยใหก้ ารเรียนร้บู รรลุวตั ถปุ ระสงค์ การจัดกจิ กรรมในขัน้ น้ี 4.ส่ือ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ การเตรียมสื่อต่างๆ เช่น ใบงาน ใบความรู้ ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ที่ใช้ประกอบในการทากิจกรรมการเรียนรู้ในคาบนั้นๆ เช่น กรณีศึกษา วีดิทัศน์ แถบเสียง แผ่นโปร่งใส Power Point สื่อบุคคล นิทาน เครื่องโสตทัศนูปกรณ์ กระดาษ ปากกา สี บัตรคา บัตรความรู้ ใบงาน หนังสือ ตารา เอกสารอ้างองิ ฯลฯ 5.การวดั และประเมนิ ผล หมายถงึ ออกแบบการประเมินผลและการสร้างเคร่ืองมือเพื่อใช้ในการประเมินผล ในทน่ี ีห้ มายถงึ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นเปน็ รายคาบ ได้แก่ การสังเกตความสนใจและการมีส่วนร่วม การแสดงความคิดเห็นและการตรวจผลงาน 6.จัดการเรียนรู้และบันทึกผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บันทึกผลการใชแ้ ผนฯ เพอื่ ปรบั ปรงุ และพัฒนาแผนการจัดการเรยี นรตู้ ่อไป
18 กจิ กรรมท่ี 1 5 ลายปกั พ้นื ฐานเปน็ ลายดอกไม้ จดุ ประสงค์ เพ่อื ให้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรู้ลงมอื ปฏิบัติจริง ลงมอื ปฏิบตั ติ ามแบบที่กาหนดใหแ้ ละสามรถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ วัสดุ/อปุ กรณ์ 1. ผ้า 2. สะดงึ 3.ไหมถัก 4. ปากกาล่องหน 5. ที่สวนเขม็ 6. ตัวเข็มปกั 7. กรรไกรก้ามปู ขั้นตอนการทา 1.รา่ งลายลงบนผา้ ตามแบบทีเ่ รากาหนด รปู ที่ 1 2.นาผ้ามาใส่บนสะดงึ ให้แนน่ รูปท่ี 2
19 3.แบง่ ไหมเป็นเส้นเล็กๆความยาวประมาณ1ศอก รปู ท่ี 3 4.ลายปกั ที่1 ปักทบึ ตามลายที่เราตอ้ งการ รปู ที่ 4 5.ลายปกั ที่2 ปกั ด้นถอยหลงั ลายBACK STITCH รูปท่ี 5 6.ปักลายปักท3่ี STEM STICH หรอื เดินเส้น รูปท่ี 6
20 7.ลายปกั ท4ี่ CHIAN STICH หรอื ปักโซ่ รูปท่ี 7 8.ลายปักท่ี5 FRENCH KNOT หรอื การปกั ปม รูปที่ 8 ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ https://youtu.be/6KH0eRIXx0c Note.. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..............................................
21 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การปกั ผา้ ด้วยมือด้วยลายพ้ืนฐาน เวลา 8 ชัว่ โมง สาระสาคัญ การปัก เป็นงานศิลปะแขนงหน่ึงของกุลสตรี เพราะเป็นการเสริมแต่งเครื่องแต่งกาย เช่น การปักเสื้อ กระโปรง ปลอกหมอนอิง หมอนหนุน ผ้าคลุมเตียง ผ้าม่านหน้าต่าง และเครื่องใช้อื่น ๆ ตามความต้องการ ท้ังนเี้ พอื่ ให้เห็นคุณค่าของงานและความสวยงามยิ่งขึ้น การปักสมัยก่อนนิยมปักแต่สีขาว ผ้าที่นามาปักก็เป็นสี ขาว เพราะนิยมว่าสุภาพ ต่อมาความนิยมเหล่าน้ันก็เปลี่ยนแปลงไปเป็น ใช้ด้ายและไหมสีต่าง ๆ ปักบนผ้าสี ขาว ชมพู ครมี หรือสที ีม่ ีพนื้ สอี ่อน ๆ ส่วนผ้าที่มีสีพื้นหนัก ๆ หรือสีเข้ม การใช้สีของด้ายปักจะต้องคิดให้ดี จะ ใช้สีอะไรจงึ จะงาม ส่วนผา้ ทพ่ี ื้นสีออ่ น ๆ นนั้ หาสขี องดา้ ยปกั ได้ง่ายกว่าผา้ พ้ืนสีเข้ม ๆ ปัจจุบันจะเห็นเส้ือผ้าของใช้ต่าง ๆ ของประเทศที่เอามาขายในบ้านเรา มีราคาสูงมาก ต่างกับราคา ของบ้านเรา ฝีมือการปักก็พอ ๆ กัน จะเห็นว่างานอาชีพการปักของบ้านเราเวลาน้ี ไม่ย่ิงหย่อนไปกว่า ต่างประเทศ ท้ังยังเป็นสินค้าท่ีขายได้ดีมากแม้แต่ต่างประเทศก็นิยม ส่ิงท่ีควรคานึงถึง เราควรใช้วัสดุท่ีมีใน ท้องถิ่น เช่น ผ้า และไหม เราควรคานึงคุณภาพของวัสดุ มากกว่าท่ีจะหาซ้ือผ้าจากต่างประเทศได้ไม่น้อย ทเี ดยี ววิธีการ ขั้นตอนกระบวนการทางานในการปักผ้าด้วยมือวสั ดุอปุ กรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการปักผ้าด้วย มือการปักด้วยมือโดยการใช้ไหมหรือริบบิ้นด้วยวิธีต่างๆ การปักเลื่อมแบบต่างๆ การปักและการสร้างสรรค์ ชน้ิ งานได้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ จุดประสงคป์ ลายทาง 1. เพื่อใหร้ ูแ้ ละเขา้ ใจในการปักผา้ ลวดลายพื้นฐานตา่ งๆ 2. เพ่อื ให้ตระหนักถงึ ความสาคัญของการปักผ้าดว้ ยมือ 3. เพอื่ ให้ลงมือปฏิบัติการปักผ้าลวดลายพน้ื ฐานไดด้ ว้ ยมือ จุดประสงคน์ าทาง 1. อธบิ ายความสาคัญของการการปกั ลวดลายพนื้ ฐานได้ 2. ยกตวั อย่างรูปแบบลวดลายพ้ืนฐานบนผา้ ปกั เพื่อจะไดป้ ฏบิ ตั ิได้จรงิ 3. สามารถนาเทคนิคการปักผ้าลวดลายท่ีได้ ไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน สาระการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ : ได้แกส่ าระความรู้ทกี่ าหนดให้ผเู้ รียนได้เรียน ด้านทกั ษะกระบวนการ : หมายถงึ ทักษะท่เี ก่ียวข้องกบั สาระการเรียนรู้ ทักษะการทางาน ทกั ษะการเรยี นรู้ ทีต่ ้องการให้ผูเ้ รยี นได้ฝึก ด้านเจตคติ คณุ ค่า : หมายถึงอารมณ์ความรู้สกึ การเหน็ ประโยชน์ คุณคา่ ของเร่ืองทเี่ รียน
22 กิจกรรมการเรยี นรู้ / กระบวนการจัดการเรียนรู้ ใบกจิ กรรมท่ี 2 การปกั ผา้ ด้วยมอื ด้วยลายพ้ืนฐาน ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ Youtube การวดั และประเมนิ ผล 1. อธบิ ายขนั้ ตอนวิธกี ารปกั ลวดลายบนผนื ผา้ ได้ (K) 2. แสดงขัน้ ตอนการปกั ลวดลายบนผืนผา้ ได้ (P) 3.ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ัตลิ วดลายทอี่ อกแบบได้ (P) 4. เหน็ ประโยชน์และความสาคญั ของการแสดงลวดลายบนผนื ผ้า (A) ขั้นตอนในการทาแผนการจดั การเรียนรู้ การทาแผนการจดั การเรียนรู้ มีขนั้ ตอนดงั น้ี วิเคราะหค์ าอธบิ ายรายวิชา สาระการเรียนรู้รายปีหรือรายภาค และหน่วยการเรียนรู้ที่ สถานศึกษาจัดทาขึ้น เพื่อประโยชน์ในการเขียนรายละเอียดของแต่ละหัวข้อของแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ที่คาดหวังเพื่อนามาเขียนเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้โดยให้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ เจตคติ และคา่ นยิ ม วิเคราะหส์ าระการเรยี นรู้ โดยเลอื กและขยายสาระที่เรียนรู้ให้ สอดคล้องกับผู้เรียน ชมุ ชนและทอ้ งถิน่ วิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ วิเคราะห์กระบวนการประเมินผลโดยเลือกใช้วิธีการวัดผล ประเมินผลให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสร้างแบบวัดประเมินผลให้ครอบคลุมเน้ือหาด้วย วิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ โดย คัดเลือกสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนให้เหมาะสมกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ (คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน,2549) วิเคราะห์กระบวนการเรยี นรู้ /การจดั การเรียนรู้ ผู้สอนต้องวิเคราะห์จุดประสงค์และสาระการเรียนรู้เพื่อออกแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามองค์ประกอบการเรียนรู้ต่อไปน้ี ผู้เรียนได้แลกเปล่ียนประสบการณ์ซ่ึงกันและกัน เป็นกระบวนการท่ีครู กระตุ้นใหผ้ ูเ้ รยี นดึงหรือเช่ือมโยงประสบการณ์เดมิ กับสถานการณใ์ หม่ การแลกเปลีย่ นประสบการณ์กันน้ีช่วย ใหผ้ เู้ รยี นรวบรวมมวลประสบการณท์ ่หี ลากหลายแล้วนาไปสกู่ ารเรียนร้สู ง่ิ ใหมร่ ว่ มกนั การจดั กิจกรรมในข้ันนี้ ได้แก่ การตง้ั คาถาม การให้แก้ไขปัญหาด้วยความรเู้ ดมิ เปน็ ต้น มีกิจกรรมการสร้างความรู้ร่วมกัน เป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และ สร้างสรรค์มวลประสบการณ์ ข้อมูล ความคิดเห็น ฯลฯ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจที่ถ่องแท้ หรือเกิดข้อสรุป ของความรู้ใหม่ ตลอดจบตรวจสอบ ปรับ/เปลี่ยนความคิดความเช่ือของตน การจัดกิจกรรมในข้ันน้ีได้แก่ การต้ังประเด็นให้ผู้เรียนได้คิด และสะท้อนความคิด ปรับเปล่ียนความคิดอย่างลึกซ้ึง จนเกิดความเข้าใจ ชดั เจน จนไดข้ อ้ สรุปหรือความรู้ใหม่ตามจุดประสงคท์ ่ีกาหนด กระบวนการเรียนรคู้ วามรู้จากครู (ผ่านสื่อและ
23 แหลง่ การเรยี นร)ู้ เป็นองค์ประกอบที่ท่ผี ู้เรยี นไดร้ บั ข้อมูลความรู้ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ ข้ันตอน หรือ ข้อสรุปต่างๆ โดยครูเป็นผู้จัดให้เพื่อเป็นประโยชน์ในการสร้างความรู้ใหม่ และช่วยให้การเรียนรู้บรรลุ วัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมในขั้นนี้ได้แก่ การให้แนวคิด ทฤษฎีหลักการ ข้อมูลความรู้ ขั้นตอนทักษะ ฯลฯ ซงึ่ ทาได้หลายทางเช่น บรรยาย ดวู ีดที ศั น์ อ่านเอกสาร ใบความรู้ ตารา ฯลฯ ผเู้ รยี นได้ลงมือปฏิบตั ิหรอื ประยุกตใ์ ช้ เป็นองค์ประกอบที่ทาให้ผู้เรียนได้นาความคิดรวบยอดหรือข้อสรุปหรือ ความรู้ใหม่ท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนไปประยุกต์หรือทดลองใช้ อาจกล่าวอีกทางหน่ึงว่า เป็นผลสาเร็จของการ เรียนรู้ในองค์ประกอบข้างต้นที่กล่าวมาแล้ว และในขั้นนี้เป็นข้ันที่สะท้อนกระบวนการจัดการเรียนรู้ว่า มิใช่ เพียงเรียนรู้เท่านั้นแต่เป็นกระบวนการที่ได้ใช้ความรู้ที่เรียน ทาให้เกิดเป็นทักษะและเจตคติท่ีดีต่อการเรียน ตามมา การจัดกิจกรรมในขั้นนี้ได้แก่ การทาแผนภาพ จัดนิทรรศการ ทารายงานสรุปสาระสาคัญ ตารางวเิ คราะห์ ฯลฯ ออกแบบปฏิสัมพันธ์ในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนการท่ีหลากหลาย เช่น กระบวนการ กลุ่ม ทั้งกลุ่มขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ การออกแบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ จึงเป็นการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากกลุ่มมากท่ีสุด แทนการเรียนด้วยการฟังครูพูด (บรรยาย) มี ผลงานวิจัยสนับสนุนว่าการเรียนเป็นกลุ่มมีผลดีต่อผู้เรียนคือ ช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีข้ึน ส่งเสริม ความคิดสร้างสรรคแ์ ละจรยิ ธรรม ผูเ้ รียนได้เรยี นรูอ้ ยา่ งมีความสขุ สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ หมายถึง การเตรียมส่ือต่างๆ เช่น ใบงาน ใบความรู้ ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ที่ใช้ประกอบในการทากิจกรรมการเรียนรู้ในคาบนั้นๆ เช่น กรณีศึกษา วีดิทัศน์ แถบเสียง แผ่นโปร่งใส Power Point สื่อบุคคล นิทาน เคร่ืองโสตทัศนูปกรณ์ กระดาษ ปากกา สี บตั รคา บัตรความรู้ ใบงาน หนังสอื ตารา เอกสารอา้ งองิ ฯลฯ การวัดและประเมินผล หมายถึง ออกแบบการประเมินผลและการสร้างเครื่องมือเพ่ือใช้ในการประเมินผล ในท่ีนห้ี มายถงึ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนเป็นรายคาบ ไดแ้ ก่ การสงั เกตความสนใจและการมีส่วนร่วม การแสดงความคิดเห็นและการตรวจผลงาน การใช้แบบทดสอบ การทาแฟูมสะสมงาน เป็นต้น การจัด กิจกรรมในขั้นนี้ได้แก่ การนาผลงานมาติดท่ีปูายนิเทศ การอ่านหนังสือเพ่ิมเติมนอกเวลา การทา แบบทดสอบ ฯลฯ จดั การเรยี นรูแ้ ละบันทึกผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ โดย ใช้บนั ทกึ ผลการใชแ้ ผนฯ เพ่อื ปรับปรุงและพฒั นาแผนการจดั การเรียนร้ตู อ่ ไป
24 กิจกรรมท่ี 2 การปักผ้าดว้ ยมือด้วยลายพ้ืนฐาน จุดประสงค์ เพ่ือให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ลงมือปฏิบัติตามแบบลวดลายที่กาหนดได้ และสามารถนาไปใช้ ประโยชนไ์ ด้ วัสดุ/อปุ กรณ์ 1. ลายปกั ดอกเดซ่ี 2. ผา้ ไวส้ าหรบั ปกั (ผา้ ลนิ ิน ผ้าฝาู ย แคนวาส) 3. สะดงึ 4. ไหมปกั ผ้า 5. ดนิ สอลอ่ งหน 6. กระดาษลอกลาย 7. เขม็ ปักผา้ 8. กรรไกรกา้ มปู 9. เข็มหมดุ 10. ท่สี นเขม็
25 ขนั้ ตอนการทา ลายท่ี1 1. รอ้ ยดา้ ยเข้ารูเข็ม ขมวดปมให้เรยี บร้อย แลว้ แทงเข็มขึ้นมาใหป้ มอยขู่ า้ งใต้ จากน้นั แทงเข็มลงไปทจี ุด เดยี วกนั และเอาปลายเข็มแทงข้ึนมาในจุดท่ีหา่ งออกไปตามภาพ 2. หว่ งโซจ่ ะมีหนา้ ตาแบบนี้ 3. และจบด้วยการแทงเข็มลงไปตามภาพ
26 4. ทากลีบต่อไปเหมือนเดิมโดยเรมิ่ จากจุดศูนย์กลางเดยี วกบั กลีบแรก เสร็จสมบรู ณ์ ลายที่2 ปักขนึ้ มาจุดที่1 จากนน้ั ก็ปกั ลงใกล้ๆกบั จดุ ที่1คือจุดท่ี 2 แลว้ ก็ดันข้นึ แล้วกป็ ักลงเปน็ การลอ็ กผา้ ทา เหมือนเดิมไปเรื่อยๆ เรียกวา่ เลซ่ี เดซี่
27 ลายท3ี่ ต่อไปจะเป็นปมฝรง่ั เศษ ขึ้นตาแหนง่ ที่ 1 ตาแหน่งท่ี 2 ใกลก้ ันเลยค่ะ ปักลงไปแลว้ ดนั ตาแหน่งท่ี 3 ข้ึนมา แลว้ เอาด้ายพนั เข็ม 2-3 รอบ แล้วกด็ งึ ข้ึน กดให้แน่นๆแลว้ มนั กจ็ ะเปน็ ปม ลายที4่ ดอกกุหลาบ 1. ร่างบนผา้ สรา้ งขาของตัวดอก ทาเหมอื นกบั ใยแมงมุม 2. แลว้ ปกั ขึ้น จะปักขึ้นตรงตาแหน่งไหนก็ได้ ทบั เสน้ ท่ี1 ลอดใต้เส้นท่2ี ทับเส้นที่3 ลอดใตเ้ ส้นที4่ ข้นึ ลงสลบั กนั ไปจนเสรจ็ เราก็จะได้ดอกกุหลาบ
28 ลายท5่ี ใบไม้ (ลายก้างปลา) 1. รา่ งลายลงบนผ้า 2. ปกั ขืน้ มาบริเวณปลายใบ 3. ปักลงตรงเสน้ กลางใบกะระยะประมาณ 0.5 ซม. 4. ปักข้ึนจากขอบใบมาเส้นกลางใบ 5. ปกั ขน้ึ จากขอบใบอีกดา้ นมาเสน้ กลางใบ ปักไปเรอ่ื ยๆ สลบั ซ้ายขวาไปเร่ือยๆจนเต็มใบ
29 ให้นกั เรยี นปักลวยลายลงบนแมสคนละ 1 ชน้ิ ตามลวดลายทีก่ าหนดให้ อา้ งองิ จาก https://ideadiytoday.blogspot.com/2019/06/blog-post https://www.youtube.com/watch?v=LeaMaLrO2xY Note.. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………............................................................................................................................
30 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 การออกแบบลวดลายผสมผสาน เวลา 8 ช่วั โมง สาระสาคัญ การออกแบบลวดลาย (Decorative Design) หมายถึง การออกแบบเพ่ือใช้ในการตกแต่ง ประดับ พื้นท่ี หรือวัสดุต่างๆให้มีความสวยงามเหมาะสม กลมกลืนมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยลวดลาย เหลา่ นี้อาจจะมคี วามหมายชัดเจนหรือเป็นสัญลักษณ์ จะเห็นได้ว่าการออกแบบลวดลายไม่สามารถสร้างสรรค์ ผลงานข้ึนมาได้โดยอิสระ ต้องคานึงถึงองค์ประกอบอื่นๆท่ีเกี่ยวข้องด้วย เช่น สถานท่ี พื้นที่ ขนาด วัสดุ ส่ิง ตา่ งๆเหลา่ นี้จะเป็นตัวกาหนดใหก้ ารออกแบบลวดลายอย่ใู นขอบเขตตามวตั ถปุ ระสงค์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ปลายทาง 1. เพอื่ ให้รู้และเข้าใจเลือกลวดลายในการปกั ผา้ ดว้ ยมือ 2. เพื่อใหต้ ระหนักถงึ ความสาคญั ของลวดลายผา้ ปัก 3. เพื่อให้ลงมือปฏิบัติการปักผา้ ตามลวดลายตา่ งๆดว้ ยมือไดจ้ ริง จุดประสงค์นาทาง 1. อธิบายที่มาและความสาคัญของลวดลายผ้าปักได้ 2. ยกตัวอย่างรปู แบบลวดลายผา้ ปกั ได้ เพอื่ จะได้ปฏิบัติได้จริง 3. สามารถนาเทคนิคการปักผ้าลวดลายทไ่ี ด้ ไปใช้ในชีวิตประจาวนั สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ : ใหผ้ ู้ทศี่ กึ ษาน้ันเข้าใจและเกดิ ความคดิ ในการออกแบบลวดลายผ้าปกั ด้านทักษะกระบวนการ : ได้ฝึกทักษะการปกั ลวดลายท่ีผสมผสาน ด้านเจตคติ คณุ คา่ : ไดน้ าลวดลายผ้าปกั นนั้ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้
31 กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ี 3 ใบงาน เร่อื ง การออกแบบลวดลายแบบผสมผสาน (การปักลายดอกไม)้ สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ Youtube การวดั และประเมินผล - ผู้เรียนสามารถอธบิ ายเก่ยี วกับลวดลายตา่ งๆทอี่ อกแบบได้ (K) - ผูเ้ รยี นสามารถอธิบายถึงความผสมผสานของลวดลายท่อี อกแบบได้ (K) - ผ้เู รยี นสามารถปฏบิ ัติลวดลายท่ีออกแบบได้ (P) - ผู้เรยี นสามารถเลอื กรปู แบบลวดลายผ้าปักใหม้ ีความผสมผสาน (A) - ประเมนิ ทักษะการออกแบบลวดลายโดยการทาแบบประเมนิ (A) ขั้นตอนในการทาแผนการจัดการเรียนรู้ การทาแผนการจดั การเรียนรู้ มีขนั้ ตอนดังน้ี วเิ คราะห์คาอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู้รายปีหรือรายภาค และหน่วยการเรียนรู้ท่ี สถานศึกษาจัดทาข้ึน เพื่อประโยชน์ในการเขียนรายละเอียดของแต่ละหัวข้อของแผนการจัดการเรี ยนรู้ วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเพื่อนามาเขียนเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้โดยให้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ เจตคติ และคา่ นิยม วเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้ โดยเลอื กและขยายสาระที่เรียนรู้ให้ สอดคล้องกบั ผเู้ รยี น ชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ วิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ วิเคราะห์กระบวนการประเมินผลโดยเลือกใช้วิธีการวัดผล ประเมินผลให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสร้างแบบวัดประเมินผลให้ครอบคลุมเนื้อหาด้วย วิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ โดย คัดเลือกส่ือการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรียนให้เหมาะสมกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ (คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน,2549) วเิ คราะหก์ ระบวนการเรียนรู้ /การจดั การเรียนรู้ ผู้สอนต้องวิเคราะห์จุดประสงค์และสาระการเรียนรู้เพ่ือออกแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเ ป็นสาคัญ ตามองค์ประกอบการเรียนรู้ต่อไปนี้ ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เป็นกระบวนการที่ครู กระตุน้ ใหผ้ ู้เรยี นดึงหรือเชอื่ มโยงประสบการณเ์ ดิมกับสถานการณใ์ หม่ การแลกเปล่ยี นประสบการณ์กันนี้ช่วย ให้ผเู้ รยี นรวบรวมมวลประสบการณ์ทีห่ ลากหลายแลว้ นาไปสกู่ ารเรียนรู้สิง่ ใหม่รว่ มกนั การจัดกจิ กรรมในข้ันน้ี ไดแ้ ก่ การต้ังคาถาม การใหแ้ กไ้ ขปัญหาดว้ ยความรู้เดิม เปน็ ตน้
32 มีกิจกรรมการสร้างความรู้ร่วมกัน เป็นองค์ประกอบท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และ สร้างสรรค์มวลประสบการณ์ ข้อมูล ความคิดเห็น ฯลฯ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีถ่องแท้ หรือเกิดข้อสรุป ของความรู้ใหม่ ตลอดจบตรวจสอบ ปรับ/เปลี่ยนความคิดความเช่ือของตน การจัดกิจกรรมในขั้นน้ีได้แก่ การตั้งประเด็นให้ผู้เรียนได้คิด และสะท้อนความคิด ปรับเปลี่ยนความคิดอย่างลึกซึ้ง จนเกิดความเข้าใจ ชดั เจน จนได้ขอ้ สรปุ หรือความรู้ใหมต่ ามจดุ ประสงคท์ ก่ี าหนด กระบวนการเรียนรูค้ วามรู้จากครู (ผ่านส่ือและ แหลง่ การเรียนร้)ู เป็นองค์ประกอบท่ีทผี่ ้เู รียนไดร้ บั ขอ้ มูลความรู้ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ ขั้นตอน หรือ ข้อสรุปต่างๆ โดยครูเป็นผู้จัดให้เพ่ือเป็นประโยชน์ในการสร้างความรู้ใหม่ และช่วยให้การเรียนรู้บรรลุ วัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมในขั้นน้ีได้แก่ การให้แนวคิด ทฤษฎีหลักการ ข้อมูลความรู้ ขั้นตอนทักษะ ฯลฯ ซงึ่ ทาไดห้ ลายทางเชน่ บรรยาย ดูวีดีทัศน์ อา่ นเอกสาร ใบความรู้ ตารา ฯลฯ ผูเ้ รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัตหิ รือประยกุ ตใ์ ช้ เป็นองค์ประกอบท่ีทาให้ผู้เรียนได้นาความคิดรวบยอดหรือข้อสรุปหรือ ความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึนจากการเรียนไปประยุกต์หรือทดลองใช้ อาจกล่าวอีกทางหน่ึงว่า เป็นผลสาเร็จของการ เรยี นรู้ในองคป์ ระกอบขา้ งต้นท่ีกล่าวมาแล้ว และในขั้นนี้เป็นขั้นท่ีสะท้อนกระบวนการจัดการเรียนรู้ว่า มิใช่ เพียงเรียนรู้เท่าน้ันแต่เป็นกระบวนการท่ีได้ใช้ความรู้ที่เรียน ทาให้เกิดเป็นทักษะและเจตคติที่ดีต่อการเรียน ตามมา การจัดกิจกรรมในข้ันน้ีได้แก่ การทาแผนภาพ จัดนิทรรศการ ทารายงานสรุปสาระสาคัญ ตารางวเิ คราะห์ ฯลฯ ออกแบบปฏิสัมพันธ์ในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนการท่ีหลากหลาย เช่น กระบวนการ กลุ่ม ท้ังกลุ่มขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ การออกแบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ จึงเป็นการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากกลุ่มมากท่ีสุด แทนการเรียนด้วยการฟังครูพูด (บรรยาย) มี ผลงานวิจัยสนับสนุนว่าการเรียนเป็นกลุ่มมีผลดีต่อผู้เรียนคือ ช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ส่งเสริม ความคิดสร้างสรรคแ์ ละจรยิ ธรรม ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้อยา่ งมีความสุข ส่ือ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ หมายถึง การเตรียมสื่อต่างๆ เช่น ใบงาน ใบความรู้ ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ท่ีใช้ประกอบในการทากิจกรรมการเรียนรู้ในคาบน้ันๆ เช่น กรณีศึกษา วีดิทัศน์ แถบเสียง แผ่นโปร่งใส Power Point สื่อบุคคล นิทาน เคร่ืองโสตทัศนูปกรณ์ กระดาษ ปากกา สี บตั รคา บัตรความรู้ ใบงาน หนังสือ ตารา เอกสารอา้ งอิง ฯลฯ การวัดและประเมินผล หมายถึง ออกแบบการประเมินผลและการสร้างเครื่องมือเพ่ือใช้ในการประเมินผล ในทนี่ ้ีหมายถงึ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นเป็นรายคาบ ไดแ้ ก่ การสังเกตความสนใจและการมีส่วนร่วม การแสดงความคิดเห็นและการตรวจผลงาน การใช้แบบทดสอบ การทาแฟูมสะสมงาน เป็นต้น การจัด กิจกรรมในขั้นนี้ได้แก่ การนาผลงานมาติดท่ีปูายนิเทศ การอ่านหนังสือเพ่ิมเติมนอกเวลา การทา แบบทดสอบ ฯลฯ
33 จดั การเรียนรู้และบนั ทึกผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ โดย ใชบ้ ันทึกผลการใช้แผนฯ เพ่ือปรับปรงุ และพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรตู้ อ่ ไป
34 กิจกรรมท่ี 3 การออกแบบลวดลายแบบผสมผสาน (การปักลายดอกไม้) จดุ ประสงค์ เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนได้ลงมือปฏบิ ัติจรงิ ลงมอื ปฏิบัตติ ามแบบลวดลายที่กาหนดได้ และสามารถนาไปใช้ ประโยชนไ์ ด้ วสั ดุ/อปุ กรณ์ 1. ลายปัก (ดอกไม้) 2. ผา้ ไว้สาหรบั ปัก (ผ้าลินนิ ผ้าฝูาย แคนวาส) 3. สะดงึ 4. ไหมปกั ผา้ 5. ดินสอ 6. กระดาษลอกลาย 7. เข็มปักผา้ 8. กรรไกรเลก็ กรรไกรแหลม 9. เข็มหมดุ 10. ทส่ี นเขม็
35 วธิ ีทา 1. ทาการศึกษาลวดลาย ดงั รูปที่ 1 รูปที่ 1 ลวดลายดอกไม้ 2. ลงมือร่างลวดลายลงบนผ้า โดยใชก้ ระดาษลอกลายวางลงบนผ้าแลว้ วาดลายทบั ลงไป ดงั รปู ท่ี 2 รูปท่ี 2 การลงมือร่าง 3. เมื่อร่างลวดลายเสร็จเรยี บรอ้ ย ก็ทาการลอกกระดาษลอกลายออกจากผืนผ้า ดังรปู ที่ 3 รูปท่ี 3 ลอกกระดาษลอกลายออกจากผืนผ้า
36 4.ใชส้ ดึง ดึงผ้าทเี่ ราวาดลวดลายไว้ ดงึ ใหต้ งึ เพ่อื สะดวกในการเยบ็ ลวดลาย ดงั รปู ที่ 4 รูปที่ 4 สดึงผ้า 5.เรมิ่ ลงมือปักลายด้วยไหม ปักใหน้ นู ข้ึนมาเล็กน้อย เมอื่ เสร็จแลว้ กผ็ กู สายใหแ้ น่นกันการหลุด ดงั รปู ท่ี 5 รปู ท่ี 5 เรม่ิ ปกั ลาย 6.เปลย่ี นสีของเส้นไหม แลว้ ปักแบบเดิม ดังรปู ท่ี 6 รปู ท่ี 6 ปักลายดา้ นใน 7. เรม่ิ ปักส่วนใบ โดยปกั ลายแบบพน้ื ฐาน รปู ที่ 7 ปักสว่ นใบ
37 8. ถดั มากเ็ ปล่ยี นสีไหม เพ่ือปักสว่ นกา้ นของใบ รปู ท่ี 8 ปกั สว่ นกา้ น 9. เปลีย่ นสีของเสน้ ไหมปัก แล้วปักลายพืน้ ฐานในสว่ นของดอกไม้เล็กๆ รปู ที่ 9 ปกั ลายพน้ื ฐาน 10. ทาแบบเดิมวนซ้าไปเร่ือยๆ จนครบลวดลายทรี่ า่ งไว้เสร็จสมบูรณ์ ดงั รปู ที่ 10 รปู ที่ 10 รูปที่เสรจ็ สมบรู ณ์ อา้ งองิ จาก https://youtu.be/GdHXcmOu3mQ
38 Note.. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
39 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 แพทเทริ ์นและการออกแบบลวดลายผ้าปักบนผา้ ปะเต๊ะ เวลา 8 ชวั่ โมง สาระสาคญั แพทเทริ น์ (Pattern) คือ กระดาษออกแบบทเี่ ราวาดตามจินตนาการหรือดีไซน์ที่เราคิดเอาไว้ จากน้ัน จงึ แกะแบบออกมาให้พอดีกับขนาดรูปร่างของผู้สวมใส่ตามที่เราได้วัดขนาดไว้ เพ่ือใช้ในการวางบนผ้าและตัด ผา้ ตามขนาดแบบสาหรับนามาตัดเยบ็ เสื้อผา้ ในข้นั ตอนต่อๆ ไป การทาแพทเทริ น์ เส้ือผา้ แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ แพทเทิร์นเสื้อผ้ารายบุคคล การทาแพทเทิร์นแบบน้ีคือการทาแพทเทิร์นตามขนาดท่ีวัดได้จากบุคคล ใดบุคคลหนึง่ โดยเฉพาะ ข้อดีของแพทเทิร์นแบบนี้คือ ช่วยให้การตัดเย็บมีความเหมาะสมหรือพอดีตัวผู้สวมใส่ รายน้ันๆ แบบพอดีตัว สามารถปรับแก้จุดท่ีไม่สมส่วนหรือไม่พอดีได้ แต่การทาแพทเทิร์นแบบนี้ไม่เหมาะกับ อุตสาหกรรมเสอื้ ผ้าสาเร็จรูปทีต่ อ้ งการตดั เย็บเป็นจานวนมาก เพราะขนาดท่ีได้อาจไม่ใช่ขนาดมาตรฐานสากล นอกจากนี้ยังอาจทาใหต้ น้ ทนุ สูงขึน้ ท้ังจากค่าผ้าและคา่ ตัดเยบ็ อกี ดว้ ย แพทเทิร์นเส้ือผ้าสาเร็จรูป หรือ แพทเทิร์นอุตสาหกรรม การทาแพทเทิร์นแบบนี้เป็นการตัดเย็บตาม ขนาดมาตรฐานตามท่ีเราต้องการ ไม่ว่าจะอ้างอิงจากไซส์ของฝ่ังตะวันตก ยุโรปหรือญี่ปุน เป็นต้น การตัดเย็บ ตามแพทเทิรน์ แบบน้เี หมาะสาหรบั แบรนด์ที่ต้องการผลิตเสื้อผ้าจานวนมากและต้องการขนาดท่ีเป็นมาตรฐาน ใกล้เคียงกนั กรณนี ี้ แพทเทริ น์ อุตสาหกรรม จึงหมายถงึ แมแ่ บบสาหรบั ตดั เส้ือผ้าสาเร็จรูป ซ่ึงมักนิยมนาไปตัดเย็บ แบบละหลายตัว หรืออาจมีแบบละหลายไซส์ ( XS , S , M , L , XL ) หรือนาไปตัดเย็บเพียงตัวเดียวก็ได้ หลายคนอาจเข้าใจว่าแพทเทิร์นอุตสาหกรรม ใช้ทาเส้ือผ้าแบบหยาบๆหรือเป็นงานเกรดไม่ดี “ ในความเป็น จริงด้วยวิธีการสร้างแพทเทิร์นอุตสาหกรรมท่ีถูกต้อง สามารถทาได้ตั้งแต่ชุดเส้ือผ้าง่ายๆ จนถึง เส้ือผ้าช้ันสูง เพียงแต่หลกั การของแพทเทิร์นอตุ สาหกรรมเปน็ ไปในทางธรุ กจิ มากกวา่ งานฝีมือ ” หากกลา่ วถงึ ความความแตกต่างของแพทเทิรน์ ทง้ั 2 ประเภท จากผลการวิจัยเราพบว่านอกเหนือจากหลักการ ของแพทเทิร์นอตุ สาหกรรมทีเ่ ป็นไปในทางธุรกจิ มากกว่างานฝีมือแล้ว ยังพบอีกว่า “ หลักการและวิธีการสร้าง แพทเทริ น์ อุตสาหกรรมทถ่ี กู ต้อง ไมม่ ีการแบ่งเพศ ชาย/หญงิ หรอื วยั เด็ก/ผูใ้ หญ่ แตใ่ ช้สดั ส่วนสรีระมาตรฐาน (เป็นตวั กาหนดลักษณะของแพทเทิรน์ และใชห้ ลักการเรขาคณิตเข้ามาควบคมุ รูปทรงมาตรฐาน) ทง้ั หมด ”
40 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จดุ ประสงคป์ ลายทาง 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการ วิธีการ ขั้นตอนการออกแบบตัดเย็บและเลือกลวดลายในการ ปกั ผ้า 2. เพ่ือให้ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการออกแบบตดั เยบ็ และลวดลายผ้าปัก 3. เพื่อใหล้ งมอื ปฏบิ ตั ิการออกแบบแพทเทริ ์นในการตัดเย็บและปักผ้าตามลวดลายต่างๆด้วย มอื ไดจ้ ริง จุดประสงคน์ าทาง 1. อธบิ ายทม่ี าและความสาคัญของแพทเทิร์นและลวดลายผา้ ปกั ได้ 2. ยกตัวอย่างรปู แบบลวดลายผ้าปักได้ เพ่อื จะไดป้ ฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ 3. สามารถนาเทคนิคการแพทเทิร์นในการตัดเย็บและปักผ้าลวดลายท่ีได้ ไปใช้ใน ชีวติ ประจาวนั สาระการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ : ได้แก่สาระความรู้ทก่ี าหนดให้ผูเ้ รยี นได้เรียน ด้านทกั ษะกระบวนการ : หมายถึงทักษะท่ีเก่ียวข้องกับสาระการเรียนรู้ ทักษะการทางาน ทักษะการเรียนรู้ ทีต่ ้องการใหผ้ ู้เรยี นได้ฝกึ ด้านเจตคติ คุณคา่ : หมายถึงอารมณค์ วามรู้สกึ การเห็นประโยชน์ คณุ ค่าของเรอ่ื งทเ่ี รยี น กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมที่ 4 ใบงาน เรื่อง การสรา้ งกระโปรงปูายและปักเลื่อมบนผ้าปาเต๊ะ ส่ือการเรยี นรู้ Youtube การวดั และประเมินผล - ผเู้ รียนสามารถอธิบายเกีย่ วกับแพทเทริ น์ ในการตัดเย็บและลวดลายตา่ งๆท่ีออกแบบได้ (K) - ผูเ้ รียนสามารถอธบิ ายถึงลวดลายท่ีออกแบบได้ (K) - ผเู้ รยี นสามารถปฏบิ ัติลวดลายท่ีออกแบบได้ (P) - ผเู้ รยี นสามารถเลือกรปู แบบแพทเทิรน์ ในการตดั เยบ็ และลวดลายผาปัก (A) - ประเมินทกั ษะการออกแบบลวดลายโดยการทาแบบประเมนิ (A)
41 ขั้นตอนในการทาแผนการจัดการเรียนรู้ การทาแผนการจัดการเรยี นรู้ มีข้ันตอนดังนี้ วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู้รายปีหรือรายภาค และหน่วยการเรียนรู้ท่ี สถานศึกษาจัดทาขึ้น เพื่อประโยชน์ในการเขียนรายละเอียดของแต่ละหัวข้อของแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังเพื่อนามาเขียนเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้โดยให้ครอบคลุมพฤติกรรมท้ังด้าน ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ เจตคติ และค่านิยม วเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้ โดยเลอื กและขยายสาระท่ีเรียนรู้ให้ สอดคล้องกบั ผเู้ รียน ชุมชนและทอ้ งถ่นิ วเิ คราะห์กระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ วิเคราะห์กระบวนการประเมินผลโดยเลือกใช้วิธีการวัดผล ประเมินผลให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสร้างแบบวัดประเมินผลให้ครอบคลุมเนื้อหาด้วย วิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ โดย คัดเลือกสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนให้เหมาะสมกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ (คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน,2549) วิเคราะหก์ ระบวนการเรยี นรู้ /การจัดการเรยี นรู้ ผู้สอนต้องวิเคราะห์จุดประสงค์และสาระการเรียนรู้เพื่อออกแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามองค์ประกอบการเรียนรู้ต่อไปน้ี ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เป็นกระบวนการที่ครู กระตุน้ ให้ผู้เรยี นดึงหรือเชอ่ื มโยงประสบการณเ์ ดิมกบั สถานการณใ์ หม่ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันนี้ช่วย ให้ผู้เรียนรวบรวมมวลประสบการณท์ ่ีหลากหลายแลว้ นาไปสูก่ ารเรยี นรูส้ ่งิ ใหม่รว่ มกัน การจัดกจิ กรรมในข้ันนี้ ไดแ้ ก่ การตง้ั คาถาม การใหแ้ ก้ไขปญั หาดว้ ยความรเู้ ดมิ เป็นต้น มีกิจกรรมการสร้างความรู้ร่วมกัน เป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และ สร้างสรรค์มวลประสบการณ์ ข้อมูล ความคิดเห็น ฯลฯ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจที่ถ่องแท้ หรือเกิดข้อสรุป ของความรู้ใหม่ ตลอดจบตรวจสอบ ปรับ/เปล่ียนความคิดความเช่ือของตน การจัดกิจกรรมในข้ันนี้ได้แก่ การต้ังประเด็นให้ผู้เรียนได้คิด และสะท้อนความคิด ปรับเปลี่ยนความคิดอย่างลึกซ้ึง จนเกิดความเข้าใจ ชดั เจน จนไดข้ ้อสรุปหรอื ความรู้ใหมต่ ามจดุ ประสงค์ท่ีกาหนด กระบวนการเรียนรคู้ วามรู้จากครู (ผ่านส่ือและ แหลง่ การเรียนร)ู้ เปน็ องค์ประกอบท่ีทผ่ี เู้ รียนได้รบั ข้อมูลความรู้ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ ข้ันตอน หรือ ข้อสรุปต่างๆ โดยครูเป็นผู้จัดให้เพื่อเป็นประโยชน์ในการสร้างความรู้ใหม่ และช่วยให้การเรียนรู้บรรลุ วัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมในข้ันนี้ได้แก่ การให้แนวคิด ทฤษฎีหลักการ ข้อมูลความรู้ ข้ันตอนทักษะ ฯลฯ ซ่ึงทาได้หลายทางเชน่ บรรยาย ดวู ีดที ศั น์ อ่านเอกสาร ใบความรู้ ตารา ฯลฯ ผ้เู รยี นไดล้ งมือปฏิบัตหิ รือประยกุ ต์ใช้ เป็นองค์ประกอบท่ีทาให้ผู้เรียนได้นาความคิดรวบยอดหรือข้อสรุปหรือ ความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึนจากการเรียนไปประยุกต์หรือทดลองใช้ อาจกล่าวอีกทางหนึ่งว่า เป็นผลสาเร็จของการ เรียนรใู้ นองค์ประกอบขา้ งต้นที่กล่าวมาแล้ว และในขั้นน้ีเป็นขั้นที่สะท้อนกระบวนการจัดการเรียนรู้ว่า มิใช่ เพียงเรียนรู้เท่าน้ันแต่เป็นกระบวนการที่ได้ใช้ความรู้ท่ีเรียน ทาให้เกิดเป็นทักษะและเจตคติที่ดีต่อการเรียน ตามมา การจัดกิจกรรมในข้ันนี้ได้แก่ การทาแผนภาพ จัดนิทรรศการ ทารายงานสรุปสาระสาคัญ ตารางวเิ คราะห์ ฯลฯ
42 ออกแบบปฏิสัมพันธ์ในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนการที่หลากหลาย เช่น กระบวนการ กลุ่ม ทั้งกลุ่มขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ การออกแบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ จึงเป็นการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากกลุ่มมากท่ีสุด แทนการเรียนด้วยการฟังครูพูด (บรรยาย) มี ผลงานวิจัยสนับสนุนว่าการเรียนเป็นกลุ่มมีผลดีต่อผู้เรียนคือ ช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ส่งเสริม ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละจรยิ ธรรม ผ้เู รียนได้เรียนรู้อยา่ งมคี วามสขุ สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ หมายถึง การเตรียมส่ือต่างๆ เช่น ใบงาน ใบความรู้ ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ที่ใช้ประกอบในการทากิจกรรมการเรียนรู้ในคาบนั้นๆ เช่น กรณีศึกษา วีดิ ทัศน์ แถบเสียง แผ่นโปร่งใส Power Point ส่ือบุคคล นิทาน เคร่ืองโสตทัศนูปกรณ์ กระดาษ ปากกา สี บตั รคา บัตรความรู้ ใบงาน หนังสอื ตารา เอกสารอ้างองิ ฯลฯ การวัดและประเมินผล หมายถึง ออกแบบการประเมินผลและการสร้างเคร่ืองมือเพ่ือใช้ในการประเมินผล ในทีน่ ้ีหมายถึงการวดั และประเมนิ ผลการเรียนเปน็ รายคาบ ได้แก่ การสงั เกตความสนใจและการมีส่วนร่วม การแสดงความคิดเห็นและการตรวจผลงาน การใช้แบบทดสอบ การทาแฟูมสะสมงาน เป็นต้น การจัด กิจกรรมในข้ันน้ีได้แก่ การนาผลงานมาติดท่ีปูายนิเทศ การอ่านหนังสือเพ่ิมเติมนอกเวลา การทา แบบทดสอบ ฯลฯ จัดการเรียนรูแ้ ละบันทึกผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ โดย ใชบ้ นั ทกึ ผลการใชแ้ ผนฯ เพ่อื ปรับปรงุ และพัฒนาแผนการจัดการเรยี นรู้ตอ่ ไป
43 กจิ กรรมท่ี 4.1 ผา้ ปาเต๊ะปกั เล่อื ม จุดประสงค์ เพ่ือให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ลงมือปฏิบัติตามแบบลวดลายท่ีกาหนดได้ และสามารถนาไปใช้ ประโยชนไ์ ด้ วัสดุ/อุปกรณ์ 1. วัสดสุ าหรับตกแต่งเส้ือผา้ : เล่ือม, ลูกปดั , หอย 2. ดา้ ย: สาหรบั ติดชน้ิ สว่ นตกแตง่ และสาหรบั เยบ็ ปักถักรอ้ ย 3. กรรไกร 4. เขม็ 5. ไดอะแกรมของภาพวาดหรือรูปแบบ ขัน้ ตอนการทา 1.ร้อยดา้ ยเขา้ รูเขม็ ขมวดปมให้เรียบรอ้ ย เลอื กสีลูกปดั หรือปลอ้ งอ้อยตามโทนให้ไดก้ บั สผี า้ และใหใ้ สล่ งด้าย เพ่ือปักลงบนผ้า รูปท่ี 1
44 2.กะระยะลกู ปัด หรอื ปล้องอ้อยให้พอดี เพอ่ื ผา้ ไม่ย่น กะระยะไดเ้ ท่าไหรก่ ็แทงเข็มลง-ขน้ึ ถา้ เรากะระยะยาว เกินไปดา้ ยกจ็ ะโผลอ่ อกมานอกเหนอื จากลูกปัด และปลอ้ ง ซงึ่ จะไม่สวย หลงั จากนนั้ ก็เอาเข็มดนั ไปให้สดุ รปู ท่ี 2 3.วิธีแทงเข็มจะต้องแทงตรง และสะกิดข้นึ มานดิ เดียว ถ้าเราแทงเฉียงงานก็จะออกมาเฉียง และจะยุกยิกๆไป มา กจ็ ะไมส่ วย รปู ท่ี 3 4.ปักไปตามรปู แบบบนผ้าที่ออกแบบไว้ ปักไปเร่ือยๆจนถุงจดุ สน้ิ สุดของลวดลาย จากนั้นใหล้ อดใตผ้ ้าและ ขมวดปมใหเ้ รียบร้อย รูปที่ 4
45 ให้นักเรยี นปักเล่ือมโดยใช้ลกู ปดั หรอื ปล้องบนผ้าปาเต๊ะคนละ 1 ชิ้น ตามลวดลายท่กี าหนดให้ รูปที่ 5 อา้ งอิงจาก https://youtu.be/N_nXFMD6-_Y Note.. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………................................................................................................................................
46 กิจกรรมที่ 4.2 การแพทเทริ ์นกระโปรงป้าย จดุ ประสงค์ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนได้ลงมือปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ วัสดุ/อปุ กรณ์ 1. กระดาษสรา้ งแพทเทิรน์ 2. กาวแทง่ 3. เทปใส 4. กรรไกรตดั กระดาษ 5. ไม้บรรทัดยาว 6. ดินสอ 7. ยางลบ 8. ไมบ้ รรทัดฉาก 9. ทกี่ ลิง้ ผ้า 10. ไมบ้ รรทดั เผื่อเย็บตะเขบ็ (ไม่มไี มต่ ้องใช)้ 11. ทเ่ี จาะรแู พทเทริ น์ 12. สายวดั 13. เครื่องคดิ เลข 14. ไม้บรรทดั โค้ง
Search