Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานประกันคุณภาพการศึกษา 2565

งานประกันคุณภาพการศึกษา 2565

Published by SAINT JOSEPH SAKONNAKHON SCHOOL SJS, 2023-05-30 01:18:07

Description: งานประกันคุณภาพการศึกษา
รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) (Self-Assessment Report :SAR)

Search

Read the Text Version

51 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ประเดน็ พจิ ารณา การปฏบิ ัตงิ าน เปา้ หมาย จำนวนครู (คน) *** ผลการ ปฏิบตั ิ ไม่ (รอ้ ยละ) ผลการประเมิน ประเมิน 1 จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ ทัง้ หมด ผ่านเกณฑ์ท่ี คณุ ภาพที่ได้ ปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ ปฏิบตั ิ 90 กำหนด (รอ้ ยละ) ในชีวติ ได้  52 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนร้ตู ามมาตรฐานการ เรยี นรู้ ตวั ชี้วัดของหลักสตู รสถานศกึ ษาท่ี  52 เนน้ ให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ โดยผ่านกระบวนการ  51 คดิ และปฏิบตั จิ รงิ  51 1.2 มีแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ีสามารถนำไป  51 จดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ 1.3 มีรปู แบบการจัดการเรียนร้เู ฉพาะ  49 สำหรับผู้ท่มี ีความจำเป็น และต้องการความ  48 ชว่ ยเหลอื พเิ ศษ  49 1.4 ฝึกทักษะให้ผเู้ รียนได้แสดงออก แสดง ความคดิ เห็น สรุปองค์ความรู้ และนำเสนอ ผลงาน 1.5 สามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรูใ้ หผ้ ้เู รียน สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ 2 ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ เ่ี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 2.1 ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ จดั การเรียนรู้ 2.2 ใชแ้ หล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นใน การจดั การเรียนรู้ 2.3 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้ ด้วยตนเองจากสอ่ื ทห่ี ลากหลาย 3 มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก 3.1 ผูส้ อนมกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียน  50 โดยเน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์เชิงบวก  50 3.2 ผสู้ อนมกี ารบริหารจดั การชนั้ เรียน ให้เด็กรักครู ครูรกั เดก็ และเดก็ รกั เด็ก เดก็ รกั ทจ่ี ะเรียนรู้ สามารถเรียนรรู้ ว่ มกนั อย่างมคี วามสขุ

52 ประเดน็ พจิ ารณา การปฏบิ ตั งิ าน เป้าหมาย จำนวนครู (คน) *** ผลการ ปฏิบตั ิ ไม่ (ร้อยละ) ผลการประเมิน ประเมนิ 4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ทงั้ หมด ผา่ นเกณฑท์ ี่ คุณภาพท่ไี ด้ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ปฏิบตั ิ กำหนด (รอ้ ยละ) 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการ  52 จดั การเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบ  52 4.2 มขี ้นั ตอนโดยใช้เครื่องมอื และวธิ ีการวัดและ ประเมนิ ผลท่เี หมาะสมกบั เป้าหมายในการ  52 จดั การเรียนรู้  52 4.3 เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนและผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งมี สว่ นรว่ มในการวดั และประเมินผล 90 4.4 ให้ขอ้ มูลย้อนกลบั แก่ผู้เรยี นเพอื่ นำไปใช้ใน การพัฒนาการเรยี นรู้  52  52 5 มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พัฒนาปรบั ปรงุ การ จดั การเรียนรู้ 5.1 และผู้มีส่วนเกีย่ วข้องร่วมกนั แลกเปลี่ยน ความรแู้ ละประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรู้ 5.2 นำข้อมลู ป้อนกลบั ไปใช้ในการปรับปรงุ และ พฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องตนเอง อธบิ ายจุดเน้นและกระบวนการพัฒนาทสี่ ่งผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 3 จดุ เนน้ ครจู ดั การเรยี นรู้ด้วยวธิ ีการที่หลากหลายให้ผเู้ รยี นใช้กระบวนการคิด การปฏิบตั จิ ริงและการประยุกต์ใช้ ในชวี ติ จรงิ ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น และครูมีการแลกเปลีย่ นเรยี นรูแ้ ละให้ ขอ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ กระบวนการพัฒนา - จัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตได้ โดยส่งเสรมิ ให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ ครไู ดว้ เิ คราะหห์ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน หลกั สตู รสถานศึกษา และจัดทำกำหนดการสอน ซึ่งประกอบไปด้วย หน่วย ชื่อหน่วย สอดคลอ้ งกับมาตรฐานตวั ชีว้ ัด สาระสำคญั จาก สาระแกนกลาง สาระท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย ประชาคมอาเซียน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทักษะการ คิดสู่ศตวรรษที่ 21 3Rs 8 Cs จำนวนชั่วโมง น้ำหนักคะแนน และนำมาออกแบบและจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ครอบคลุมครบทุก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูได้จัดทำ แผนการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครบทุกชั้นเรียน และนำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบมาจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จริง โดยใช้กิจกรรม Active Learning และผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะการ

53 แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตตามท่ี กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้อย่างชัดเจน ซึ่งในแผนการสอนได้ระบุกระบวนการที่ใช้ในการออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ไว้อย่างชดั เจน เช่น กระบวนการเรียนความรูค้ วามเขา้ ใจ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการเรียนภาษา เป็นต้น และกำหนดวิธีการสอนที่ใช้ในการ จัดการเรียนรู้หลากหลายชัดเจนกำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เช่น บรรยาย สาธิต ทดลอ ง นิรนัย อปุ นัย ทัศนศึกษา อภปิ รายรายกลุม่ ยอ่ ย แสดงบทบาทสมมติ กรณีตัวอยา่ ง สถานการณ์จำลอง เกม เปน็ ต้น โรงเรียนมีการนิเทศการสอนของครู เพื่อพัฒนาคุณภาพของครูและนักเรียนในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งจัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียนตามความสามารถ ให้ผู้เรียนได้รับการฝึก ทักษะแสดงออก แสดงความคิดเห็น ดำเนินโครงการจัดการเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ โครงงาน ครบทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่งเสริมกิจกรรมปราชญ์ชาวบ้าน การผลิตสื่อและนวัตกรรม เน้น การจดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนำมาใชใ้ นการประยุกต์ในชีวติ ได้ - ส่งเสรมิ ให้ครเู ลือกใชส้ ื่อที่มีคุณภาพ ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้และเหมาะสมใน การจัดการเรียนการสอน รวมทั้งใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งสื่อ Internet โดยมีการกระจายสัญญาณให้ทุกอาคารเรียน เพื่อให้ครูค้นหาสื่อออนไลน์โดยการติดต้ัง โทรทัศน์ในห้องเรียน มีสถานที่ที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน เช่น ห้องปฏิบัติการต่างๆในโรงเรียน มีการ ส่งเสริมให้ครูได้ผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนประเภทต่างๆและเพื่อให้ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม กับกิจกรรมการเรียนรู้โดยครูผู้สอน มีการจัดทำสื่อการเรียนการสอนให้ตรงตามเนื้อหาตัวชี้วัดในรายวิชาที่สอน เช่น สื่อจากวัสดุ สื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งของ และมีการนิเทศการสอนของครู ซึ่งระบุไว้ในแบบฟอร์มการนิเทศ การสอน ข้อที่ 7 มีการใช้สื่อหรือเทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้ และระบุไว้ในแผนการสอนข้อที่ 6 สื่อการ เรียนการสอน/ แหล่งการเรียนรู้ (สื่อวัสดุ สิ่งของ สื่อธรรมชาติ สื่อเทคโนโลยี ฯลฯ) นำใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่ หลากหลายมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนได้ครบถว้ น การใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อ การเรยี นรู้ - สง่ เสรมิ ใหค้ รูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก มีปฏิสมั พนั ธ์เชงิ บวก ส่งผลให้ผู้เรียนรักการ เรยี นรู้ โดยการจดั บรรยากาศในห้องเรียนที่เอ้ือต่อการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ มคี วามยืดหยุ่น จัดห้องปฏิบัติการ ต่าง ๆใหเ้ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ เชน่ หอ้ งดนตรี ห้องสมดุ หอ้ งคอมพิวเตอร์ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องนาฏศิลป์ ห้อง ประชุม ครผู ู้สอนมสี อื่ การจดั การเรียนรู้ ใช้วิธีการสอนท่หี ลากหลาย เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั เพอ่ื ชว่ ยให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ตามศักยภาพแตล่ ะบคุ คล ครูผู้สอนมีการกระตุ้น/เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้หรือรว่ ม แสดงความคิดเห็นในการเรียนรู้ ผู้เรียนได้มีการลงมือปฏิบัติจริง ในการเรียนครูผู้สอนสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม ข้อควรปฏิบัติและวัฒนธรรมไทยที่ดีให้กับนักเรียนอย่างสม่ำเสมอเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม ส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัยในช้ันเรยี นโดยกำหนดกติกา ข้อตกลง แนวปฏิบัตริ ่วมกนั ในช้ันเรียน จากผลการติดตาม งานนิเทศการสอน ครูศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนำข้อมูลมาวางแผนในการให้ความดูแล ช่วยเหลือให้

54 คำแนะนำ คำปรึกษาและแกไ้ ขปัญหาของผเู้ รียนด้านการเรียนและด้านพฤติกรรม ครมู ีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรยี น ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข มีการดำเนิน โครงการห้องเรียนหรรษา กิจกรรมบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก กิจกรรมคำทักทายสร้างพลังบวก รวมท้ัง การวิจัยในชัน้ เรยี นเพอ่ื แกป้ ญั หาและพฒั นาผู้เรยี น - ส่งเสรมิ ให้ครูผู้สอนตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรียน โดยจดั ทำ แผนการจัดการเรียนรขู้ องครผู ู้สอนแตล่ ะกลมุ่ สาระได้ระบตุ วั ช้วี ดั /จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวัดผลประเมินผล เครื่องมือวัดผลประเมินผลและเกณฑ์การผ่านแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้ไว้อย่างชัดเจน มีการวัดผลประเมิน หลากหลายครบถ้วนตามจุดประสงค์ มีเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคล้องและตอบสนองจุดประสงค์การ เรยี นรูค้ รบ ทุกข้อและมีความหลากหลายของเคร่ืองมือการวดั ผลประเมินผลในหนว่ ยน้ัน ๆ สง่ ผลให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดและบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนดดว้ ยวิธีการวัดและประเมินผลที่ หลากหลาย และเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและนำผลมาใช้พัฒนาผู้เรียน อีกทั้งมีการตรวจสอบและประเมิน คณุ ภาพการจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ ครผู สู้ อนมีการใช้เครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผลทสี่ อดคล้องและตอบสนอง จุดประสงค์การเรียนรู้และมีความหลากหลายของเครื่องมือวัดผลประเมินผลในหน่วยนั้นๆ นอกจากนั้นครูผู้สอน ได้จัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและนำผลไปใช้ทันทีและสะท้อนข้อมูล ปรับปรุง การเรยี นการสอนเพือ่ ประโยชนส์ งู สุดแกผ่ ้เู รียน - ส่งเสริมให้ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์และให้ข้อมูลสะท้อน กลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ โดยโรงเรียนมีกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง เพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอน ร่วมกันพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น และได้ ดำเนนิ การ สำรวจความพึงพอใจของผู้ปกครองและชุมชนตอ่ การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา เก่ียวกับหลกั สตู ร การจัดการเรียนการสอน งบประมาณ กิจกรรม อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของโรงเรียน ความพึงพอใจ สะท้อนวา่ โรงเรียนมีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยใชข้ ้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐานความคิดด้านการ จัดการ มีการส่งเสริม ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนโดยมีคณะกรรมการบริหาร การศึกษาและชมรมผู้ปกครอง นอกจากนี้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนมีความพึงพอใจผลการบริหาร จัด การศึกษาของโรงเรียนในระดับดีมาก มีการจัดระบบข้อมูลในการบริหารจัดการการเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียน นอกจากนี้ยังมีการประชุมภาคี 4 ฝ่าย ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพื่อรายงานผลการพัฒนาหลักสูตร ของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนให้ความ เห็นชอบรายงานผลการดำเนินงานประจำปีของสถานศึกษา เสนอแนะ ให้คำปรึกษา - โรงเรียนมีการประชุมสรุปรายงานประจำปีจากหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้าระดับช้ัน หัวหน้าฝ่ายและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาอย่างจริงจงั และยั่งยนื มีการประชมุ ฝ่าย ประชุมกลุม่ สาระเพื่อชีแ้ จง แผนงานโครงการกิจกรรม อีกทั้งยังมีการประชุมสามัญประจำเดือน เพื่อแบ่งปันประสบการณ์ให้ข้อมูลสะท้อน กลบั เพื่อพฒั นาปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรใู้ ห้ดขี น้ึ นอกจากน้คี ณะผู้บริหารและครูได้ประชุมเชงิ วิชาการแลกเปล่ียน เรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ ร่วมกับโรงเรียนในเครืออัครสังฆมณฑลท่าแร่ – หนองแสง ทั้ง 9 โรงเรียน เพื่อ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนการสอน

55 จุดเด่น (เลือกได้มากกว่า 1 ขอ้ ) ระดับปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็  เด็กพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญาเปน็ ไปตามเกณฑ์ เหมาะสมตามวยั  เดก็ สามารถปฏบิ ัติตามหลกั ธรรมคำสอนของศาสนาท่ีตนเองนับถอื  เดก็ เรียนรู้และยอบรบั กฎระเบียบ การอยู่ร่วมกนั ในสังคม มวี ินัย  เดก็ มีความเมตตากรุณา เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ รู้จกั การเสียสละ  เด็กมที ักษะทางการสอื่ สารภาษาต่างประเทศ สอ่ื สารได้เหมาะสมตามวัย  เดก็ มีความม่ันใจในตนเอง กลา้ คิด กล้าแสดงออก  เดก็ รูจ้ กั การเป็นผู้นำและผ้ตู าม ทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื  เดก็ มที ักษะการใช้กล้ามเนื้อ ประสาทสัมผสั ท้ัง 5 ได้ดี เหมาะสมตามวยั  เด็กมจี นิ ตนาการ มีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ รู้จักแสวงหาความรู้  เดก็ ดูแลความปลอดภยั ของตนเอง มีทกั ษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อ่ืนได้ตามวัย  เดก็ มที ักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรท์ ี่เหมาะสมกับวัย  เด็กมีความพร้อมในการศกึ ษาต่อในระดับทส่ี ูงข้นึ  เด็กมีมารยาท สัมมาคารวะตามแบบวัฒนธรรมไทย  เด็กมีมนุษย์สัมพนั ธท์ ดี่ ี ยอมรบั และช่นื ชมผูอ้ ื่น  เด็กมสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี สามารถเลือกรบั ประทานอาหารมปี ระโยชน์ o อ่ืน ๆ ระบ.ุ ........................................................................... มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ  ผูบ้ ริหารมคี วามสามารถในการบริหารจดั การอย่างเป็นระบบ มรี ะบบฐานข้อมลู สารสนเทศของ สถานศกึ ษา  ผบู้ ริหารกำหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ของสถานศึกษาไว้อยา่ งชดั เจนตามบริบทของ สถานศกึ ษา  ผ้บู รหิ ารจัดการศึกษาครอบคลุมพัฒนาการของเด็กทกุ ดา้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถิน่  ผู้บริหารสง่ เสรมิ การทำงานเป็นทีม ความรว่ มมือกันในสถานศึกษา ทอ้ งถ่ิน และผเู้ กยี่ วข้องทุกฝา่ ย  ผู้บรหิ ารจัดสภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภัย  ผบู้ ริหารจดั สง่ิ อำนวยความสะดวก และบรกิ ารด้านสอ่ื เทคโนโลยีท่คี รบถว้ นเพยี งพอ  ผู้บริหารมีวสิ ยั ทศั น์และภาวะผูน้ ำ ทง้ั ดา้ นวิชาการ และการบรหิ าร  ผู้บริหารไดร้ ับรางวัลทางด้านการบรหิ ารดีเด่น มีผลงานเป็นที่ประจักษ์  ผู้บรหิ ารประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี มีมนุษยสัมพันธด์ ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม  ผบู้ รหิ ารมคี วามคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ พฒั นาตนเองใหม้ ีความรู้ ทันสมัย ทันตอ่ สถานการณ์อย่เู สมอ  ผูบ้ ริหารสรา้ งขวญั และกำลงั ใจใหก้ ับบุคลากรในโรงเรียน  ผ้บู ริหารมคี วามเป็นประชาธปิ ไตย เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม

56  ผบู้ ริหารจัดการงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ  ผู้บริหารส่งเสริม สนบั สนุน การพฒั นาความสามารถของครใู ห้ความเชี่ยวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ใหก้ ับเด็ก  ผู้บริหารมีกระบวนการติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน การนเิ ทศครผู สู้ อน o อ่ืน ๆ ระบุ............................................................................ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สำคญั  ครจู ัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคัญ เน้นการปฏบิ ตั จิ รงิ มปี ระสทิ ธิภาพสง่ ผลตอ่ พฒั นาการเด็กทกุ ด้าน  ครปู ลูกฝงั เด็กให้มวี ินัย มีเหตผุ ล กลา้ แสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นแบบอยา่ งท่ีดีให้กับเด็ก  ครูมคี วามสามารถในการใช้ส่ือ เทคโนโลยี และนำมาใช้ในการจัดประสบการณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ครสู ามารถบูรณาการส่อื สำหรบั การจัดประสบการณไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดีและทนั ต่อสถานการณป์ ัจจุบนั  ครมู ีการวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร รเู้ ป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา  ครนู ำผลการประเมินเด็ก การจดั ประสบการณใ์ นชน้ั เรยี นมาปรบั พฒั นาคุณภาพใหด้ ขี ึ้น  ครูประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริง ประเมนิ เดก็ เปน็ รายบคุ คล ใชก้ ระบวนการวัดและประเมนิ ผลที่ หลากหลาย  ครูจดั บรรยากาศทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ บริหารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก  ครจู ดั สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี นสะอาด ปลอดภัย มีความใกล้ชดิ ดูแลเอาใจใสเ่ ด็กอยา่ งทว่ั ถงึ  ครมู กี ารทำวิจัยในชั้นเรยี น และนำกระบวนการวิจยั ในชั้นเรยี นมาใช้  ครูมกี ารทำงานรว่ มกนั เป็นทมี มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ มคี วามสัมพนั ธ์ทีด่ ีกับผู้ปกครอง ชุมชน  ครูมีความรู้ ความสามารถตรงตามคุณสมบตั ิ ตรงกบั งานท่รี ับผิดชอบ  ครมู คี วามตั้งใจและมงุ่ มั่นในการปฏบิ ัติหน้าท่ี ขยัน อดทน เสยี สละ  ครพู ฒั นาตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอด้วยการเขา้ รว่ มอบรม ศึกษาดงู าน ติดตามข่าวสาร ขอ้ มลู นวัตกรรมใหมๆ่  ครจู ดั ทำนวัตกรรมหรอื แบบอย่างทด่ี ี และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชนหรือผู้ทส่ี นใจ o อ่นื ๆ ระบ.ุ ........................................................................... การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การออม  กิจกรรมประเภทใหค้ วามรูด้ ้านการเงิน การออม การลงทนุ  กจิ กรรมประเภทโครงการออมทรพั ยน์ ักเรยี น สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรยี น o อน่ื ๆ ระบ.ุ ........................................................................... การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ภาพชวี ิตท่ีเป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม  กิจกรรมประเภทใหค้ วามรู้และปลูกสรา้ งจิตสำนึกด้านการอนรุ ักษ์พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม  กิจกรรมประเภทสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของบุคลากรและนักเรยี นในการอนรุ ักษ์พลังงานหรอื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ การใชพ้ ลงั งาน o อ่นื ๆ ระบุ............................................................................

57 ระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน  ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การคิดวิเคราะห์และการคิดคำนวณสงู กวา่ เกณฑ์ที่ สถานศกึ ษากำหนด  ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงกวา่ เปา้ หมายท่สี ถานศึกษากำหนด  ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สูงกวา่ เกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด  ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม ปฏิบัตติ ามหลักธรรมของศาสนาท่ตี นเองนบั ถือ  ผู้เรยี นมสี ขุ ภาพกาย มสี ุขภาพจิตท่ีดี มีความสุข มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน  ผูเ้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสือ่ สารได้อยา่ งเหมาะสม  ผเู้ รียนยอมรับกฎระเบยี บ การอย่รู ว่ มกันในสงั คม มมี นษุ ยส์ มั พนั ธ์ทดี่ ี ยอมรบั และช่ืนชมผู้อื่น  ผู้เรียนมที กั ษะทางการสื่อสารภาษาตา่ งประเทศ การใชภ้ าษาท่ี 3 ในการสื่อสาร  ผูเ้ รียนได้รับรางวลั ความโดดเดน่ ทางด้านวชิ าการ กีฬา ศิลปะ  ผเู้ รียนมีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ มีความมน่ั ใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก  ผเู้ รยี นรู้จักการเปน็ ผนู้ ำและผ้ตู าม มีความรับผดิ ชอบ ทำงานเปน็ ทีม ทำงานรว่ มกับผู้อนื่ ได้  ผเู้ รยี นดแู ลความปลอดภยั ของตนเอง มที ักษะในการช่วยเหลอื ตนเองและผู้อื่น  ผเู้ รยี นมมี ารยาท สัมมาคารวะตามแบบวฒั นธรรมไทย  ผ้เู รียนรูจ้ ักการใชท้ รัพยากรอยา่ งคุ้มคา่ ประหยดั อนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม  ผู้เรียนเข้าใจพิษภยั และอยหู่ า่ งไกลจากสง่ิ เสพตดิ สถานการณ์ท่ีเส่ียงต่ออันตราย o อื่น ๆ ระบ.ุ ........................................................................... มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ  ผู้บรหิ ารมคี วามสามารถในการบริหารจดั การอย่างเป็นระบบ มีระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศของ สถานศกึ ษา  ผูบ้ รหิ ารกำหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ของสถานศึกษาไว้อย่างชดั เจนตามบรบิ ทของ สถานศึกษา  ผบู้ ริหารจัดการศกึ ษาครอบคลมุ พฒั นาการของเด็กทุกด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถิ่น  ผบู้ รหิ ารสง่ เสริมการทำงานเปน็ ทีม ความร่วมมือกนั ในสถานศกึ ษา ทอ้ งถ่นิ และผ้เู กี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ย  ผ้บู รหิ ารจดั สภาพแวดลอ้ มท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภยั มที รัพยากรการเรียนรูท้ ีเ่ พยี งพอ  ผู้บรหิ ารจดั สงิ่ อำนวยความสะดวก และบริการด้านส่ือเทคโนโลยีทค่ี รบถว้ นเพยี งพอ  ผูบ้ รหิ ารมีวสิ ยั ทศั นแ์ ละภาวะผนู้ ำ ทัง้ ดา้ นวชิ าการ และการบริหาร  ผบู้ รหิ ารได้รับรางวัลทางด้านการบริหารดเี ดน่ มีผลงานเปน็ ทป่ี ระจักษ์  ผู้บรหิ ารประพฤติตนเป็นแบบอย่างทด่ี ี มีมนุษย์สัมพันธด์ ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม  ผู้บรหิ ารมีความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทนั สมัย ทันต่อสถานการณ์อยูเ่ สมอ  ผบู้ รหิ ารสร้างขวญั และกำลังใจให้กบั บุคลากรในโรงเรียน  ผูบ้ ริหารบรหิ ารงานอย่างมคี ุณภาพ ความเปน็ ประชาธปิ ไตย เปิดโอกาสใหผ้ เู้ กีย่ วข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม  ผบู้ ริหารบริหารงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

58  ผบู้ รหิ ารสง่ เสรมิ สนับสนุน การพฒั นาความสามารถของครใู ห้ความเชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ให้กับเดก็  ผบู้ รหิ ารมกี ระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การนเิ ทศครผู สู้ อน o อื่น ๆ ระบุ............................................................................ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั  ครูจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ เนน้ การปฏิบัติจรงิ  ครปู ลกู ฝังผเู้ รียนให้มีวินัย มีเหตุผล กลา้ แสดงออกในสงิ่ ทีถ่ กู ต้อง เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีใหก้ บั ผเู้ รียน  ครูมีความสามารถในการใชส้ อ่ื เทคโนโลยี และนำมาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม  ครูผลติ สอ่ื การเรียนการสอนทหี่ ลากหลาย สามารถบูรณาการสอื่ การเรยี นการสอนได้เป็นอย่างดแี ละทนั ตอ่ สถานการณป์ ัจจุบัน  ครมู ีการวิเคราะห์หลกั สูตร รู้เปา้ หมายการจดั การศึกษาของสถานศึกษา  ครูนำผลการประเมินการเรยี นการสอนมาปรับพัฒนาคณุ ภาพให้ดีข้นึ  ครูประเมินผลผเู้ รียนตามสภาพจริง ประเมนิ ผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล ใชก้ ระบวนการวดั และประเมนิ ผลที่ หลากหลาย  ครูจัดบรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ บริหารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก  ครจู ดั สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียนสะอาด ปลอดภัย มีความใกลช้ ิดดแู ลเอาใจใส่ผู้เรียนอยา่ งท่วั ถึง  ครูมีการทำวจิ ยั ในชน้ั เรียน และนำกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้  ครูมีการทำงานรว่ มกนั เปน็ ทีม มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้ มีความสมั พันธท์ ี่ดีกบั ผ้ปู กครอง ชุมชน  ครมู ีความรู้ ความสามารถตรงตามคุณสมบัติ ตรงกบั งานที่รบั ผดิ ชอบ  ครมู คี วามตัง้ ใจและมุง่ ม่ันในการปฏิบตั หิ น้าที่ ขยัน อดทน เสยี สละ  ครพู ัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอด้วยการเข้าร่วมอบรม ศกึ ษาดูงาน ติดตามขา่ วสาร ขอ้ มูล นวัตกรรม ใหมๆ่  ครูจัดทำนวตั กรรมหรอื แบบอย่างที่ดี และเผยแพร่ต่อสาธารณชนหรือผู้ทสี่ นใจ o อ่นื ๆ ระบ.ุ ........................................................................... การจัดกจิ กรรมส่งเสริมการออม  กิจกรรมประเภทใหค้ วามรู้ดา้ นการเงิน การออม การลงทุน  กจิ กรรมประเภทโครงการออมทรัพย์นักเรียน สหกรณโ์ รงเรียน ธนาคารโรงเรยี น o อื่น ๆ ระบุ............................................................................ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม  กจิ กรรมประเภทให้ความรูแ้ ละปลกู สรา้ งจติ สำนึกดา้ นการอนุรักษ์พลงั งานและส่งิ แวดลอ้ ม o กิจกรรมประเภทสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของบคุ ลากรและนักเรียนในการอนุรักษ์พลังงานหรอื เพิม่ ประสิทธภิ าพ การใช้พลังงาน o อ่ืน ๆ ระบุ............................................................................

59 จุดควรพฒั นา ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก o เดก็ มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาไม่เปน็ ไปตามเกณฑเ์ หมาะสมกับวยั o เด็กขาดทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกบั วยั o เด็กขาดความรบั ผดิ ชอบ การทำงานท่รี ับมอบหมายให้สำเร็จ ความมีระเบียบวนิ ัย o เดก็ ประพฤติตนไม่เป็นไปตามหลักคณุ ธรรม จริยธรรม และหลักธรรมคำสอนของศาสนาทตี่ นนบั ถือ o เดก็ มสี ่วนสูง น้ำหนัก ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน o เด็กขาดความสามารถในการช่วยเหลือตนเองและผู้อน่ื ไดต้ ามวยั o เดก็ ขาดทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ ในการสื่อสารท่ีเหมาะสมตามวัย o เดก็ ขาดสุขนสิ ยั ทด่ี ี ถูกสขุ ลกั ษณะ การรู้จักรกั ษาความสะอาดของตนเอง สถานที่ การเลือกรับประทาน อาหารท่ีมปี ระโยชน์ o เด็กขาดความกล้าแสดงออก มคี วามเป็นผนู้ ำ ทักษะการทำงานร่วมกับผูอ้ น่ื ยงั ไมเ่ หมาะสมตามวัย o เด็กขาดความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ ความคิดรวบยอด คิดแกป้ ัญหา สามารถวิเคราะหเ์ หตแุ ละผล o เด็กขาดทกั ษะความสามารถสืบคน้ ข้อมูลจากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ การใชเ้ ทคโนโลยียงั ไมเ่ หมาะสมกับวยั o เดก็ ขาดจิตสำนึกในการดแู ลรักษาสิ่งแวดล้อม การใชท้ รัพยากรอยา่ งรู้คณุ ค่า การดูแลรักษาของส่วนรวม o เดก็ ขาดทักษะการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ การคดิ วิเคราะห์ การไตร่ตรอง การสงั เคราะห์ o เดก็ ยังไม่สามารถปฏบิ ตั ติ นอย่างมมี ารยาท มสี ัมมาคารวะ ตามวัฒนธรรมไทยได้เหมาะสมตามวัย o เด็กขาดความพร้อม และทักษะในการเรียนต่อในระดับท่ีสงู ข้นึ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ o ผ้บู รหิ ารควรนำระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษามาใช้เป็นส่วนในการบริหารจัดการ o ผบู้ รหิ ารขาดประสบการณ์ในการบริหารงานสถานศึกษา o ผบู้ ริหารขาดวสิ ยั ทัศน์ ในการบริหารสถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ ก้าวหน้า มีประสิทธิภาพ o ผู้บรหิ ารขาดความร้คู วามเข้าใจในการใช้ส่อื เทคโนโลยสี มัยใหม่ เพือ่ นำมาปรับใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ o ผู้บริหารขาดจรรยาบรรณ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการบริหารจดั การสถานศึกษา o ผบู้ รหิ ารขาดการดูแล การให้ขวญั กำลงั ใจ สวสั ดกิ ารแก่ผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชา บคุ ลากรอย่างเหมาะสม ไมท่ ัว่ ถงึ o ผ้บู ริหารจดั สรรครูผสู้ อน บคุ ลากร ไมเ่ พยี งพอ ไม่เปน็ ไปตามวุฒิ ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด o ผบู้ รหิ ารขาดการบริหารแบบมสี ว่ นรว่ ม ไม่เปิดโอกาสให้บุคลากร ผู้ที่เกย่ี วข้องมีส่วนในการบรกิ าร o ผบู้ ริหารไม่มีการสร้างส่งิ แวดล้อมทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ สถานที่เรยี นไม่มคี วามปลอดภัย o ผบู้ ริหารจัดหาวสั ดอุ ุปกรณ์ ส่ือเทคโนโลยี ทรพั ยากรการเรียนรู้ ไม่เพียงพอต่อการให้บริหาร o ผบู้ รหิ ารไม่พัฒนาฐานข้อมลู สารสนเทศของโรงเรียนให้เปน็ ระบบ o ผู้บรหิ ารขาดการส่งเสรมิ ให้ครู บคุ ลากร ได้พัฒนาตนเองจนมคี วามเชีย่ วชาญในการจดั ประสบการณ์ ให้กบั เดก็ o ผบู้ ริหารไม่มกี ระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การนิเทศครผู ู้สอน o ผบู้ ริหารไม่มเี ครือข่ายความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานภายนอก

60 o ผบู้ รหิ ารขาดการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองใหม้ ีความรู้ความสามารถเพ่ิมมากขึน้ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ o ครขู าดความรู้ ทกั ษะในการจัดประสบการณใ์ หก้ ับเด็ก เพ่ือส่งเสรมิ พฒั นาการทกุ ดา้ นใหเ้ หมาะสมกับวยั o การจัดบรรยากาศในชน้ั เรยี นของครไู ม่สง่ เสริมต่อการเรยี นรู้ และพัฒนาการของเด็ก o ห้องเรียนไมส่ ะอาด ขาดสุขลกั ษณะ ไม่มคี วามปลอดภยั ต่อเดก็ o ครขู าดการวจิ ัยในชั้นเรยี น ไม่นำงานวิจยั มาประยุกต์ใช้ในช้ันเรยี น o ครูขาดการผลิตสื่อที่หลากหลาย และไม่มกี ารใชส้ ่ือทีห่ ลากหลายในการจัดประสบการณใ์ ห้กบั เด็ก o ครูไม่จดั มุมประสบการณ์ในช้นั เรยี น กจิ กรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้งใหก้ บั เดก็ o ครไู มป่ ระพฤตติ นเปน็ แบบอย่างท่ีดีให้กับเดก็ ขาดคุณธรรม จรยิ ธรรม o ครขู าดทักษะในการใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ นั สมัยมาใช้ในการจดั ประสบการณ์ใหก้ ับเดก็ o ครไู ม่มกี ารพัฒนาตนเองด้วยการเขา้ รว่ มการอบรมทส่ี ง่ เสริมความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์ o ครูไม่มีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้กบั ครู เพ่ือนรว่ มงานในสถานศึกษา การทำงานเป็นทีม o ครไู ม่มีการสร้าง การเผยแพร่นวตั กรรม แบบอยา่ งทด่ี ที ้ังในสถานศกึ ษาและตอ่ สาธารณชน o ครูไม่มีมนุษยสัมพันธ์ทีด่ ีต่อเพื่อนร่วมงาน การทำงานเป็นทีม o ครูขาดทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ และการนำมาใชใ้ นชัน้ เรยี น o ครขู าดคุณวฒุ ิ ความรู้ ตามสายอาชีพ o ครขู าดการใช้วิธปี ระเมนิ ผลที่หลากหลาย เป็นรายบุคคล และบนั ทกึ ผล ติดตามเดก็ อย่างตอ่ เนือ่ ง ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน o ผู้เรียนขาดทักษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดรวบยอด การแก้ไขปัญหา o ผูเ้ รียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ความสามารถในด้านการอ่าน การเขยี นไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ี สถานศึกษากำหนด o ผเู้ รยี นขาดความรับผิดชอบ ไมม่ รี ะเบยี บวินัย ขาดการมีจิตสำนกึ ต่อสว่ นรวม มีจิตอาสา o ผเู้ รยี นไมป่ ระพฤติตนตามหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ไม่ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรม คำสอนของศาสนาทต่ี นนับถือ o การเจรญิ เตบิ โต สมรรถภาพทางกายของผู้เรียนไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ o ผเู้ รียนไมม่ ที ักษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสื่อสารทีเ่ หมาะสมตามวัย o ผ้เู รียนขาดทกั ษะการคดิ การปฏบิ ัติตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การใช้ทกั ษะชีวิตใน ศตวรรษท่ี 21 o ผู้เรยี นไมป่ ฏบิ ัตติ นตามสุขนสิ ัยท่ดี ี ไมด่ ูแลรักษาความสะอาดร่างกาย อาคารสถานท่ี o ผู้เรียนขาดความกลา้ แสดงออก ไมม่ ีความเปน็ ผูน้ ำ ขาดทกั ษะการทำงานร่วมกับผ้อู น่ื o ผู้เรียนขาดการมีความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ความคดิ รวบยอด คดิ แก้ปญั หา ไมส่ ามารถวิเคราะหเ์ หตแุ ละผล o ผู้เรยี นขาดความรูค้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์ เหมาะสมกบั วยั o ผเู้ รียนขาดจิตสำนกึ การดูแลรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม การใช้ทรัพยากรอยา่ งรู้คุณค่า การดูแลรักษาของส่วนรวม o ผู้เรยี นขาดทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ การคิดวิเคราะห์ การไตรต่ รอง การสงั เคราะห์

61 o ผู้เรียนขาดการรูจ้ กั มีมารยาท มีสมั มาคารวะ ตามวฒั นธรรมไทย o ผเู้ รยี นขาดการคิดนอกกรอบ พัฒนาการสรา้ งนวัตกรรม ความคิดสรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ o ผบู้ รหิ ารไมใ่ ช้ระบบประกนั คุณภาพการศึกษามาใช้ในการบริหารจดั การสถานศึกษา o ผู้บริหารขาดประสบการณ์ในการบรหิ ารงานสถานศกึ ษา o ผบู้ ริหารขาดวสิ ัยทศั น์ ในการบริหารสถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ กา้ วหนา้ มีประสิทธิภาพ o ผบู้ รหิ ารขาดความรู้ความเขา้ ใจในการใช้สอื่ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ตามสถานการณ์ปัจจุบนั เพอื่ นำมาปรบั ใช้ ในการบริหารจัดการสถานศึกษา o ผู้บรหิ ารขาดจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม ของผู้บรหิ าร o ผูบ้ รหิ ารขาดการดูแล การให้ขวญั กำลังใจ สวัสดกิ ารแกผ่ ู้ใตบ้ ังคับบัญชา บุคลากรอยา่ งเหมาะสม ไมท่ ว่ั ถึง o ผู้บรหิ ารจดั สรรครผู ู้สอน บุคลากร ไมเ่ พียงพอ ไมเ่ ปน็ ไปตามวฒุ ิ ตามเกณฑท์ ่ีกำหนด o ผู้บริหารขาดการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม ไมเ่ ปิดโอกาสใหบ้ ุคลากร ผทู้ ี่เกีย่ วขอ้ งมีส่วนในการบริการ o ผู้บรหิ ารไม่มีการสรา้ งส่งิ แวดล้อมทีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรู้ สถานทเ่ี รียนไม่มคี วามปลอดภัย o ผู้บริหารจัดหาวสั ดุอปุ กรณ์ ส่ือเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ ไมเ่ พยี งพอตอ่ การใหบ้ ริหาร o ผบู้ ริหารไมม่ กี ารพฒั นาฐานข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนที่เป็นระบบ o ผู้บรหิ ารขาดการสง่ เสรมิ ให้ครู บคุ ลากร ได้พฒั นาตนเองจนมคี วามเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน o ผู้บริหารไมม่ ีกระบวนการติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน การนิเทศครูผู้สอน o ผบู้ ริหารไม่มีเครือข่ายความร่วมมือกบั สถานศึกษาหรือหน่วยงานภายนอก o ผ้บู รหิ ารขาดการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองใหม้ ีความรคู้ วามสามารถเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานที่ 3 การจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ o ครขู าดความรู้ ทักษะในกระบวนการจดั การเรียนการสอน จบไมต่ รงสาขาท่ีสอน o การจัดบรรยากาศในช้ันเรยี นของครูไม่ส่งเสริมต่อการเรียนรู้ ไม่มคี วามสัมพนั ธ์ที่ดีกับผู้เรียน o ห้องเรียนไมส่ ะอาด ขาดสุขลกั ษณะ ไมม่ คี วามปลอดภัย ไม่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ o ครขู าดการวิจัยในชน้ั เรียน ไม่นำงานวจิ ยั มาประยุกต์ใชใ้ นชั้นเรียน o ครขู าดการผลติ สื่อท่ีหลากหลาย และไม่มกี ารใชส้ อื่ ทหี่ ลากหลายในการจัดการเรยี นการสอน o ครูไมป่ ระพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ขาดคุณธรรม จรยิ ธรรม o ครขู าดทักษะในการใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีทันสมยั มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน o ครูไม่มกี ารพฒั นาตนเองด้วยการเขา้ รว่ มการอบรมที่สง่ เสริมความเชีย่ วชาญในการจดั การเรยี นการสอน o ครูขาดการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กบั ครู เพื่อนร่วมงานในสถานศึกษา การทำงานเปน็ ทมี o ครไู ม่มกี ารสรา้ ง การเผยแพร่นวตั กรรม แบบอยา่ งทด่ี ที ั้งในสถานศกึ ษาและต่อสาธารณชน o ครขู าดการมีมนุษยสมั พันธท์ ่ีดีต่อเพ่ือนรว่ มงาน การทำงานเปน็ ทีม o ครขู าดทักษะการใช้ภาษาตา่ งประเทศในการส่ือสาร และการนำมาประยุกตใ์ ช้ในชั้นเรยี น o ครูไม่มคี ณุ วุฒิ ความรู้ ทักษะในการจดั การเรียนการสอน ตามหนา้ ทที่ ่ีได้รับมอบหมาย o ครูขาดการใชว้ ธิ กี ารประเมนิ ผลทีห่ ลากหลาย เป็นรายบคุ คล และบนั ทกึ ผล ติดตามผู้เรยี นอย่างต่อเนื่อง o ครูขาดความซื่อสตั ยส์ ุจรติ ต่ออาชพี และหน้าที่การงาน

62 แนวทางการพฒั นาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 1. ครผู สู้ อนได้รับการพฒั นารปู แบบการเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิควิธี และนวตั กรรมที่หลากหลาย 2. ปรบั สภาพแวดล้อมเพ่มิ ความหลากหลายในการเรียนรู้ 3. ส่งเสรมิ การนิเทศและตดิ ตามการจดั การเรยี นการสอนของครู 4. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถเทคนิคและทกั ษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน - สง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สารและการคิดคำนวณ ในแต่ละระดบั ช้นั ให้สูงกวา่ เป้าหมายทกี่ ำหนด - สง่ เสริมพัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเช่ียวชาญทางดา้ นวิชาชพี ตรงตามความต้องการของครู สถานศึกษา และจัดใหม้ ชี มุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี เพ่อื พัฒนางาน - สง่ เสริมและสนับสนนุ ให้บุคลากรใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แหลง่ เรยี นรู้ รวมทัง้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ เอ้ือต่อการเรยี นรู้ โดยสร้างโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี น เชงิ บวก และเรียนรรู้ ่วมกันอย่างมคี วามสขุ ความต้องการชว่ ยเหลือ ระดับปฐมวัย - การพัฒนาเด็ก/ดูแลเอาใจใส่เด็กที่พัฒนาการช้ากว่าผู้อื่นให้ครูเข้ารับการอบรม/ศึกษา/ดูงาน/เข้าถึง ขา่ วสาร งานด้านวชิ าการอยา่ งตอ่ เน่ืองการสนบั สนนุ งบประมาณการสร้างห้องปฏิบัติการ ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ตอ้ งการการนิเทศ กำกับ ติดตามจากหน่วยงานตน้ สงั กดั ในเร่ืองการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา(ถา้ ม)ี ความโดดเด่น หมายถึง การดำเนินงานของสถานศกึ ษาที่ส่งเสริมสถานศกึ ษาเป็นต้นแบบในการพัฒนาการจดั การศึกษาด้านต่างๆ เร่งรัดคุณภาพสถานศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษาท่ีมีสมรรถนะสูงและพร้อมสำหรบั การแข่งขันระดับ สากลในอนาคต การพิจารณาความโดดเด่นให้พจิ ารณาจากสดั ส่วน ร้อยละ เมื่อเทียบกับเด็กท้ังหมดของปริมาณผลงานที่เป็นท่ี ยอมรับในวงวิชาการระดับท้องถิ่น ระดบั ภมู ิภาค ระดับชาติหรือระดับนานาชาติอยา่ งตอ่ เนื่อง (ทั้งนี้ กรณีที่ไดร้ ับรางวลั ให้ระบุข้อค้นพบที่แสดงถึงการบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการของสถานศึกษา หน่วยงานที่มอบรางวัล และระบุปีท่ี ได้รับ รางวัลโดยต้องไม่เกิน 2 ปี ย้อนหลัง)

63 ระดับการศกึ ษา ไดร้ ับการยอมรบั เปน็ ต้นแบบระดับ ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา นานาชาติ ชาติ ท้องถ่ิน/ภมู ภิ าค (C 3) (C 2) (C 1) 1. ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ✓ 2. 3. 4. กระบวนการพัฒนาความโดดเด่นของสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. ..............................................

64 ภาคผนวก ** โรงเรยี นเตรียมไฟล์ .pdf (เทา่ นนั้ ) เพื่อนำเขา้ ในระบบ E-SAR 1. ประกาศโรงเรยี น เรอื่ ง การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาและคา่ เป้าหมายความสำเรจ็ ของโรงเรยี น ระดบั ปฐมวัย และระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 2. รายงานการประชมุ หรือการให้ความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น 3. คำสั่งแต่งต้ังคณะทำงานจัดทำ SAR 4. หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ งหรือสาธารณชนรับทราบ 5. แผนผังอาคารสถานท่ี 6. โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียน 7. โครงสรา้ งหลักสตู ร เวลาเรยี น ของโรงเรยี น 8. เอกสารเพิ่มเติมอน่ื ๆ ที่โรงเรียนตอ้ งการแนบประกอบ

65 1. ประกาศโรงเรยี น เร่อื ง การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาและคา่ เป้าหมายความสำเร็จของโรงเรยี น ระดับปฐมวัย และระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

66 2. รายงานการประชมุ หรือการใหค้ วามเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น เรือ่ ง เห็นชอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปี 2565 ระดบั การศึกษาปฐมวยั และระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ............................................................................................................................. .................................. โรงเรยี นเซนต์ยอแซฟสกลนคร ไดจ้ ัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report: SAR) ประจำปี 2565 ระดับการศกึ ษาปฐมวัยและระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานประจำปี การศึกษา 2565 เปน็ ทีเ่ รยี บรอ้ ยแลว้ จงึ นำเสนอตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นพจิ ารณาอนุมตั กิ ่อนเผยแพร่ แกผ่ ทู้ ่เี กย่ี วข้อง เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน พัฒนาคณุ ภาพบคุ ลากร พัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการใหม้ ีมาตรฐานที่ดียงิ่ ขึ้นต่อไป ไดล้ งลายมือชอื่ รับรองเหน็ ชอบ ดังนี้ เหน็ ชอบ ๑. นายเด่น ชว่ ยสขุ ประธานกรรมการ .......................................... .......................................... 2. นายวโิ รจน์ โพธิส์ ว่าง กรรมการ .......................................... .......................................... 3. นายนิทศั น์ เสมอพทิ ักษ์ กรรมการ .......................................... ......................................... 4. นายประจวบ บรรจงศลิ ป์ กรรมการ .......................................... .......................................... 5. นางวรี วรรรณ แพนลิน้ ฟ้า กรรมการ 6. นางจิญาภทั ร หงษส์ งิ ห์ กรรมการ ๗. นางสาวกรรณกิ าร์ ทองวงศษ์ า กรรมการและเลขานุการ ๘. นางลดั ดาวลั ย์ จันลาวงศ์ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

67 3. คำสัง่ แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำ SAR คำสั่งโรงเรียนเซนต์ยอแซฟสกลนคร ที่ ..๑๙../๒๕๖๕ เรื่อง แต่งต้งั คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา และจดั ทำรายงานประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ .............................................. ตามทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ าร ไดอ้ อกกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยไดร้ ะบุ ข้อ ๓ ใหส้ ถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาให้ เปน็ ไปตาม มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกำหนด พร้อมทัง้ จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทมี่ ุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาและดำเนินการ ตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาทีก่ ำหนดไว้ จัดให้มีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน สถานศึกษา ตดิ ตามผล การดำเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และจัดทำ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) นำเสนอผลการประเมนิ ตนเองต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานให้ความเหน็ ชอบ และจดั ส่งรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน ที่ กำกับดูแลสถานศึกษาเปน็ ประจำทุกปี ดงั นนั้ เพ่ือใหก้ ารประเมนิ คุณภาพภายในของโรงเรยี นเซนต์ยอแซฟสกลนคร เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา และจัดทำรายงานประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ ดังน้ี ๑. คณะกรรมอำนวยการ ประกอบด้วย ๑. บาทหลวงเด่น ช่วยสุข ผ้จู ดั การโรงเรียน ประธานกรรมการ ๒. ซิสเตอร์กรรณกิ าร์ ทองวงษา ผ้อู ำนวยการ รองประธาน ๓. นางจิญาภัทร หงษส์ ิงห์ หวั หน้าฝา่ ยวชิ าการ กรรมการ ๔ นางกลนิ่ สุรีย์ ไชยทองศรี หัวหน้าฝ่ายพัฒนาฯ กรรมการ ๕. นางประภาพร ศรหี ารักษา หวั หน้าฝ่ายกจิ การนักเรียน กรรมการ ๖. นางพนิดา พรมจันทึก หัวหนา้ ฝ่ายปฐมวยั กรรมการ

68 ๗. นางลัดดาวัลย์ จนั ลาวงศ์ หัวหน้าฝ่ายธรุ การ-การเงิน กรรมการ ๘. นางธญั ญพฒั น์ คะโยธา หวั หนา้ ฝา่ ยบริหารงานทัว่ ไป กรรมการ ๙. นางสาวทัศพร ดา้ งถางคำ ครู กรรมการ ๑๐. นางจรยิ า แกว้ เวียงเดช ครู กรรมการ ๑๑.นางสาวเยาวเรศ ยมบญุ งานประกันคุณภาพการศกึ ษา กรรมการ ๑๒. นางศริ พิ ร ศิริพันธ์ งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กรรมการ ๑๓. นางวราภรณ์ สาโยธา งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กรรมการและเลขานกุ าร ๑๔. นางสาวปวีณา มลู ทองสขุ ครู กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร หนา้ ที่ วางแผนกำหนดกลยทุ ธใ์ นการบรหิ ารงาน ประสานงาน และใหค้ ำปรึกษา เพ่ือให้การดำเนนิ การ เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยกำกบั ดูแลให้งานสำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี ๒. คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย ประกอบด้วย ๒.๑ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพเดก็ ๑. นางสาวรัชนี หุนติราช ประธานกรรมการ ๒. นางสาวพรพมิ ล อุ่มจันสา กรรมการ ๓. นางสาวปวีณา มุลทองสุข กรรมการและเลขานุการ ๒.๒ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการ ๑. นางสาวปวณี า มลุ ทองสขุ ประธานกรรมการ ๒. นางสาวภัทราพร เครอื จำปา กรรมการ ๓. นางสาวมูลนธิ ิ กิตศิ รีวรพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ ๒.๓ มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ ๑. นางพนิดา พรมจนั ทึก ประธานกรรมการ ๒. นางสาววารุณี คำสงค์ กรรมการ ๓. นางสาวเยาวเรศ ยมบุญ กรรมการและเลขานุการ มีหนา้ ที่ เกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการสงั เกต สัมภาษณ์ ศกึ ษาเอกสารหลกั ฐานขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ และลงข้อสรุปเพื่อ ตดั สินผลการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั สง่ ข้อมูลหลกั ฐานทีฝ่ ่ายพฒั นาคุณภาพ การศึกษาและบคุ ลากร ภายในวนั ท่ี 27 มนี าคม พ.ศ. 2566 ๓. คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน 1.1ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น ประเดน็

69 ๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ แกป้ ัญหา ๓) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร ๕) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ๖) มีความรู้ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติท่ดี ีตอ่ งานอาชีพ ประธานกรรมการ ๑. นางจญิ าภทั ร หงสส์ ิงห์ ๒. นางวรกญั ญา วงศ์สีดา กรรมการ ๓. นางประภัสสร ไชยสนุ นั ท์ กรรมการ ๔. นางพไิ ลพร โทนแกว้ กรรมการ ๕. นางสาวพรทิพย์ สารศิ รี กรรมการ ๖. นายแปง หมนุ ทอง กรรมการ ๗. นางนอ้ งพรรณ วงค์กนุ า กรรมการ ๘. นายเดน่ ดนัย ชัยหม่ืน กรรมการ ๙. นางนนท์วภิ า อ่อนศรที า กรรมการ ๑๐. นางสาวนภัสสร สีหาบุตร กรรมการ ๑๑. นายสิทธ์ชิ ัย ตะสายวา กรรมการ ๑๒. นางสาวอนิ ทอุ ร อม่ิ อาดูร กรรมการและเลขานุการ 1.2 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน ประเดน็ ๑) การมคี ุณลักษณะและค่านยิ มที่ดีตามทสี่ ถานศึกษากำหนด ๒) ความภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ๓) การยอมรับที่จะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ๑. นางประภาพร ศรหี ารกั ษา ประธานกรรมการ ๒. นายวฒุ ินนั ต์ สาโยธา กรรมการ ๓. นางสาวพรทิพย์ กายราช กรรมการ ๔. นางจรี ะนนั ท์ สร้อยปลวิ กรรมการ ๕. นางนิรสุดา กายราช กรรมการ ๖. นางประภาพร มูลศรี กรรมการ ๗. นางสริ ิวภา วัชรภญิ โญ กรรมการ

70 ๘. นางสาวริษา มาลาทอง กรรมการ กรรมการ ๙. นายกิตติศกั ดิ์ กันเสนา กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๑๐. นางกิตติพร วัยเหนิดลือ้ ประธานกรรมการ ๑๑. นายสุระศกั ดิ์ เชียรพลแสน ประธานกรรมการ กรรมการ ประเด็น กรรมการและเลขานุการ ๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม ๑. นางธัญญพฒั น์ คะโยธา ๒. นางพรกมล แสนมุงคณุ ๓. นางปทั มาวดี ลอนสครฟั ท์ ๔. นางสาวหงษ์ทอง อทุ าลุน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ประเดน็ 1) มีเป้าหมายวิสยั ทัศน์และพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ๑. นางกลิ่นสุรยี ์ ไชยทองศรี ประธานกรรมการ ๒.นางสาวทัศพร ด้างถางคำ กรรมการ ๓. นางวราภรณ์ สาโยธา กรรมการ ๔. นายธชาภทั ร รัตนอาษา กรรมการ ๕. นางศริ พิ ร ศริ ิพันธ์ กรรมการและเลขานุการ ๒) มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ๑. นางกลน่ิ สรุ ยี ์ ไชยทองศรี ประธานกรรมการ ๒. นางลัดดาวลั ย์ จนั ลาวงศ์ กรรมการ ๓. นางจริยา แกว้ เวยี งเดช กรรมการ ๔. นางสาวกนกอร พาขอบ กรรมการ ๕. นางสาวภชั รนิ ทร์ นนทภ์ ายวนั กรรมการ ๖. นายปรีชาณฏั ฐ์ วยั เหนดิ ลือ้ กรรมการ ๗. นายวุฒนิ ันต์ สาโยธา กรรมการ ๘. นางสาวทศั พร ด้างถางคำ กรรมการและเลขานุการ 3) ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ๑. นางจิญาภทั ร หงสส์ ิงห์ ประธานกรรมการ

71 ๒. นายเด่นดนยั ชยั หม่ืน กรรมการ ๓. นางวรกญั ญา วงศ์สดี า กรรมการ ๔. นางประภัสสร ไชยสุนนั ท์ กรรมการ ๕. นางพิไลพร โทนแก้ว กรรมการ ๖. นางสาวพรทพิ ย์ สารศิ รี กรรมการ ๗. นายแปง หมนุ ทอง กรรมการ ๘. นางนอ้ งพรรณ วงคก์ นุ า กรรมการ ๙. นางสาวอินทุอร อม่ิ อาดูร กรรมการและเลขานุการ ๔) พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ๑. นางกล่ินสรุ ยี ์ ไชยทองศรี ประธานกรรมการ ๒. นางศริ พิ ร ศิริพันธ์ กรรมการ ๓. นางวราภรณ์ สาโยธา กรรมการ ๔. นายธชาภทั ร รัตนอาษา กรรมการ ๕. นางสาวทัศพร ดา้ งถางคำ กรรมการ ๖. นางสาวเกษรินทร์ จกั รเครอื กรรมการ ๗. นาสาวศิรริ ัตน์ ศรบี ญุ กรรมการและเลขานุการ 5) จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อือ้ ตอ่ การจัดการเรียนรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ ๑. นางธญั ญพัฒน์ คะโยธา ประธานกรรมการ ๒. นายสวุ ทิ ย์ บษุ บา กรรมการ ๓. นายสมศักดิ์ อปุ พงษ์ กรรมการ ๔. นายอภสิ ทิ ธิ์ ปยิ จติ รไพรัช กรรมการ ๕. นายปรชี า ดาวฤทธ์ิ กรรมการและเลขานุการ 6) จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ๑. นางธัญญพัฒน์ คะโยธา ประธานกรรมการ ๒. นายเจนณรงค์ เหล่าบญุ มา กรรมการ ๓. นางสาวสริ กิ รานต์ สอนปญั ญา กรรมการและเลขานุการ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ประเด็น ๑) จดั การเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ๑. นางจิญาภัทร หงสส์ ิงห์ ประธานกรรมการ ๒. นางนนท์วิภา ออ่ นศรที า กรรมการ

72 ๓. นางสาววรวี โพธแิ์ ขง็ กรรมการและเลขานุการ ๒) ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ ๑. นางธัญญพฒั น์ คะโยธา ประธานกรรมการ ๒. นายปรชี า ดาวฤทธ์ิ กรรมการ ๓. นางสาวสริ กิ รานต์ สอนปญั ญา กรรมการและเลขานุการ ๓) มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก ๑. นางจญิ าภัทร หงสส์ งิ ห์ ประธานกรรมการ ๒. นางดวงนภา ภารัตนวงศ์ กรรมการ ๓. นางประภสั สร ไชยสนุ ันท์ กรรมการและเลขานุการ ๔) ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผ้เู รียน ๑. นางจิญาภัทร หงสส์ งิ ห์ ประธานกรรมการ ๒. นายจกั รกฤษณ์ ทองล้ำ กรรมการ ๓. นางสาววรกาต์ จนั ทราสา กรรมการ ๓. นางสาวศภุ รดา ธรรมขนั ธ์ กรรมการและเลขานุการ ๕) มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ ๑. นางกลิ่นสุรีย์ ไชยทองศรี ประธานกรรมการ ๒. นางสาวทัศพร ดา้ งถางคำ กรรมการ ๓. นางสาวนภิ ากรณ์ เสารม์ นตรี กรรมการ ๔. นายธชาภัทร รตั นอาษา กรรมการ ๕. นางสาวเกษรินทร์ จักรเครือ กรรมการและเลขานุการ มหี นา้ ท่ี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต สัมภาษณ์ ศึกษาเอกสารหลกั ฐานขอ้ มลู เชงิ ประจักษ์ และลงข้อสรุปเพ่ือ ตัดสินผลการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั ขน้ั พนื้ ฐาน สง่ ขอ้ มูลหลกั ฐานที่ฝ่ายพฒั นา คุณภาพการศึกษาและบุคลากร ภายในวันท่ี 27 มีนาคม พ.ศ. 2566 ๔. คณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง(Self Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๑. นางกลน่ิ สรุ ีย์ ไชยทองศรี ประธานกรรมการ ๒. นางศิริพร ศริ พิ นั ธ์ กรรมการ ๓. นางจิญาภัทร หงษส์ งิ ห์ กรรมการ ๔. นางประภาพร ศรีหารกั ษา กรรมการ ๕. นางพนิดา พรมจนั ทึก กรรมการ ๖. นางลดั ดาวลั ย์ จนั ลาวงศ์ กรรมการ

73 ๗. นางธญั ญพัฒน์ คะโยธา กรรมการ ๘. นางสาวทศั พร ดา้ งถางคำ กรรมการ ๙. นางสาวปวณี า มลู ทองสุข กรรมการ ๑๐. นางวราภรณ์ สาโยธา กรรมการและเลขานุการ มหี นา้ ท่ี ๑. รวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศจากการดำเนนิ งานประจำ ออกแบบการนำเสนอข้อมลู สารสนเทศ วเิ คราะห์ และแปลผล ๒. จดั ทำรายงานการประเมินตนเองประจำปีประกอบดว้ ย ขอ้ มูลพื้นฐาน การ พฒั นาการจัดการศึกษา ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ผลการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา สรุปผลการ พฒั นาและการนำไปใช้ รวมถงึ จดั ทำภาคผนวก ๓. นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น พจิ ารณาใหค้ วาม เห็นชอบ ๔. รายงานผลการประเมินต่อหน่วยงานต้นสงั กดั และเปิดเผยต่อสาธารณะ ทัง้ น้ี ใหค้ ณะกรรมการท่ีได้รบั การแต่งตงั้ ดำเนินการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐาน การศกึ ษาที่ได้รับมอบหมาย พร้อมสรปุ รายงานผล การประเมินตนเองรายมาตรฐานไปยงั หัวหน้างานประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา ภายในวันที่ ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เพ่ือจดั ทำรายงานการประเมิน ตนเองให้แล้วเสรจ็ ตามวัตถุประสงค์ และเกดิ ประโยชน์ สูงสดุ แก่ทางราชการตอ่ ไป ทง้ั นี้ ต้ังแต่ วนั ท่ี ๑๓ มนี าคม ๒๕๖๖ เป็นต้นไป สง่ั ณ วันที่ ๑๓ มนี าคม ๒๕๖๖ (ซสิ เตอร์กรรณิการ์ ทองวงศษ์ า) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นเซนตย์ อแซฟสกลนคร

74 4. หลักฐานการเผยแพร่ SAR ใหผ้ ้มู สี ่วนเกยี่ วขอ้ งหรือสาธารณชนรบั ทราบ

75

76

77

78 5. แผนผงั อาคารสถานที่

79 6. โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี น

80 7. โครงสรา้ งหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา โครงสร้างเวลาเรยี น หลักสตู รโรงเรียนเซนตย์ อแซฟสกลนคร กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนระดับประถมศึกษา ดงั น้ี ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1-6 กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ปี) ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 200 200 200 160 160 160 1. ภาษาไทย 160 160 160 160 160 160 2. คณติ ศาสตร์ 120 120 120 120 120 120 3. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (120) (120) (120) (120) (120) (120) 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม 80 80 80 80 80 80 - หนา้ ทพี่ ลเมอื งวัฒนธรรมและการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม - เศรษฐศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 - ประวัติศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40 6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40 8. ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 120 120 120 160 160 160 รวมเวลาเรยี นพน้ื ฐาน 880 880 880 880 880 880 รายวชิ า/กิจกรรมที่จดั เพม่ิ เตมิ 1. หน้าทีพ่ ลเมอื ง 40 40 40 40 40 40 2. ภาษาองั กฤษสื่อสาร 80 80 80 80 80 80 3. ภาษาจนี สือ่ สาร 80 80 80 ๘0 ๘0 ๘0 4. ดนตรี 40 40 40 40 40 40 5. ดนตรสี ากล 40 40 40 40 40 40 6. นาฎศิลป์ - - - 40 40 40 7. คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 40 40 40 - - - 8. วทิ ยาศาสตรเ์ สริม - - - 40 40 40 9.ภาษาไทยเสรมิ ทกั ษะ . 40 40 40 - -- รวมเวลาเรยี นรายวิชา/กิจกรรมทจี่ ัดเพิม่ เตมิ 360 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (120) (120) (120) (120) (120) (120) 1. กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 2. กิจกรรมนักเรียน - กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 - กจิ กรรมชุมนุม 30 30 30 30 30 30 3. กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10 รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 120 รวมเวลาเรียนตามโครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษา 1,360 ชั่วโมง

81 โครงสรา้ งเวลาเรียน Intensive English Program ( IEP )ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น (ชว่ั โมง/ป)ี ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 2. คณติ ศาสตร์ 160 160 160 160 160 160 3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 120 120 120 120 120 4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (120) (120) (120) (120) (120) (120) - ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม - หน้าท่ีพลเมอื งวัฒนธรรมและการดำเนินชวี ติ ในสงั คม 80 80 80 80 80 80 - เศรษฐศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ - หน้าทพ่ี ลเมอื ง 40 40 40 40 40 40 - ประวัติศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40 6. ศลิ ปะ 40 40 40 40 40 40 120 120 120 160 160 160 7. การงานอาชีพ 880 880 880 880 880 880 8. ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ รวมเวลาเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ รายวชิ า/กจิ กรรมท่จี ดั เพิ่มเติม 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 1. คณติ ศาสตร์( IEP) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ 2. วทิ ยาศาสตร์ (IEP) 40 ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 3. ภาษาองั กฤษ( IEP) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4. ภาษาจีนสอ่ื สาร 5. ดนตรี 6. ดนตรีสากล รวมเวลาเรยี นรายวชิ า/กิจกรรมทจ่ี ดั เพ่มิ เติม 400 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (120) (120) (120) (120) (120) (120) 1. กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 2. กิจกรรมนักเรยี น - กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 - กจิ กรรมชุมนุม 30 30 30 30 30 30 3. กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10 รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 120 รวมเวลาเรยี นตามโครงสรา้ งหลักสตู สถานศึกษา 1,400 ช่ัวโมง

82 โครงสร้างเวลาเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรโรงเรียนเซนต์ยอแซฟสกลนคร กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ดังน้ี กลมุ่ สาระการเรียนร้/ู กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง/ปี) ม.1 ม.2 ม.3 ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณติ ศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สงั คมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) ประวตั ศิ าสตร์ 40 (1 นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชพี 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รวมเวลาเรยี นพ้นื ฐาน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) รายวชิ าเพ่มิ เตมิ 360 ( 9 นก.) 360 ( 9 นก.) 360 ( 9 นก.) หนา้ ทพ่ี ลเมือง 40 40 40 ดนตรสี ากล 40 40 40 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 40 40 40 นาฏศิลป์ 40 40 40 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 80 80 80 ภาษาจีนสอ่ื สาร 80 80 80 ไอที 40 40 40 (120) (120) (120) กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 กิจกรรมนักเรยี น - กจิ กรรมลกู เสือ/เนตรนารี 40 40 40 - กิจกรรมชุมนุม 30 30 30 กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 1,360 ชว่ั โมง

83 โครงสร้างเวลาเรียน Intensive English Program ( IEP ) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรยี นร้/ู กจิ กรรม ม.1 เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ป)ี ม.3 120 (3 นก.) ม.2 120 (3 นก.) ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณติ ศาสตร์ 160 (4 นก.) 120 (3 นก.) 160 (4 นก.) วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) สงั คมศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม 40 (1นก.) 160 (4 นก.) 40 (1นก.) ประวัตศิ าสตร์ 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 40 (1นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชพี 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) 880 (22 นก.) 40 (1 นก.) 880 (22 นก.) รวมเวลาเรยี นพ้นื ฐาน 400 ( 9 นก.) 120 (3 นก.) 400 ( 9 นก.) 880 (22 นก.) รายวชิ าเพม่ิ เติม 80 400 ( 9 นก.) 80 คณติ ศาสตร์ ( IEP ) 80 80 วทิ ยาศาสตร์ ( IEP ) 80 80 80 ภาษาองั กฤษ ( IEP ) 80 80 80 ภาษาจนี ส่ือสาร 40 80 40 ดนตรสี ากล 40 80 40 คณติ ศาสตร์เพิ่มเตมิ (120) 40 (120) 40 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 40 (120) 40 กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น 40 - กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี 40 40 40 - กิจกรรมชุมนุม 30 30 30 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 รวมเวลาเรยี นท้งั หมด 1,400 ชว่ั โมง

84 โครงสรา้ งเวลาเรยี นโรงเรียนเซนตย์ อแซฟสกลนคร ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 (ภาคเรียนที่ 1) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 (ภาคเรยี นที่ 2) รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา / กิจกรรม เวลาเรยี น (นก. / ชม.) ( นก. / ชม.) รายวิชาพน้ื ฐาน 11 (440) รายวิชาพืน้ ฐาน 11 (440) ท 21101 ภาษาไทย 1 1.5 (60) ท 21102 ภาษาไทย 2 1.5 (60) ค 21101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 1.5 (60 ) ค 21102 คณิตศาสตร์พ้นื ฐาน 2 1.5 (60) ว 21101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 1.5 (60) ว 21102 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี2 1.5 (60) ส 21101 สงั คมศกึ ษา 1 1.5 (60) ส 21103 สังคมศกึ ษา2 1.5 (60) ส 21102 ประวัติศาสตร์ 2 0.5 (20) ส 21104 ประวตั ศิ าสตร์ 2 0.5 (20) พ 21101 สขุ ศกึ ษา 1 0.5 (20) พ 21103 สขุ ศกึ ษา 2 0.5 (20) พ 21102 พลศกึ ษา 1 0.5 (20) พ 21104 พลศกึ ษา 2 0.5 (20) ศ 21101 ทศั นศลิ ป์ 1 0.5 (20) ศ 21103 ทศั นศิลป์ 2 0.5 (20) ศ 21102 ดนตรี 1 0.5 (20) ศ 21104 ดนตรี 2 0.5 (20) ง 21101 การงานอาชพี 1 0.5 (20) ง 21102 การงานอาชีพ 2 0.5 (20) ว 21103 วิทยาการคำนวณ 1 0.5 (20) ว 21104 วิทยาการคำนวณ 2 0.5 (20) อ 21101 ภาษาอังกฤษ 1 1.5 (60) อ 21102 ภาษาอังกฤษ 2 1.5 (60) รายวิชาเพ่มิ เติม 5.0 (180) รายวิชาเพมิ่ เติม 5.0 (180) ส 21203 หน้าทพี่ ลเมือง 0.5 (20) ส 21204 หนา้ ทพี่ ลเมือง 0.5 (20) ค 21201 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ 0.5 (20) ค 21202 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 0.5 (20) ศ 21201 นาฏศิลป์ 0.5 (20) ศ 21202 นาฏศลิ ป์ 0.5 (20) ศ 21203 ดนตรีสากล 0.5 (20) ศ 21204 ดนตรีสากล 0.5 (20) อ 21201 ภาษาองั กฤษส่ือสาร 1.0 (40) อ 21202 ภาษาองั กฤษสื่อสาร 1.0 (40) จ 21201 ภาษาจนี สือ่ สาร 1.0 (40) จ 21202 ภาษาจนี สือ่ สาร 1.0 (40) ว 21205 ไอที 0.5 (20) ว 21206 ไอที 0.5 (20) กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (60) (60) • กิจกรรมแนะแนว (20) • กิจกรรมแนะแนว (20) • กจิ กรรมนักเรียน • กิจกรรมนกั เรยี น ลูกเสอื /เนตรนารี (20) ลกู เสือ/เนตรนารี (20) ชุมนมุ (15) ชมุ นุม (15) • กิจกรรมเพือ่ สังคมและ (5) • กจิ กรรมเพ่อื สังคมและ (5) สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 680 รวมเวลาเรยี นทงั้ สน้ิ 680


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook