แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย นางสาวชลธิชา ศรีมลู เขยี ว ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ จดั ทาโดย นางสาวชลธิชา ศรมี ูลเขยี ว เลขที่ ๖ เสนอ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พชั รีภรณ์ บางเขยี ว แผนการจัดการเรยี นรู้เล่มนีเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของรายวิชาการจดั การเรยี นรู้และการจดั การช้นั เรยี น รหสั วิชา ๑๑๐๐๓๐๑ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา
คานา แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็น แนวทางในการจัดการเรยี นการสอน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยเน้ือหาสาระดังต่อไปนี้ แผนการจัดการเรียนรู้รายปีซึ่ง ประกอบด้วยมาตรฐานและตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย แผนการจัดการเรียนรู้รายคาบ ท้ังหมด ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยเก็บมาเล่า เอามาคุย เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม และภาษามีพลัง ซึ่งแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ได้ระบุมาตรฐาน ตัวช้ีวัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย อันได้แก่ รูปแบบการ เรียนรู้แบบแฮร์บาร์ต รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ รูปแบบการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ๕E และ รูปแบบการเรียนรู้แบบ SQ4R ซึ่งแต่ละรูปแบบมีวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีแตกต่างกัน แต่ท้งั หมดนามาซ่ึงการบรรลจุ ดุ ประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนย้ี ังมใี บงานและเกณฑ์การประเมินผลเพื่อใช้ ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนว่าหลังจากเสร็จส้ินการเรียน นักเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเนื้อหาสาระมากน้อยเพยี งใด ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ หรอื ไม่ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรีภรณ์ บางเขียว เป็นอย่างย่ิงที่ให้คาปรึกษา และคาแนะนาตลอดระยะเวลาการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการ เรียนรเู้ ล่มนเี้ ป็นประโยชน์กบั การจดั การเรยี นรใู้ นหอ้ งเรียน ทาให้ผเู้ รยี นสามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพตอ่ ไป นางสาวชลธิชา ศรมี ูลเขียว ผ้จู ัดทา
สารบัญ หนา้ ๑ เรื่อง ๑๑ แผนการจดั การเรียนรรู้ ายปี 15 ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า 35 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑เกบ็ มาเล่าเอามาคุย 36 37 ใบงานท่ี ๑ 38 ใบงานท2่ี 39 ใบงานท3่ี 40 ใบงานท4่ี 41 ใบงานท5่ี 42 ใบงานท6่ี 43 ใบงานท7ี่ 44 ใบงานท8ี่ ๔5 ใบงานท9ี่ ๕6 ใบงานท1่ี 0 ๕๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เข้าเมอื งตาหล่ิว ตอ้ งหล่ิวตาตาม ๕๘ ใบงานที่ ๑ ๕๙ ใบงานที่ ๒ ๗๐ ใบงานที่ ๓ ๗๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๓ ภาษามีพลัง ๗๒ ใบงานท่ี ๑ ๗๕ ใบงานที่ ๒ ใบงานที่ ๓ ใบงานที่ ๔
1 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง ผสู้ อน นางสาวชลธชิ า ศรีมูลเขยี ว 1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ญั หาในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รกั การอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความร้สู ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่าและนามาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาใน การดาเนินชวี ติ และมีนสิ ัยรกั การอ่าน ท1.1 ม.1/1 อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกบั เรื่องทีอ่ ่าน ท1.1 ม.1/2 จับใจความสาคัญจากเรื่องท่ีอ่าน ท1.1 ม.1/3 ระบุเหตแุ ละผล และข้อเทจ็ จริงกบั ขอ้ คดิ เห็นจากเรือ่ งท่ีอา่ น ท1.1 ม.1/4 ระบแุ ละอธิบายคาเปรียบเทยี บและคาที่มีหลายความหมายในบรบิ ทตา่ งๆ จากการอ่าน ท1.1 ม.1/5 ตีความคายากในเอกสารวชิ าการ โดยพจิ ารณาจากบรบิ ท ท1.1 ม.1/6 ระบุข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ ท1.1 ม.1/7 ปฏิบัตติ ามค่มู ือแนะนาวธิ ีการใช้งานของเครอ่ื งมือหรือเครื่องใชใ้ นระดบั ทย่ี ากขน้ึ ท1.1 ม.1/8 วิเคราะห์คณุ คา่ ทไ่ี ด้รับจากการอ่านงานเขียนอยา่ งหลากหลายเพื่อนาไปใช้ แกป้ ัญหาในชวี ิต
2 ท1.1 ม.1/9 มีมารยาทในการอา่ น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษ าค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพ ท๒.๑ ม.1/1 คัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัด ท๒.๑ ม.1/2 เขยี นสอื่ สารโดยใชถ้ อ้ ยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย ท๒.๑ ม.1/3 เขียนบรรยายประสบการณโ์ ดยระบสุ าระสาคญั และรายละเอียดสนับสนุน ท๒.๑ ม.1/4 เขียนเรยี งความ ท๒.๑ ม.1/5 เขยี นย่อความจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน ท๒.๑ ม.1/6 เขยี นแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั สาระจากสื่อที่ได้รบั ท๒.๑ ม.1/7 เขียนจดหมายส่วนตวั และจดหมายกิจธุระ ท๒.๑ ม.1/8 เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นคว้าและโครงงาน ท๒.๑ ม.1/9 มมี ารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ ท3.๑ ม.1/1 พดู สรุปใจความสาคัญของเร่อื งทฟี่ ังและดู ท3.๑ ม.1/2 เลา่ เรื่องยอ่ จากเรือ่ งที่ฟงั และดู ท3.๑ ม.1/3 พูดแสดงความคดิ เห็นอย่างสรา้ งสรรค์เก่ียวกับเรอื่ งทีฟ่ งั และดู ท3.๑ ม.1/4 ประเมินความน่าเชอื่ ถอื ของสอื่ ท่ีมเี นอื้ หาโน้มน้าวใจ ท3.๑ ม.1/5 พดู รายงานเรอ่ื งหรือประเดน็ ที่ศึกษาคน้ คว้าจากการฟงั การดู และการสนทนา ท3.๑ ม.1/6 มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ท4.๑ ม.1/1 อธบิ ายลักษณะของเสียงในภาษาไทย ท4.๑ ม.1/2 สร้างคาในภาษาไทย ท4.๑ ม.1/3 วิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ที่ของคาในประโยค ท4.๑ ม.1/4 วิเคราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน ท4.๑ ม.1/5 แต่งบทร้อยกรอง ท4.๑ ม.1/6 จาแนกและใชส้ านวนท่ีเปน็ คาพังเพยและสภุ าษติ
3 มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ท5.๑ ม.1/1 สรุปเนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่าน ท5.๑ ม.1/2 วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ า่ นพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ ท5.๑ ม.1/3 อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น ท5.๑ ม.1/4 สรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากการอ่านเพื่อประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง ท5.๑ ม.1/5 ทอ่ งจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ ๒.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ ความรู้ (K) ๑. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมกบั เรอ่ื งท่อี า่ น (K) ๒. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมกับเรื่องทอ่ี ่าน (K) 3. นักเรยี นสามารถสรปุ การอา่ นจับใจความสาคญั จากเร่ืองทีอ่ า่ นได้ (K) 4. นักเรยี นสามารถระบเุ หตุและผลจากเรอ่ื งทอ่ี า่ นได้ (K) 5. นกั เรียนสามารถบอกขอ้ เท็จจริงกับขอ้ คดิ เหน็ จากเร่ืองที่อา่ นได้ (K) 6. นกั เรยี นสามารถระบุและอธบิ ายคาเปรยี บเทียบและคาท่ีมีหลายความหมายในบริบท ตา่ ง ๆ จากการอ่านได้ (K) 7. นักเรียนสามารถตีความคายากในเอกสารวชิ าการโดยพจิ ารณาจากบรบิ ทได้ (K) 8. นักเรียนสามารถระบุข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูง โนม้ น้าวใจได้ (K) 9. นักเรียนสามารถบอกหลักการการปฏิบัติตามคู่มือแนะนาวิธีการใช้งานของเคร่ืองมือ หรอื เครอื่ งใช้ในระดับที่ยากข้นึ ได้ (K) 10. นกั เรยี นสามารถวเิ คราะหค์ ุณคา่ ทไ่ี ด้รับจากการอา่ นงานเขียนอย่างหลากหลายเพ่ือ นาไปใช้แก้ปญั หาในชวี ิตได้ (K) 11. นักเรยี นบอกมารยาทในการอ่านได้ (K) 12. นกั เรียนสามารถอธบิ ายหลักการคดั ลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทดั ได้ (K) 13. นักเรียนสามารถบอกหลักการเขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวยได้ (K) 14. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสาคัญ และรายละเอยี ดสนบั สนนุ ได้ (K) 15. นกั เรียนสามารถบอกองค์ประกอบการเขยี นเรียงความได้ (K) 16. นกั เรียนสามารถอธบิ ายหลักการเขียนยอ่ ความจากเรือ่ งทอี่ า่ นได้ (K)
4 17. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ ได้รับได้ (K) 18. นกั เรยี นสามารถอธิบายหลกั การของการเขียนจดหมายสว่ นตัวได้ (K) 19. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการของการเขียนจดหมายกิจธรุ ะได้ (K) 20. นักเรียนสามารถบอกองค์ประกอบของการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและ โครงงานได้ (K) 21. นกั เรยี นสามารถบอกมารยาทในการเขยี นได้ (K) 22. นักเรียนสามารถอธบิ ายหลักการพูดสรุปใจความสาคัญของเรอื่ งทฟ่ี ังและดูได้ (K) 23. นกั เรียนสามารถบอกวธิ เี ลา่ เรอ่ื งย่อจากเรือ่ งทฟี่ งั และดูได้ (K) 24. นักเรียนสามารถบอกหลักการการพูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับ เร่ืองท่ีฟังและดไู ด้ (K) 25. นกั เรียนสามารถประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถอื ของส่ือที่มเี นอื้ หาโนม้ นา้ วใจได้ (K) 26. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการการพูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า จากการฟงั การดู และการสนทนาได้ (K) 27. นักเรยี นสามารถบอกการมมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู ได้ (K) 28. นกั เรียนสามารถอธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทยได้ (K) 29 นกั เรียนสามารถจาแนกเสยี งสระ เสียงพยญั ชนะ เสยี งวรรณยกุ ต์ได้ (K) 30. นักเรียนสามารถอธบิ ายการสรา้ งคาในภาษาไทยได้ (K) 31. นักเรยี นสามารถบอกวธิ ีการสรา้ งคาในภาษาไทยได้ (K) 32. นักเรยี นสามารถยกตัวอย่างการสร้างคาในภาษาไทยได้ (K) 33. นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์ชนดิ ของคาในประโยคได้ (K) 34. นักเรียนสามารถวิเคราะห์หนา้ ทข่ี องคาในประโยคได้ (K) 35. นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขยี นได้ (K) 36. นกั เรียนสามารถอธบิ ายวธิ ีการแตง่ บทร้อยกรองได้ (K) ๓7. นกั เรียนสามารถบอกความหมายของสานวนท่เี ป็นคาพงั เพยและสุภาษติ ได้ (K) 38. นักเรยี นสามารถจาแนกสานวนท่ีเปน็ คาพงั เพยและสุภาษิตได้ (K) 39. นักเรยี นสามารถสรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ ่านได้ (K) 40.นักเรียนสามารถวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ ได้ (K) 41. นกั เรียนสามารถอธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ นได้ (K) 42.นกั เรยี นสามารถสรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่านเพ่ือประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ ได้ (K) 43. นักเรยี นสามารถอธิบายหลักการทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรอง ท่มี คี ณุ คา่ ตามความสนใจได้ (K)
5 ๒.๒ ทักษะ (P) 1. นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่ อา่ น (P) 2. นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับเร่ืองที่ อา่ น (P) 3. นักเรยี นสามารถตอบคาถามจากการอ่านจบั ใจความสาคัญจากเรื่องที่อา่ นได้ (P) 4. นักเรียนสามารถนาเสนอเหตุและผลจากเรื่องทีอ่ า่ นได้(P) 5. นกั เรยี นสามารถนาเสนอข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อา่ นได้ (P) นักเรียนสามารถตรวจสอบคาเปรียบเทียบและคาที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆ จากการอา่ นได(้ P) 6. นักเรียนสามารถนาเสนอการตีความคายากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจาก บริบทได้ (P) 7. นักเรยี นสามารถตรวจสอบขอ้ สังเกตและความสมเหตสุ มผลของงานเขียนประเภทชัก จูงโน้มน้าวใจได้ (P) 8. นักเรียนสามารถปฏบิ ัติตามคู่มือแนะนาวิธีการใช้งาน ของเคร่ืองมือหรือเคร่ืองใช้ใน ระดับท่ยี ากขน้ึ ได้ (P) 9. นักเรียนสามารถนาเสนอคุณค่าท่ีได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพ่ือ นาไปใช้แกป้ ัญหาในชีวิตได้ (P) 10. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตติ ามมารยาทในการอา่ นได้ (P) 11. นักเรยี นสามารถคัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัดได้ (P) 12. นักเรียนสามารถแสดงการเขียนสือ่ สารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และ สละสลวยได้ (P) 13. นักเรียนสามารถเขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสาคัญและรายละเอียด สนบั สนนุ ได้ (P) 14 .นักเรียนสามารถเขยี นเรยี งความได้ (P) 15. นักเรยี นสามารถเขียนย่อความจากเรอื่ งทอี่ า่ น (P) 16. นกั เรยี นสามารถเขยี นแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับสาระจากสื่อที่ไดร้ ับได้ (P) นักเรยี นสามารถเขียนจดหมายส่วนตัวได้ (P) 17. นักเรยี นสามารถเขียนจดหมายกจิ ธุระได้ (P) 18. นักเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและ โครงงานได้ (P) 19. นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัติตามมารยาทในการเขยี นได้ (P) 20.นกั เรียนสามารถพูดสรุปใจความสาคญั ของเร่ืองท่ฟี ังและดูได้ (P) 21. นกั เรียนสามารถเล่าเรอ่ื งย่อจากเรือ่ งท่ีฟงั และดไู ด้ (P)
6 22. นักเรียนสามารถพูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและดูได้ (P) 23. นักเรียนสามารถนาเสนอความน่าเชือ่ ถือของส่อื ทีม่ ีเนื้อหาโนม้ นา้ วใจได้ (P) 24. นักเรียนสามารถพูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนาได้ (P) 25. นกั เรยี นสามารถปฏิบัติตามมารยาทในการฟงั การดู และการพดู ได้ (P) 26. นกั เรยี นสามารถนาเสนอลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทยได้ (P) 27. นกั เรยี นสามารถนาเสนอการสรา้ งคาในภาษาไทยได้ (P) 28. นกั เรียนสามารถนาเสนอการวเิ คราะห์ชนิดของคาในประโยคได้ (P) 29. นักเรียนสามารถนาเสนอการวิเคราะหห์ น้าท่ีของคาในประโยคได้ (P) 30. นกั เรยี นสามารถนาเสนอความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียนได้ (P) 31. นักเรียนสามารถแตง่ บทรอ้ ยกรองได้ (P) 32. นกั เรยี นสามารถนาเสนอการใช้สานวนทีเ่ ปน็ คาพังเพยและสภุ าษติ ได้ (P) 33. นกั เรียนสามารถนาเสนอการสรปุ เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่านได้ (P) 34. นักเรียนสามารถนาเสนอการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยก เหตุผลประกอบได้ (P) 35. นกั เรยี นสามารถนาเสนอคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ นได้ (P) 36. นกั เรียนสามารถอภปิ รายสรปุ ความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพ่ือประยุกต์ใช้ในชีวิต จริง(P) 37. นกั เรยี นสามารถท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตาม ความสนใจได้ (P) ๓. ทศั นคติ (A) 1. นักเรียนเห็นคุณค่าของการอ่านบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองและมีนิสัยรักการอ่าน (A) 2. นักเรียนเหน็ ประโยชน์ของการอา่ นจับใจความสาคญั (A) 3. นักเรียนเห็นความสาคัญของการระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจาก เรื่องที่อา่ น (A) 4. นักเรียนเห็นความสาคัญของคาเปรียบเทียบ และคาที่มีหลายความหมายในบริบท ตา่ งๆ จากการอา่ น (A) 5. นกั เรียนเห็นความสาคัญของการตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจาก บริบท (A) 6. นักเรียนเห็นประโยชน์ของการระบุข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียน ประเภทชกั จงู โนม้ นา้ วใจ (A) 7. นักเรียนเห็นประโยชน์ของการปฏิบัติตามคู่มือแนะนาวิธีการใช้งาน ของเคร่ืองมือ หรอื เครอื่ งใชใ้ นระดบั ท่ียากขึน้ (A)
7 8. นักเรียนเห็นความสาคัญการวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่าง หลากหลายเพือ่ นาไปใชแ้ กป้ ญั หาในชีวิต (A) 9. นักเรยี นตระหนกั ถึงมารยาทในการอ่าน (A) 10. นกั เรยี นเห็นความสาคญั ของคดั ลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทดั (A) 12. นักเรียนเอาใจใส่ในการเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และ สละสลวย (A) 13. นักเรียนเห็นความสาคัญของการเขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสาคัญ และรายละเอียดสนบั สนนุ (A) 14. นักเรยี นเหน็ ประโยชนข์ องการเขยี นเรยี งความ (A) 15. นักเรยี นมคี วามตั้งใจในการเขยี นยอ่ ความจากเร่ืองท่ีอ่าน (A) 16. นักเรียนเห็นความสาคัญของการเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสาระจากส่ือท่ี ไดร้ ับ (A) 17. นักเรียนมคี วามตั้งใจในการเขียนจดหมายส่วนตวั และจดหมายกจิ ธุระ (A) 18. นักเรียนมีความตงั้ ใจในการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน (A) 19. นักเรียนตระหนกั ถึงมารยาทในการเขยี น (A) 20. นกั เรียนไดป้ ระโยชนจ์ ากการพูดสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่ฟังและดู (A) 21. นกั เรยี นมคี วามต้ังใจในการเล่าเร่ืองย่อจากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู (A) 22. นักเรียนเห็นประโยชน์จากการพูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่อง ทฟ่ี ังและดู (A) 23. นักเรียนเห็นประโยชนข์ องการประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อที่มีเน้ือหาโน้มน้าวใจ (A) 24. นกั เรยี นเหน็ ประโยชนข์ องการพดู รายงานเรือ่ งหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการ ฟงั การดู และการสนทนา (A) 25. นักเรียนตระหนกั ถึงมารยาทในการฟัง การดู และการพดู (A) 26. นกั เรียนมีความตง้ั ใจในการอธิบายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย (A) 27. นักเรียนเหน็ คุณค่าของการสรา้ งคาในภาษาไทย (A) 28 นกั เรียนเหน็ ประโยชนข์ องการวเิ คราะห์ชนดิ และหน้าที่ของคาในประโยค (A) 29.นกั เรยี นมคี วามต้งั ใจในการวเิ คราะห์ความแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขยี น (A) 30. นักเรยี นเห็นคุณค่าของการแต่งบทร้อยกรอง (A) 31. นักเรียนเห็นคุณค่าของการจาแนกและใช้สานวนที่เป็นคาพังเพยและสุภาษิต (A) 32. นักเรียนมคี วามตง้ั ใจในการสรปุ เนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ น (A) 33. นักเรียนพึงพอใจต่อการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผล ประกอบ (A) 34. นกั เรยี นเห็นคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ า่ น (A)
8 35. นักเรียนเหน็ ความสาคญั ของการสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพ่ือประยุกต์ใช้ ในชวี ิตจริง (A) 36. นักเรียนเห็นคุณค่าของการท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองท่ีมี คุณคา่ ตามความสนใจ (A) สาระสาคัญ การอ่าน หมายถึง การแปลความหมายของตัวอักษรที่อ่านออกมาเป็นความรู้ความคิดและเกิด ความเข้าใจเร่ืองราวท่ีสามารถนาสาระจากเร่ืองราวท่ีอ่านไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ การเขียน เป็นการ แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ เป็นลายลักษณ์อักษรต่อผู้ที่อ่าน การฟัง คือ การรับรู้ ความหมายจากเสียงท่ีได้ยินเป็นการรับรู้สารทางหูท้ังท่ีฟังจากบุคคลโดยตรง การดู หมายถึง การรับสาร ผ่านทางสายตา ทาให้มองเห็นภาพของส่ิงต่างๆ ไม่ว่าจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ตาม การพูด มีความสาคัญ ต่อชีวิตมนุษย์เป็นอันมากไม่ว่าจะอยู่ ณ ท่ีใด ประกอบกิจการงานใด หรือคบหาสมาคมกับผู้ใดก็ต้อง ส่ือสารด้วยการพูดเสมอ หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย วรรณกรรมไทย คือ งานเขียนทีเ่ กดิ จาก ภาษา ความคิด จนิ ตนาการ และสภาพสังคม สื่อออกมาด้วยกลวิธีต่างๆ มีท้ังร้อย แกว้ และร้อยกรองทีป่ ระพนั ธ์ขน้ึ เปน็ ภาษาไทย สาระการเรยี นรู้ 1. การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว 2. การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง 3. การอา่ นจบั ใจความสาคญั จากสื่อตา่ ง ๆ 4. การระบเุ หตุและผล และขอ้ เท็จจริงกบั ข้อคิดเหน็ จากเรื่องท่ีอา่ น 5. การระบุและอธิบายคาเปรยี บเทียบ และคาท่ีมีหลายความหมายในบรบิ ทตา่ งๆ จากการอา่ น 6. การตคี วามคายากในเอกสารวชิ าการ โดยพจิ ารณาจากบรบิ ท 7. การระบขุ อ้ สงั เกตและความสมเหตสุ มผลของงานเขยี นประเภทชกั จงู โนม้ นา้ วใจ 8. การอา่ นและปฏบิ ตั ติ ามเอกสารคู่มอื 9. การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ 10.มารยาทในการอา่ น 11.การคัดลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทัดตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย 12.การเขียนสื่อสารโดยใชถ้ ้อยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย 13.การเขียนบรรยายประสบการณโ์ ดยระบุสาระสาคัญและรายละเอยี ดสนบั สนุน 14.การเขียนเรียงความเชงิ พรรณนา 15.การเขียนยอ่ ความจากสื่อตา่ งๆ 16.การเขยี นแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับสาระจากส่อื ตา่ งๆ 17.การเขยี นจดหมายสว่ นตัวและจดหมายกิจธุระ
9 18.การเขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน 19.มารยาทในการเขยี น 20.การพูดสรปุ ความ พดู แสดงความรู้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์จากเรื่องทฟี่ งั และดู 21.การเลา่ เร่ืองยอ่ จากเรอ่ื งที่ฟังและดู 22.หลักการพูดแสดงความคิดเหน็ อยา่ งสร้างสรรคเ์ กี่ยวกับเรอ่ื งทฟี่ ังและดู 23. การพูดประเมินความนา่ เช่อื ถอื ของส่ือที่มเี นื้อหาโน้มนา้ ว 24.การพดู รายงานการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ ในชุมชน และท้องถ่ินของตน 25.มารยาทในการฟงั การดู และการพดู 26.เสยี งในภาษาไทย 27.การสร้างคาในภาษาไทย 28.ชนิดและหน้าทข่ี องคา 29.ภาษาพดู 30. ภาษาเขยี น 31.กาพยย์ านี ๑๑ 32.การจาแนกและใช้สานวนท่ีเปน็ คาพังเพยและสุภาษติ 33.วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกับศาสนาประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคาสอนเหตุการณ์ ประวตั ิศาสตร์ บนั เทงิ คดี บันทึกการเดนิ ทาง วรรณกรรมท้องถิน่ 34.การวิเคราะหค์ ณุ ค่าและข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม 35.การทอ่ งจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคุณค่า
10 คาอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงท้ังร้อยแก้วและร้อยกรอง สรุปใจความสาคัญ ระบุเหตุผล จากเรือ่ งทอ่ี ่าน อธบิ ายคา เปรียบเทยี บ ตีความคายากในเอกสารวิชาการ คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสาร บรรยาย เรียงความ ย่อความ พูดสรุปใจความสาคัญ พูดแสดงความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์ เล่าเรื่องย่อ อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคาประสม คาซ้า คาซ้อน คาพ้อง คาราชาศัพท์ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน วิเคราะห์และอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน การอ่านจับใจความสาคัญ ระบุข้อสังเกต และความสมเหตุสมผลจากการอ่านงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ ปฏิบัติตามเอกสารคู่มือ แนะนาต่าง ๆ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจ วิเคราะห์คุณค่าท่ีได้รับจากการอ่าน งานเขียนต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต เขียนแสดงความคิดเห็น จดหมาย รายงาน โครงงาน พูดประเมินความ น่าเชื่อถือของสื่อ พูดรายงาน วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน แต่งกาพย์ยานี จาแนกและใช้สานวนท่ีเป็นคาพังเพยและสุภาษิต สรุปความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและ วรรณกรรม รวมท้ังวรรณกรรมพ้ืนบ้าน ทอ่ งจาบทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ คา่ ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการอ่านคิดวิเคราะห์ การสืบค้นความรู้ การจดบันทึก ใช้ความสามารถในการคิด การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น การลงความคิดเห็น การตีความ การสรุปความ ฝึกทักษะการอ่านและการเขียน การฟังการดูและการพูดเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ในการเรียนรู้ ใช้ความสามารถในการส่ือสารกับผู้อ่ืนให้เข้าใจตรงกัน เห็นคุณค่าของภาษาไทย กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ จัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาความคิด เรียนรู้แบบโครงงาน ให้รู้วิธีการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ วางแผน คิดวิเคราะห์ ประเมินผล การแสดงความคิดเห็น การลงความคิดเห็น การตีความ การสรุปความ ฝึกทักษะการอ่านและการเขียน การฟังการดูและการพูด เพื่อให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจในการเรยี นรู้ ฝกึ การเป็นผู้นาและผูต้ าม มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สามารถสร้างองค์ ความรู้ นาเสนอความรู้ เพ่ือให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคุณค่าภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง มงุ่ ม่ันในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดการ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทยและรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติเพื่อนาความรู้ไป ประยุกตใ์ ชใ้ นการแก้ปญั หาให้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวติ รหสั ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/2 ม.๑/3 ม.๑/4 ม.๑/5 ม.๑/6 ม.๑/7 ม.๑/8 ม.๑/9 ท ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/2 ม.๑/3 ม.๑/4 ม.๑/5 ม.๑/6 ม.๑/7 ม.๑/8 ม.๑/9 ท ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/2 ม.๑/3 ม.๑/4 ม.๑/5 ม.๑/6 ท ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/2 ม.๑/3 ม.๑/4 ม.๑/5 ม.๑/6 ท ๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/2 ม.๑/3 ม.๑/4 ม.๑/5 รวม ๓๕ ตวั ชว้ี ัด
11 รายวิชาพื้นฐาน โครงสรา้ งรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ รหสั วิชา ท๒๑๑๐๑ หนว่ ยท่ี ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๖๐ ช่วั โมง/ ๑.๕ หน่วยกิต ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา (ชั่วโมง) การเรียนรู้/ตัวช้วี ดั ๑ คาเพราะเสนาะทานอง ๑๓ 1.1 การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ ท ๑.๑ ม. ๑/๑ ๓ 1.2 การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง 1.๓ การท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรอง ท5.1ม. 1/๔ ๓ ๒ -บทอาขยานตามท่กี าหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ท๔.๑ม. ๑/๕ ๕ 1.4 การแตง่ บทร้อยกรอง -บทรอ้ ยกรองประเภทกาพย์ยานี๑๑ ท๑.๑ ม.1/2 ๑๐ -วรรณคดเี ร่อื งกาพยพ์ ระไชยสรุ ิยา ๔ ๒ แตง่ ใหง้ ามตามท่เี หมาะ ท๑.๑ ม.1/๕ ๓ ๒.๑ การอ่านจบั ใจความสาคัญจากสือ่ ตา่ งๆ -เรอ่ื งสัน้ ท๑.๑ ม.1/๗ ๒ -วรรณคดีในแบบเรยี นเรอื่ งนทิ านพ้ืนบา้ น ท๑.๑ ม.1/๙ ๑ ๒ ๒.๒ การตีความคายาก ท ๒.๑ ม. 1/1 -เร่อื งสน้ั ๒ -วรรณคดีในแบบเรียนเรื่องนทิ านพื้นบา้ น ท ๒.๑ ม. 1/2 ๑๖ ๔ 2.3 การอา่ นและปฏบิ ัติตามเอกสารคมู่ ือ ท ๒.๑ ม. 1/3 ๓ 4 มารยาทในการอ่าน ท ๒.๑ ม. 1/4 ๓ ๓ วถิ งี ามความพอเพยี ง ท ๒.๑ ม. 1/๗ ๑ ๑ 3.1 การคดั ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ๔ บ.ก. ท่รี ัก 4.1 การเขียนสื่อสาร - การแนะนาตนเอง -การเขยี นแนะนาสถานท่ีสาคญั ๆ -การเขยี นบนสื่ออิเล็กทรอนิกสเ์ ขยี น 4.2 การเขียนบรรยายประสบการณ์ 4.3 การเขยี นเรยี งความ 4.4 การเขยี นจดหมายส่วนตวั 4.5 การเขียนจดหมายกจิ ธุระ
12 หน่วยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ช่วั โมง) 4.6 การเขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้าและโครงงาน การเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด 4.7 มารยาทในการเขยี น ๕ คดิ ตา่ งกนั แต่อยู่ร่วมกันได้ ท ๒.๑ ม. 1/8 ๓ 5.1 การพดู สรปุ ความพูดแสดงความรู้ ความคดิ อยา่ งสร้างสรรค์จากเรื่องทฟี่ ัง ท ๒.๑ ม. 1/9 ๑ และดู ๑๗ 5.2 การเลา่ เร่ืองย่อจากเร่ืองทีฟ่ ังและดู 5.3 การพูดแสดงความคิดเหน็ อยา่ งสรา้ งสรรคเ์ ก่ยี วกบั เรอื่ งทฟี่ ังและดู ท ๓.๑ ม.๑/๑ ๔ 5.4 การพูดประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ของส่ือท่มี เี น้ือหาโน้มน้าว 5.5 การพดู รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าจากแหลง่ เรยี นร้ตู ่างๆในชมุ ชน และ ท ๓.๑ ม.๑/๒ ๓ ท ๓.๑ ม.๑/๓ ๓ ทอ้ งถนิ่ ของตน ท ๓.๑ ม.๑/๔ ๓ 5.6 มารยาทในการฟังการดู และการพดู ท ๓.๑ ม.๑/๕ ๓ สอบกลางภาค ท ๓.๑ ม.๑/๖ ๑ สอบปลายภาค ๑ รวม ๑ ๖๐
13 โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ าพื้นฐาน รหสั วิชา ท๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๖๐ ช่ัวโมง/ ๑.๕ หน่วยกิต หนว่ ยที่ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา (ชว่ั โมง) การเรยี นร/ู้ ๑๕ ๔ ตวั ช้ีวดั ๔ ๑ เกบ็ มาเลา่ เอามาคยุ ๗ ๑.1 เสียงในภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๑/๑ ๖ ๓ 1.2 การสรา้ งคาในภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๑/๒ ๓ ๖ -คาประสมคาซ้าคาซอ้ น ๒ ๔ - คาพ้อง ๑๒ ๓ 1.3 ชนิดและหนา้ ท่ขี องคา ท ๔.๑ ม.๑/๓ ๓ - คานาม ๓ - คาสรรพนาม ๓ - คากริยา -คาวเิ ศษณ์ - คาบุพบท - คาสันธาน -คาอทุ าน 2 เพ่อื นกนั 2.1 ภาษาพูด ท๔.๑ ม.๑/๔ 2.2 ภาษาเขียน 3 เข้าเมอื งตาหล่วิ ตอ้ งหลว่ิ ตาตาม 3.1 การวเิ คราะห์สานวนทเี่ ป็นคาพงั เพยและสุภาษิต ท ๔.๑ ม.๑/๖ 3.2 สานวนท่เี ปน็ คาพงั เพยและสภุ าษติ -วรรณคดเี รอื่ งสภุ าษิตพระรว่ ง 4 ภาษาเดน่ เนน้ กระบวนการ 4.1 การวเิ คราะห์เหตแุ ละผลและข้อเทจ็ จริงกบั ข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ี ท๑.๑ ม.๑/๓ อา่ น -กาพยเ์ หช่ มเครือ่ งคาวหวาน 4.2 การวิเคราะห์ข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียน ท๑.๑ม.๑/๔ -กาพย์เหช่ มเครอ่ื งคาวหวาน 4.3 คาเปรียบเทยี บและคาท่ีมีหลายความหมายในบรบิ ทต่างๆจาก ท๑.๑ม.๑/๖ การอ่าน -โคลงโลกนติ ิ 4.4 การสรปุ ความรู้และข้อคดิ จากการอ่านเพ่ือประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ท๕.๑ ม.๑/๔ - โคลงโลกนิติ
14 หนว่ ยที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา(ช่วั โมง) การเรยี นรู/้ ตัวชี้วัด 5 ภาษามีพลัง ๗ 5.1 การเขียนยอ่ ความ ท ๒.๑ ม.๑/๕ ๔ -วรรณคดเี รอ่ื งราชาธริ าชตอนสมงิ พระรามอาสา 5.2 การเขยี นแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกับสาระจากส่อื ท ๒.๑ ม.๑/๖ ๓ 6 สมบัติวรรณคดีของไทย ๑๒ 6.1 วรรณคดแี ละวรรณกรรมเกยี่ วกับศาสนาประเพณี พิธีกรรมสภุ าษติ คา ท๕.๑ม.๑/๑ ๔ สอน เหตุการณ์ประวัตศิ าสตร์ บนั เทงิ คดี บันทึกการเดินทางวรรณกรรม ทอ้ งถิ่น 6.2 การวิเคราะหค์ ณุ คา่ และขอ้ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม ท ๕.๑ ม.๑/๒ ๒ -นริ าศภูเขาทอง 6.3 การอธบิ ายคุณคา่ และขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม ท ๕.๑ ม.๑/๓ ๒ -นริ าศภูเขาทอง 6.4 การอ่านหนังสือตามความสนใจ ท ๑.๑ ม.๑/๘ ๔ - หนงั สือท่ีนกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั - หนังสืออา่ นทีค่ รแู ละนักเรียนกาหนดรว่ มกนั สอบกลางภาค ๑ สอบปลายภาค ๑ รวม ๖๐
15 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑
16 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื งเก็บมาเลา่ เอามาคยุ เวลา ๑๕ ชัว่ โมง ๑.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษาและรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ ตวั ช้วี ดั ท ๔.๑ ม.๑/๑ อธบิ ายลักษณะของเสยี งในภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๑/๒ สรา้ งคาในภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๑/๓ วิเคราะหช์ นดิ และหนา้ ทขี่ องคาในประโยค จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรยี นสามารถอธบิ ายลักษณะของเสยี งในภาษาไทยได้ - นกั เรยี นสามารถจาแนกเสยี งสระ เสียงพยญั ชนะ เสยี งวรรณยุกต์ได้ - นกั เรียนสามารถอธิบายการสร้างคาในภาษาไทยได้ - นกั เรียนสามารถบอกวิธกี ารสร้างคาในภาษาไทยได้ - นักเรียนสามารถวเิ คราะห์ชนดิ ของคาในประโยคได้ - นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์หน้าท่ขี องคาในประโยคได้ ด้านทกั ษะ (P) - นักเรียนสามารถนาเสนอลักษณะของเสียงในภาษาไทยได้ - นกั เรยี นสามารถนาเสนอการสร้างคาในภาษาไทยได้ - นักเรยี นสามารถนาเสนอการวิเคราะหช์ นดิ ของคาในประโยคได้ - นักเรียนสามารถนาเสนอการวเิ คราะห์หน้าท่ีของคาในประโยคได้
17 ด้านจติ พสิ ยั (A) - นกั เรียนมคี วามต้ังใจในการอธิบายลักษณะของเสยี งในภาษาไทย - นกั เรียนเหน็ คุณคา่ ของการสร้างคาในภาษาไทย - นักเรยี นเหน็ ประโยชน์ของการวิเคราะหช์ นิดและหนา้ ท่ขี องคาในประโยค ๓.สาระสาคญั เสียงในภาษาไทย เป็นเสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพ่ือใช้ในการส่ือความหมายประกอบด้วยเสียง สระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต์ เพ่ือสนองความต้องการต่าง ๆ ของมนุษย์ การสร้างคาใน ภาษาไทย ทาให้มีคาใหม่ใช้ในภาษาไทยมากข้ึนด้วยการประสมคา ซ้อนคา ซ้าคา รวมถึงคาพ้อง และมี การจาแนกชนิดของคาตามหน้าท่ีท่ีใช้ในประโยคเป็น ๗ ชนิด คือ คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน และคาอุทาน คาเหล่านี้มีหน้าท่ีและตาแหน่งการวางในประโยตต่างกัน การทาความเขา้ ใจถงึ หนา้ ที่ของคาชว่ ยให้สามารถสื่อสารได้ถูกต้อง ๔.สาระการเรียนรู้ ๑.เสียงในภาษาไทย ๒.การสร้างคาในภาษาไทย ๓.ชนดิ และหนา้ ที่ของคา ๕.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6.ทักษะของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) ทกั ษะการอา่ น (Reading) ทักษะการเขยี น (Writing) ทกั ษะการคดิ คานวณ (Arithmetic) ทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and problem solving) ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผนู้ า (Collaboration , teamwork and leadership)
18 ทักษะดา้ นความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะดา้ นการส่อื สาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสือ่ (Communication information and media literacy) ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (Computing) ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทักษะการเปลีย่ นแปลง (Change) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผู้นา (Leadership) 7. ช้ินงานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) - ใบงานเรื่อง เสยี งในภาษาไทย (เสยี งสระ) - ใบงานเรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยกุ ต์) - ใบงานเรอ่ื งการผันวรรณยุกต์ - ใบงานเรื่อง คาพ้อง - ใบงานเรอ่ื ง คานาม คาสรรพนาม - ใบงานเรื่อง คาวิเศษณ์ คากริยา - ใบงานเรือ่ ง คาบุพบท - ใบงานเรื่อง คาสนั ธาน - ใบงานเร่อื ง คาอุทาน ๘.การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ หน่วยย่อยท่ี ๑ เรอื่ ง เสียงในภาษาไทย ชว่ั โมงท่ี ๑-๓ (ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบแฮรบ์ ารต์ : Herbart Method) ขน้ั ท่ี ๑ ขน้ั เตรยี ม ๑.ครกู ล่าวทักทายนักเรียน พรอ้ มบอกเรื่องทจ่ี ะเรยี นและจุดประสงค์การเรยี นรู้ในคาบนี้ให้ นักเรยี นทราบ ๒.ครูทบทวนความรเู้ ดมิ ของนักเรียนโดยการถามคาถามเก่ยี วกับเสียงในภาษาไทย ขั้นท่ี ๒ ขนั้ สอน ๑. ครอู ธบิ ายความหมายของเสยี งในภาษาไทย และให้นักเรยี นดูภาพอวัยวะตา่ ง ๆ ท่ใี ช้ในการ ออกเสียง
19 ๒. ครูใหน้ กั เรียนฝกึ เปลง่ เสยี งสระและเสียงพยญั ชนะในภาษาไทย เพอ่ื ให้ทราบตาแหน่งทีเ่ กิด ของเสียงในภาษาไทย ๓. ครูอธบิ ายลักษณะของเสียง เสียงสระ เสียงพยัญชนะ และเสยี งวรรณยกุ ต์ เพื่อให้นักเรียน เห็นภาพรวม ๔.ครใู ห้นักเรียนชว่ ยกันอธบิ ายว่าเสียงแตล่ ะเสียงมีลักษณะอยา่ งไรบ้าง ขน้ั ท่ี ๓ ขน้ั สมั พนั ธห์ รอื ขนั้ ทบทวนและเปรียบเทียบ ๑.ครทู บทวนลกั ษณะของเสียงสระ เสียงพยญั ชนะ และเสยี งวรรณยกุ ต์จากการเรียนช่ัวโมงท่ีแลว้ ๒.ครูให้นักเรยี นทาใบงานเรื่อง เสยี งในภาษาไทย (เสียงสระ) ภายในเวลา๑๕นาที ๓.ครสู ุ่มนักเรยี นนาเสนอใบงานของตนเอง และสรุปความรู้ร่วมกนั ข้นั ท่ี ๔ ข้นั ต้ังกฎหรือข้อสรุป ๑.ครใู หน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ระดมความคดิ เกี่ยวกบั การวางสระไม่ถกู ตาแหน่ง จะเกิดผลอย่างไร ๒.ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกันอธบิ ายภายหลังจากการร่วมกนั ระดมความคิด พร้อมให้นกั เรียนทุกคนจด ลงสมุดบันทึกส่วนตัวของตนเอง ๓. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้ร่วมกัน ขั้นท่ี ๕ ขั้นการนาไปใช้ ๑. ครสู รปุ ความรเู้ รอื่ งเสียงสระ เสยี งพยัญชนะ และเสียงวรรณยกุ ต์เพ่อื ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหัด ๒.ครูให้นกั เรยี นทาใบงานเร่อื ง เสียงในภาษาไทย (เสียงพยญั ชนะ เสยี งวรรณยุกต์) ชว่ั โมงท่ี ๔ (ใช้รปู แบบการเรียนรแู้ บบแฮร์บารต์ : Herbart Method) ขน้ั ที่ ๑ ขั้นเตรยี ม ๑.ครูกลา่ วทักทายนกั เรียนพร้อมบอกถึงเน้อื หาและกจิ กรรมที่จะปฏบิ ตั ิ ๒.ครูทบทวนความรู้เรื่องเสียงสระ เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยุกต์ โดยสุ่มนักเรียนวิเคราะห์ช่ือ เล่นของตนเองวา่ ประกอบดว้ ยเสยี งสระ เสียงพยญั ชนะ เสียงวรรณยุกต์ใดบา้ ง ๓.ครถู ามนกั เรียนเรอื่ งไตรยางค์ว่าอีกมีกห่ี มู่ แตล่ ะหมมู่ อี ะไรบ้าง เพื่อเชื่อมโยงเนือ้ หาใหม่ ขน้ั ที่ ๒ ขั้นสอน ๑.ครูอธิบายเร่ืองการผันวรรณยุกต์ โดยเร่ิมจากบรรยายเรื่องอักษรสามหมู่และหลักการสังเกต คาเปน็ คาตาย เพือ่ เป็นหลักในการผันวรรณยุกต์
20 ๒.ครูสุ่มนักเรียนจานวน ๓ คนบอกช่ือเล่นของตัวเอง พร้อมบอกว่าเป็นคาเป็น หรือคาตาย เพราะเหตใุ ด และจัดอยู่ในอักษรหม่ใู ด ขนั้ ท่ี ๓ ขั้นสมั พันธ์หรือขน้ั ทบทวนและเปรยี บเทียบ ๑.ครูทบทวนเรือ่ งอกั ษรสามหมู่และคาเป็น คาตาย ๒.ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์คาในประโยคท่ีครูนามาให้จานวน ๓ ประโยคว่ามีคาเป็น คา ตาย อย่างละกีค่ า อะไรบา้ ง และมเี สยี งวรรณยกุ ต์ใดบา้ ง ข้นั ที่ ๔ ข้นั ตัง้ กฎหรอื ข้อสรุป ๑.ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกันสรุปความรู้รวบยอดเรอื่ งเสียงในภาษาไทย ข้ันที่ ๕ ขนั้ การนาไปใช้ ๑.ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๕ คน จากน้ัน ให้แต่ละกลุ่มหาเน้ือเพลงกลุ่มละ ๑ ท่อน แล้ว เขยี นลงในใบงาน จากนนั้ ขดี เสน้ ใต้คาท่ีจะใชใ้ นการวิเคราะหจ์ านวน๑๐คา ภายในเวลา ๑๕ นาที ๒.ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ เรอ่ื ง การสร้างคาในภาษาไทย ชั่วโมงที่ ๑-๒ (ใช้รูปแบบการเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ) ขั้นที่ ๑ ขนั้ เตรยี มการ ๑.ครใู ห้นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ ๕คน ๒.ครูทบทวนความรู้เรื่องคามูลและคาประสม โดยให้นักเรียนทุกกลมุ่ แขง่ ขันตอบคาถาม จากปริศนาคาทายที่ครูกาหนดให้ ขัน้ ที่ ๒ ขน้ั สอน ๑.ครูอธบิ ายเรื่องคามูล และคาประสมโดยใช้สือ่ ประกอบการสอน power point ขน้ั ที่ ๓ ขน้ั กิจกรรมกลุ่ม ๑.ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั หาเพลงกลมุ่ ละ๑เพลง จากนน้ั ใหช้ ่วยกันวิเคราะห์ว่าในเพลง คามูลและคาประสมอยา่ งละก่ีคา คาวา่ อะไรบา้ ง ๒.นกั เรยี นร่วมกันทาใบงานเร่ืองการวเิ คราะหค์ ามูลและคาประสมจากบทเพลง ขนั้ ท่ี ๔ ข้นั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ ๑.ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการวเิ คราะห์คามูล คาประสมหน้าชน้ั เรียน ครูและ นักเรียนช่วยกนั สรุปผลของแต่ละกล่มุ
21 ขน้ั ท่ี ๕ ข้ันสรุปบทเรยี นและประเมนิ ผลการทากิจกรรมกลุ่ม ๑.ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ ผลท่ีได้จากการทากิจกรรมกลุ่มเรื่องการวเิ คราะห์คามลู และคา ประสมจากบทเพลงและการทากิจกรรมกลุ่ม ชั่วโมงที่ ๓ (ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ๕E) ขัน้ ที่ ๑ สรา้ งความสนใจ (Engagement) ๑.ครเู ปิดเพลง “เพื่อเธอ”และเปิด “เปิด” ใหน้ กั เรยี นฟัง พร้อมถามวา่ ในเพลงมีคาซา้ และคา ซอ้ นหรอื ไม่ ขน้ั ท่ี ๒ ขน้ั สารวจและค้นหา (Exploration) ๑.ครอู ธบิ ายเรื่องคาซ้าและคาซ้อนโดยใชส้ ื่อประกอบการสอน power point ๒.ครูใหน้ ักเรียนทากจิ กรรม “ตามหาหวั ใจ” โดยแจกบัตรคารปู หัวใจครง่ึ ซีกคนละ๑ใบ ซ่ึงในบตั ร คาน้นั จะมีคาซ้อนท่ียังไมส่ มบูรณ์ โดยนกั เรยี นแต่ละคนต้องตามหาค่ขู องตวั เองเพอื่ ทาคาซอ้ นให้สมบูรณ์ ภายในเวลา ๕ นาที ขน้ั ท่ี ๓ ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป ๑.ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคู่เขียนคาซอ้ นของคู่ตนเองลงสมุด จากนนั้ วิเคราะหว์ ่า เปน็ คาซ้อนชนิดใด ขัน้ ที่ ๔ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑.ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละคอู่ อกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น ๒. ครแู ละนักเรยี นช่วยกันสรุปผลของแต่ละกลมุ่ ขั้นที่ ๕ ประเมิน (Evaluation) ๑.ครใู หน้ ักเรยี นทาใบงานเรอ่ื งคาซา้ และคาซ้อน ช่ัวโมงท๔่ี (ใช้รูปแบบการเรียนรแู้ บบแฮร์บารต์ : Herbart Method) ข้ันที่ ๑ ขนั้ เตรียม ๑.ครูทบทวนความร้เู รือ่ งคาพ้องจากกจิ กรรมชวนคดิ ขนั้ ที่ ๒ ขัน้ สอน ๑.ครูอธบิ ายเรื่องคาพ้องโดยใช้สอ่ื ประกอบการสอน power point ขนั้ ที่ ๓ ข้นั สัมพันธห์ รือขั้นทบทวนและเปรียบเทียบ ๑.ครนู าคาพ้องใหน้ ักเรียนเปรียบเทียบและวิเคราะห์ว่าเปน็ คาพ้องชนดิ ใด
22 ๒.ครใู หน้ ักเรียนรว่ มกนั พิจารณาประโยคท่ีครกู าหนดให้พร้อมตอบว่าคาพอ้ งทปี่ รากฏในประโยค เป็นคาพ้องชนิดใดและมีความหมายว่าอย่างไร ข้ันท่ี ๔ ขน้ั ตงั้ กฎหรือขอ้ สรุป ๑.ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความรู้เรอื่ ง คาพ้อง ข้ันท่ี ๕ ข้ันการนาไปใช้ ๑.ครูใหน้ ักเรียนทาใบงานเร่ืองคาพ้อง หน่วยยอ่ ยท่ี ๓ เรือ่ ง เสียงในภาษาไทย ชวั่ โมงท่ี ๑-๒ (ใช้รปู แบบการเรยี นรู้แบบร่วมมอื ) ขนั้ ที่ ๑ ขน้ั เตรียม ๑.ครกู ลา่ วทักทายนักเรียน พร้อมบอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ นคาบเรียนนี้ ๒.ครทู บทวนความรเู้ ร่อื งชนิดของคา โดยยกตวั อย่างคาใหน้ กั เรียนตอบว่าเปน็ คาชนิดใด ข้ันท่ี ๒ ข้นั สอน ๑.ครูอธบิ ายเน้ือหาคานามโดยใชส้ ่ือประกอบการสอน power point ๒.ครูส่มุ นกั เรียนตอบว่าคาที่ครูกาหนดเป็นคานามชนิดใด ๓. ครอู ธบิ ายเนือ้ หาคาสรรพนามโดยใช้ส่ือประกอบการสอน power point ๔.ครสู มุ่ นกั เรยี นตอบวา่ คาที่ครูกาหนดเป็นคาสรรพนามชนดิ ใด ข้ันที่ ๓ ขัน้ กิจกรรมกลมุ่ ๑. ครูใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๕ คน สาหรบั ทากิจกรรมเรื่องคานามและคาสรรพนาม ๒. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รวบรวมคานามและคาสรรพนาม ชนดิ ละไม่นอ้ ยกว่า ๑๐คา เขยี นลงในใบงานทค่ี รูแจกให้ ๓. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ทาใบงานคานามและคาสรรพนาม ขนั้ ที่ ๔ ขน้ั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ ๑.นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการรวบรวมหนา้ ชั้นเรียน ครแู ละนักเรียนกล่มุ อ่ืนรว่ มกนั ซักถามเพื่อความกระจา่ งชดั ข้นั ที่ ๕ ขนั้ สรปุ บทเรียนและประเมินผลการทากจิ กรรมกลมุ่ ๑ .ค รู แ ล ะ นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น ส รุ ป ผ ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร ท า กิ จ ก ร ร ม ก ลุ่ ม เ ร่ื อ ง ค า น า ม แ ล ะ คาสรรพนาม
23 ชว่ั โมงท่ี ๓-๔ (ใชร้ ปู แบบการเรียนรแู้ บบแฮร์บาร์ต : Herbart Method) ขัน้ ที่ ๑ ขั้นเตรยี ม ๑.ครกู ลา่ วทักทายนักเรยี น ๒.ครทู บทวนความรู้เรื่องคากริยาและคาวเิ ศษณ์ ขน้ั ที่ ๒ ขั้นสอน ๑.ครูอธิบายเรอื่ งคากรยิ าโดยใชส้ ่ือประกอบการสอน power point ๒.ครอู ธบิ ายเร่ืองคาวเิ ศษณ์โดยใช้สอ่ื ประกอบการสอน power point ข้ันท่ี ๓ ขน้ั สัมพันธ์หรอื ขนั้ ทบทวนและเปรียบเทียบ ๑.ครใู ห้นักเรียนวิเคราะห์คากรยิ าที่ขีดเส้นใต้ เป็นคากริยาชนิดใด ๒.ครใู หน้ ักเรยี นวิเคราะห์คาวเิ ศษณ์ท่ีขีดเส้นใตว้ ่าเป็นคาวเิ ศษณช์ นิดใด ขัน้ ที่ ๔ ขั้นตั้งกฎหรือขอ้ สรปุ ๑.ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปความรู้เรื่อง คากริยาและคาวิเศษณ์ ขั้นท่ี ๕ ขัน้ การนาไปใช้ ๑.ครูใหน้ ักเรยี นทาใบงานเรื่องคากริยาและคาวิเศษณ์ ชั่วโมงท่ี ๕-๗ (ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบแฮรบ์ าร์ต : Herbart Method) ขน้ั ท่ี ๑ ขน้ั เตรยี ม ๑.ครูกลา่ วทักทายนักเรยี น ๒.ครทู บทวนความรเู้ ร่ืองคาบุพบท คาสนั ธาน คาอทุ าน โดยนาตวั อยา่ งคาให้นักเรียนตอบวา่ เปน็ คาชนดิ ใด ขนั้ ท่ี ๒ ข้ันสอน ๑.ครูอธิบายเนื้อหาคาบพุ บท คาสันธาน และคาอุทาน โดยใชส้ ื่อประกอบการสอน power point ๒.ครสู ่มุ นักเรยี นวิเคราะหป์ ระโยคทค่ี รูนาใหด้ ู พร้อมบอกว่าคาท่ีขีดเส้นใต้เป็นคาชนดิ ใด ข้ันท่ี ๓ ขนั้ สัมพันธ์หรอื ขน้ั ทบทวนและเปรียบเทียบ ๑.ครูให้นักเรยี นเปรียบเทียบประโยคจากตัวอย่าง แล้วพิจารณาคาที่ขดี เส้นใต้ ๒.ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกันพจิ ารณาหนา้ ทขี่ องคาในประโยคว่าทาหน้าทีอ่ ย่างไร
24 ๓.ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงานเร่อื งคาบพุ บท ข้นั ท่ี ๔ ขน้ั ต้งั กฎหรือข้อสรุป ๑.ครูและนักเรียนสรุปความรเู้ รอ่ื ง คาบุพบท คาสันธาน และคาอทุ านร่วมกนั ๒.ครใู ห้นักเรยี นทาใบงานเร่อื งคาสนั ธาน ขนั้ ท่ี ๕ ขน้ั การนาไปใช้ ๑.ครใู ห้นักเรียนทาใบงานเรอื่ งคาอุทาน 9. ส่อื การสอน ๙.1 ใบงาน/แบบฝึกหัด ๙.๒ หนังสือเรียนวรรณคดีวิจกั ษ์ ๙.๓ หนังสอื เรียนหลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ๙.๔ สื่อการเรยี นการสอนประกอบการนาเสนอ power point ๙.๕ บัตรคา ๑๐. แหลง่ เรียนรู้ในหรอื นอกสถานท่ี - ไมม่ ี
25 ๑๑.การวดั และประเมินผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธวี ัดผล เคร่ืองมือวัดผล เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารประเมิน ๑.นกั เรียนสามารถอธบิ ายลกั ษณะ ตรวจใบงานเรื่อง ใบงานเร่อื ง เสยี ง ๙-๑๐ คะแนน=ดีมาก ระดบั พอใช้ขนึ้ ไป ของเสยี งในภาษาไทยได้ เสียงในภาษาไทย ในภาษาไทย ๖-๘ คะแนน=ดี ถอื ว่าผ่าน (เสยี งสระ) (เสียงสระ) ๕-๖ คะแนน = พอใช้ ๐-๔คะแนน =ปรบั ปรงุ 2.นกั เรยี นสามารถจาแนกเสียงสระ -ตรวจใบงานเรอ่ื ง -ใบงานเร่อื ง เสียง ๙-๑๐ คะแนน=ดีมาก ระดับพอใช้ข้นึ ไป เสยี งพยัญชนะ เสยี งวรรณยกุ ตไ์ ด้ เสียงในภาษาไทย ในภาษาไทย ๗-๘ คะแนน=ดี ถือวา่ ผา่ น (เสียงพยญั ชนะ (เสยี งพยญั ชนะ ๕-๖ คะแนน= พอใช้ เสียงวรรณยกุ ต์) เสยี งวรรณยุกต)์ ๐-๔คะแนน =ปรบั ปรงุ - ตรวจใบงานเรอ่ื ง -ใบงานเร่อื ง การ การผันวรรณยกุ ต์ ผันวรรณยกุ ต์ ๓. นักเรียนสามารถอธิบายการ ตรวจใบงาน เร่ือง ใบงาน เรอื่ ง ๙-๑๐ คะแนน=ดีมาก ระดบั พอใชข้ ึ้นไป สรา้ งคาในภาษาไทยได้ คาพ้อง คาพ้อง ๗-๘ คะแนน=ดี ถือวา่ ผ่าน ๕-๖ คะแนน= พอใช้ ๐-๔คะแนน =ปรับปรุง 4.นกั เรียนสามารถบอกวธิ ีการสร้าง ตรวจใบงานเรอ่ื ง ใบงานเร่ือง ๙-๑๐ คะแนน=ดมี าก ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป คาในภาษาไทยได้ คานามและคาสรรพ คานามและคา ๗-๘ คะแนน=ดี ถือวา่ ผ่าน นาม สรรพนาม ๕-๖ คะแนน= พอใช้ ๐-๔คะแนน =ปรับปรุง 5.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ชนิด -ตรวจใบงานเรือ่ ง -ใบงานเร่อื ง ๙-๑๐ คะแนน=ดีมาก ระดบั พอใช้ขึ้นไป ของคาในประโยคได้ คากริยา คาวเิ ศษณ์ คากริยา คา ๗-๘ คะแนน=ดี ถือวา่ ผ่าน -ตรวจใบงานเรอ่ื ง คา วิเศษณ์ ๕-๖ คะแนน= พอใช้ บพุ บท -ใบงานเร่อื ง คา ๐-๔คะแนน =ปรับปรุง บพุ บท ๖.นักเรียนสามารถวิเคราะห์หน้าท่ี -ตรวจใบงานเร่ือง -ใบงานเร่ือง ๙-๑๐ คะแนน=ดีมาก ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป ของคาในประโยคได้ คาสนั ธาน คาสนั ธาน ๗-๘ คะแนน=ดี ถอื ว่าผ่าน -ตรวจใบงานเรือ่ งคา -ใบงานเรื่องคา ๕-๖ คะแนน= พอใช้ อทุ าน อทุ าน ๐-๔คะแนน =ปรับปรุง
26 จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธวี ัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน ๗.นักเรยี นสามารถนาเสนอ ประเมนิ การนาเสนอ ระดบั พอใชข้ ึ้นไป ลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทยได้ ลกั ษณะของเสยี งใน แบบประเมินผล ๔-๕ คะแนน =ดี ถอื วา่ ผ่าน ภาษาไทย การนาเสนอ ๒-๓ คะแนน=พอใช้ ระดับพอใชข้ ึ้นไป ถือวา่ ผา่ น ลกั ษณะของเสยี ง ๐-๑คะแนน=ปรบั ปรุง ระดับพอใช้ข้นึ ไป ในภาษาไทย ถอื ว่าผา่ น ๘.นักเรียนสามารถนาเสนอการ ประเมินการนาเสนอ แบบประเมนิ การ ๔-๕ คะแนน =ดี ระดับพอใชข้ น้ึ ไป ถอื ว่าผ่าน สรา้ งคาในภาษาไทยได้ การสรา้ งคาใน นาเสนอการสรา้ ง ๒-๓ คะแนน=พอใช้ ระดับพอใช้ข้นึ ไป ภาษาไทย คาในภาษาไทย ๐-๑คะแนน=ปรับปรุง ถือวา่ ผา่ น ๙. นักเรียนสามารถนาเสนอการ ประเมนิ การนาเสนอ แบบประเมนิ การ ๔-๕ คะแนน =ดี วเิ คราะหช์ นิดของคาในประโยคได้ การวเิ คราะหช์ นิด นาเสนอการ ๒-๓ คะแนน=พอใช้ ของคาในประโยค วเิ คราะห์ชนดิ ของ ๐-๑คะแนน=ปรับปรุง คาในประโยค ๑๐.นักเรียนสามารถนาเสนอการ ประเมนิ การนาเสนอ แบบประเมินผล ๔-๕ คะแนน =ดี วิเคราะห์หน้าท่ีของคาในประโยค การวเิ คราะหห์ น้าที่ ได้ ของคาในประโยค การนาเสนอการ ๒-๓ คะแนน=พอใช้ วิเคราะห์หน้าท่ี ๐-๑คะแนน=ปรับปรุง ของคาในประโยค 11. นักเรียนมีความต้ังใจในการ สังเกตพฤตกิ รรมของ แบบสงั เกต ๒-๓คะแนน=ดี อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง เ สี ย ง ใ น นักเรยี นในการทา พฤติกรรมการทา ๑คะแนน=พอใช้ ภาษาไทย กิจกรรม กจิ กรรม ๐คะแนน=ปรับปรุง ๑๒.นักเรียนเห็นคุณค่าของการ สงั เกตพฤตกิ รรมของ แบบสงั เกต ๒-๓คะแนน=ดี ระดบั พอใชข้ ึ้นไป พฤติกรรมการทา ๑คะแนน=พอใช้ ถือว่าผา่ น สร้างคาในภาษาไทย นักเรยี นในการทา กิจกรรม ๐คะแนน=ปรบั ปรุง แบบสังเกต ๒-๓คะแนน=ดี ระดับพอใช้ขน้ึ ไป กิจกรรม พฤติกรรมการทา ๑คะแนน=พอใช้ ถอื วา่ ผ่าน กิจกรรม ๐คะแนน=ปรบั ปรุง ๑๓.นักเรียนเห็นประโยชน์ของการ สังเกตพฤตกิ รรมของ วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคาใน นกั เรียนในการทา ประโยค กิจกรรม
27 แบบประเมินผล การนาเสนอลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย ตัวชี้วัด รายการประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน การนาเสนอลักษณะของเสียงใน ๑.มคี วามพร้อมในการนาเสนอ ๕ คะแนน = มคี รบทุกขอ้ ๔ คะแนน = มี ๔ ข้อ ขาด ๑ ขอ้ ภาษาไทย ๒.รกั ษาเวลาตามที่กาหนด ๓ คะแนน = มี ๓ ขอ้ ขาด ๒ ขอ้ ๒ คะแนน = มี ๒ ขอ้ ขาด ๓ ข้อ ๓.การใช้ภาษาในการนาเสนอ ๑ คะแนน = มี ๑ ขอ้ ขาด ๔ ข้อ ถูกต้อง เหมาะสม ๔.พดู นาเสนอข้อมูลได้ถูกตอ้ ง สมบรู ณ์ ๕.พูดนาเสนอได้ครบถ้วนตรง ประเดน็ สมาชิกในกลุ่ม ๑………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๒………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๓………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๔………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๕………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้………………………………
28 แบบประเมนิ ผล การนาเสนอการสรา้ งคาในภาษาไทย ตัวชี้วัด รายการประเมิน เกณฑก์ ารให้คะแนน การนาเสนอการสร้างคาใน ๑.มคี วามพร้อมในการนาเสนอ ๕ คะแนน = มคี รบทุกขอ้ ๔ คะแนน = มี ๔ ข้อ ขาด ๑ ขอ้ ภาษาไทย ๒.รกั ษาเวลาตามท่ีกาหนด ๓ คะแนน = มี ๓ ข้อ ขาด ๒ ขอ้ ๒ คะแนน = มี ๒ ข้อ ขาด ๓ ข้อ ๓.การใช้ภาษาในการนาเสนอ ๑ คะแนน = มี ๑ ข้อ ขาด ๔ ข้อ ถูกต้อง เหมาะสม ๔.พดู นาเสนอข้อมลู ไดถ้ ูกตอ้ ง สมบูรณ์ ๕.พูดนาเสนอได้ครบถว้ นตรง ประเด็น สมาชิกในกลุ่ม ๑………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๒………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๓………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้……………………………… ๔………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๕………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้………………………………
29 แบบประเมิน การนาเสนอการวเิ คราะห์ชนดิ ของคาในประโยค ตวั ชวี้ ดั รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน การนาเสนอการวิเคราะห์ชนิด ๑.มคี วามพรอ้ มในการนาเสนอ ๕ คะแนน = มีครบทกุ ข้อ ๔ คะแนน = มี ๔ ข้อ ขาด ๑ ขอ้ ของคาในประโยค ๒.รักษาเวลาตามท่ีกาหนด ๓ คะแนน = มี ๓ ขอ้ ขาด ๒ ขอ้ ๒ คะแนน = มี ๒ ข้อ ขาด ๓ ข้อ ๓.การใชภ้ าษาในการนาเสนอ ๑ คะแนน = มี ๑ ข้อ ขาด ๔ ข้อ ถูกต้อง เหมาะสม ๔.พดู นาเสนอข้อมลู ได้ถูกต้อง สมบรู ณ์ ๕.พดู นาเสนอได้ครบถว้ นตรง ประเด็น สมาชกิ ในกลุ่ม ๑………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้……………………………… ๒………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๓………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้……………………………… ๔………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๕………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้………………………………
30 แบบประเมิน การนาเสนอการวเิ คราะห์หน้าทข่ี องคาในประโยค ตัวช้ีวดั รายการประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน การนาเสนอการวิเคราะห์หน้าที่ ๑.มคี วามพรอ้ มในการนาเสนอ ๕ คะแนน = มีครบทกุ ขอ้ ๔ คะแนน = มี ๔ ข้อ ขาด ๑ ข้อ ของคาในประโยค ๒.รกั ษาเวลาตามท่ีกาหนด ๓ คะแนน = มี ๓ ขอ้ ขาด ๒ ขอ้ ๒ คะแนน = มี ๒ ข้อ ขาด ๓ ข้อ ๓.การใชภ้ าษาในการนาเสนอ ๑ คะแนน = มี ๑ ข้อ ขาด ๔ ข้อ ถูกต้อง เหมาะสม ๔.พดู นาเสนอข้อมลู ได้ถูกตอ้ ง สมบรู ณ์ ๕.พดู นาเสนอได้ครบถว้ นตรง ประเดน็ สมาชิกในกลุ่ม ๑………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้……………………………… ๒………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้……………………………… ๓………………………………………………………………………………………………คะแนนท่ีได้……………………………… ๔………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้……………………………… ๕………………………………………………………………………………………………คะแนนที่ได้………………………………
31 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล คาชแ้ี จง : ให้ทาเครือ่ งหมาย ลงในชอ่ งรายการสังเกตพฤตกิ รรมที่นกั เรียนปฏิบตั ิ รายการ เลขท่ี ชื่อ-สกลุ ให้ความ มคี วาม ตรงต่อ สรุปผลการ รว่ มมอื ใน กลา้ เวลา ประเมนิ การทา แสดงออก กจิ กรรม ๐ ๑ ๐ ๑ ๐ ๑ ผ่าน ไม่ ผา่ น ลงชอ่ื …………………………………………ผ้ปู ระเมนิ (………………………………………….) ……../………./……..
32 แบบสังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม คาชแี้ จง : ให้ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ งรายการสังเกตพฤตกิ รรมท่นี กั เรียนปฏบิ ัติ รายการ เลขที่ ชอื่ -สกลุ ใหค้ วาม มคี วาม ตรงตอ่ สรปุ ผลการ รว่ มมอื ใน กลา้ เวลา ประเมิน การทา แสดงออก กจิ กรรม ๐ ๑ ๐ ๑ ๐ ๑ ผา่ น ไม่ ผา่ น ลงชอ่ื …………………………………………ผ้ปู ระเมนิ (………………………………………….) ……../………./……..
33 ๑๒.กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ......................................... ................................................................................................................................................................. ..... ............................................................................................................................. ......................................... ๑๓.บนั ทกึ ผลหลังการสอน สรุปผลการเรียนการสอน นกั เรยี นท้ังหมดจานวน.....................คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนักเรยี นทีผ่ ่าน จานวนนกั เรยี นที่ไม่ผา่ น ข้อที่ จานวนคน รอ้ ยละ จานวนคน ร้อยละ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 6 7 8 9 10 11 12 13 ๑๔. ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ......................................... ....................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. .........................................
34 15. ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................................................ () ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ....................................... ลงช่ือ................................................................ หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ () ลงชอื่ .......................................................... รองผอู้ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ () ความเห็นของหัวหน้าสถานศกึ ษา ได้ทาการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ.........................................................................แลว้ มคี วามคดิ เห็นดงั น้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยงั ไม่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป 3. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ............................................................................................... ( ………………………………………………… ) ผอู้ านวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
35 ชื่อ………………………………………………………………………………ชน้ั ……………………เลขท…ี่ ……………… ใบงานเรอ่ื ง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรียนระบายสีคาทใ่ี ช้ยาว สระเด่ียว และสระประสม พรอ้ มเขยี นคาตอบลงชอ่ งวา่ ง คอื เตรียม รกั สชี มพู = สระเดี่ยว สฟี า้ = สระประสม จาน ขนม แลว้ เรยี บ ขล่ยุ ห่วง เปียก เลอื ด เฉพาะ เครอ่ื ง แฉะ ปลวก มด มอด ๑.เสยี งในภาษาไทยเรม่ิ ตน้ ที่………………………………………………………… เสียงสระเดย่ี ว เสียงสระประสม ๒.เสยี งในภาษาไทยแบ่งออกเป็น……..เสยี ง ได้แก่…………………………………………………………………………… ๓. เสียงสระสามารถจาแนกได้เป็น…………ประเภท ได้แก่……………………………………………………………………………
36 ช่ือ……………………………………………………………………………………………ชัน้ ……………………เลขที่………………… ใบงานเร่อื ง เสยี งในภาษาไทย (เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยกุ ต)์ คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนใี้ ห้ถูกต้อง ๑.เสยี งพยญั ชนะในภาษาไทยมี…………หน่วยเสียง คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. วรรณยุกตม์ ี……….รูป ได้แก…่ ………………………………………………………… และ เสียงวรรณยกุ ตม์ ี ……….. เสยี ง ไดแ้ ก่…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓.เพราะเหตุใดเสียงสระ เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยุกตจ์ งึ มคี วามสาคญั กบั คาในภาษาไทย จงอธิบาย …….…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาช้แี จง : ให้นักเรยี นจาแนกเสยี งสระ เสียงพยญั ชนะ และเสยี งวรรณยกุ ต์ใหถ้ ูกต้อง คา เสยี ง เสยี ง เสียงสระ เสียงวรรณยกุ ต์ พยญั ชนะ พยญั ชนะ เสียงสระอุ เสียงเอก สขุ ๑.ต่อย ตน้ ทา้ ย ๒.เสรมิ ๓.วิง่ /ส/ /ก/ ๔.บวช ๕.แทรก ๖.จรงิ ๗.เคลื่อน ๘.จันทร์ ๙.ทศิ ๑๐.สตั ว์
37 ใบงานเรื่อง การผนั วรรณยกุ ต์ คาชแี้ จง : ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ หาเนื้อเพลงกลุ่มละ๑ท่อน จากนน้ั ขดี เส้นใต้คาทีจ่ ะใชใ้ นการวเิ คราะห์ จานวน๑๐คา เพลง……………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตัวอยา่ ง แก้ว มเี สียงวรรณยกุ ต์ โท เพราะ ก เป็นอกั ษรกลาง รูปวรรณยกุ ตต์ รงกับเสียง ๑. .………………… มีเสียงวรรณยุกต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๒. .………………… มีเสยี งวรรณยุกต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๓. .………………… มีเสยี งวรรณยุกต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๔. .………………… มเี สียงวรรณยุกต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๕. .………………… มเี สยี งวรรณยกุ ต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๖. .………………… มีเสียงวรรณยกุ ต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๗. .………………… มเี สยี งวรรณยกุ ต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๘. .………………… มีเสยี งวรรณยุกต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๙. .………………… มเี สียงวรรณยุกต์…………… เพราะ……………….......................................................... ๑๐..………………… มเี สยี งวรรณยุกต์…………… เพราะ……………….......................................................... กล่มุ ท…ี่ ………………….. ชนั้ ………………….. ๑. ………………………………………………………………. เลขที่…………… ๒. ………………………………………………………………. เลขที่…………… ๓. ………………………………………………………………. เลขท่ี…………… ๔. ………………………………………………………………. เลขท่ี…………… ๕. ………………………………………………………………. เลขที่……………
38 ใบงานเรอ่ื งการวิเคราะหค์ ามูลและคาประสมจากบทเพลง คาชี้แจง : ให้นักเรียนวเิ คราะห์เพลงที่นามาว่ามีคามูลและคาประสมอยา่ งละกคี่ า คาว่าอะไรบา้ ง เพลง……………………………………… คามลู ………………………………………………………….. คาประสม …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. …………………………………………………………..
39 ใบงาน เรอ่ื ง คาพ้อง คาชแี้ จง : จงสรปุ สาระสาคัญเร่ืองคาพ้อง …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………………….……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………….……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………….……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………….……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………….……………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
40 ใบงานเร่ือง คานามและคาสรรพนาม คาช้ีแจง : จงรวบรวมคานามและคาสรรพนาม ชนดิ ละไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ คา คำนำม คำสรรพนำม ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. ………………………………………………………….. …………………………………………………………..
41 ชอ่ื …………………………………………………………………….ชนั้ ……………เลขที่……………. ใบงานเร่อื งคากรยิ า คาวเิ ศษณ์ คาช้แี จง : ให้นกั เรียนอา่ นนทิ านอสี ปที่กาหนดให้ จากน้ันขดี เส้นใตค้ าที่เป็นคากรยิ า และเติมคาที่เป็น คาวิเศษณ์ลงในช่องว่างใหถ้ ูกต้อง สุนขั จ้ิงจอกกับสิงโตในกรง สุนัขจงิ้ จอกตวั …………. ออกหาอาหารในปา่ ……………. มันบังเอิญไปเจอสิงโตตัวหน่ึงถูกนายพรานจับขังไว้ ในกรง………….. สุนัขจิ้งจอกพูดจาเยาะเย้ยสิงโตอย่าง……………เกรงกลัวว่า \"สมน้าหน้าเจ้าจริง ๆ เป็นถึง เจา้ แห่งสตั วป์ ่าผยู้ ิ่ง……………. แตก่ ลับตอ้ งมาพลาดท่าใหม้ นษุ ย์เสยี นี\"่ สงิ โตตอบไปว่า \"ไม่ใช่ว่าข้าไม่………. แต่ข้าโชค…………..ต่างหากที่มนษุ ยจ์ บั ได้ เจ้าเองกร็ ะวังตัวไวใ้ ห้ดเี ถอะ วนั ………….อาจเป็นตัวเจ้าเองที่ต้อง ถูกขงั อย่ใู นน่ีแบบขา้ \"
42 ช่อื …………………………………………………………………….ชั้น……………เลขที่……………. ใบงานเรอ่ื ง คาบพุ บท ตอนที่ ๑ คาช้ีแจง : ให้นกั เรียนขีดเส้นใต้จากคาบุพบทตอ่ ไปน้ี ๑.สมชายเหน็ กบั ตาวา่ สมบัตเิ จาะยางรถสมพงษ์ ๒.บ้านสมปองอยู่ในหมู่บา้ นสินเจริญ วลิ ล่า ๓.วิน เมธวิน วาดภาพดว้ ยสนี า้ มัน ๔.ถ้าไบร์ท วชริ วิชญ์จะไปเที่ยวสมุทรสงครามทางเรือต้องออกเดินทางแต่เชา้ ๕.เจ้าเบนล่สี นุ ัขของวินด้ือซนมาก ตอนที่ ๒ คาช้ีแจง : ให้นกั เรยี นนาคาบพุ บททีเ่ หมาะสมเติมลงในชอ่ งว่างใหถ้ กู ตอ้ ง ๑.ทดี่ นิ ในจงั หวัดเชยี งใหม่เหมาะ………………………..ปลกู พืชเมอื งหนาว ๒.คนดีต้องมีความกตัญญู………………….พอ่ แม่ ครูอาจารย์ ๓.ยาเสพติดให้โทษ……………………..ร่างกาย ๔.ปากกา…………………..ฉนั อยูท่ ี่เขา ๕.เขาพูดเสยี งดงั …………………..คนไข้
43 ช่ือ…………………………………………………………………….ชน้ั ……………เลขท่ี……………. ใบงานเรอ่ื ง คาสนั ธาน คาช้ีแจง : จงเตมิ คาสนั ธานลงในชอ่ งให้ถูกต้อง ๑.เธอจะไปเทยี่ วกับพวกเรา…………………จะอยู่บ้าน ๒.ละครเร่ืองนีใ้ ห้ความร้เู รือ่ งวิทยาศาสตร์……………………..คณิตศาสตร์ ๓.หวั หนา้ ไดฟ้ ังบรรยายของเราแลว้ …………………..แสดงความพอใจ ๔…………….จะยากจน………………เขาก็ไม่โกงใคร ๕……………..เขาประมาท เขา…………….ขับรถชนเดก็ ๖.วนิ จะไปรับเงินเอง………………………จะมอบให้ไบร์ทไปรับแทน ๗…………………..เธอไปถงึ บางแสน ฝน……………….ตก ๘.คณุ แม่เสียใจ……………………กระเป๋าเงนิ หาย ๙.เขาต้องการซ้ือบ้าน……………………..เขาไมม่ ีเงนิ ๑๐.คณุ แม่เลยี้ งสุนัข หมา……………………แมว คาชแี้ จง : จงแต่งประโยคโดยใชค้ าสนั ธานใหเ้ หมาะสม ๑……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒……………………………………………………………………………………………………………………………… ๓……………………………………………………………………………………………………………………………… ๔……………………………………………………………………………………………………………………………… ๕………………………………………………………………………………………………………………………………
44 ช่ือ…………………………………………………………………….ช้นั ……………เลขที่……………. คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นแต่งเร่ืองจากจินตนาการ โดยใช้คาอทุ านท้งั คาอุทานบอกอารมณ์และ คาอุทานเสรมิ บท ความยาวไมน่ ้อยกวา่ ๑๐บรรทดั ………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
45 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒
46 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๓ เรือ่ งเขา้ เมืองตาหลิ่ว ต้องหล่วิ ตาตาม เวลา ๖ ช่ัวโมง 1.มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษาและรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ ตวั ชว้ี ัด ท ๔.๑ ม.๑/๖ จาแนกและใช้สานวนทเ่ี ปน็ คาพังเพยและสภุ าษิต ๒.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) - นกั เรยี นสามารถบอกความหมายของสานวนท่เี ปน็ คาพงั เพยและสภุ าษติ ได้ - นกั เรียนสามารถจาแนกสานวนทีเ่ ป็นคาพงั เพยและสุภาษิตได้ - นกั เรียนสามารถเลือกใชส้ านวนทเี่ ปน็ คาพังเพยและสภุ าษติ ได้ ด้านทักษะ (P) - นกั เรยี นสามารถนาเสนอการใช้สานวนทีเ่ ป็นคาพงั เพยและสุภาษิตได้ ดา้ นจิตพสิ ยั (A) - นกั เรยี นเห็นคุณค่าของการจาแนกและใชส้ านวนทีเ่ ปน็ คาพงั เพยและสุภาษติ ๓.สาระสาคญั สานวนเป็นถ้อยคาสั้น ๆ ท่ีมีความหมายลึกซ้ึงกินใจ มีเสียงสัมผัสคล้องจองทาให้เกิดความ ไพเราะและสามารถจดจาได้ง่าย ส่วนใหญ่เป็นเชิงเปรียบเทียบหรือเป็นคติสอนใจ สุภาษิต เป็นถ้อยคาท่ี เป็นคติเตือนใจ มุ่งสั่งสอน คาพังเพยเป็นถ้อยคาหรือข้อความท่ีสืบต่อกันมา มักเป็นข้อสรุปการกระทา หรือพฤติกรรมโดยทั่วไป การเข้าใจความหมายของสานวน คาพังเพย สุภาษิตและสามารถเลือกใช้ได้ ถกู ตอ้ งจะทาใหก้ ารประสทิ ธภิ าพในการสื่อสาร
Search