Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป เทอม2

สรุป เทอม2

Published by Yuttana Moonpen, 2020-02-06 10:12:36

Description: สรุป เทอม2

Search

Read the Text Version

โครงสร้างทางสังคม (Social Structure) สังคม (Social) = กลุ่มคนต้ังแต่ 2 คนข้ึนไปมาอยู่ร่วมกัน มีอาณาเขตแน่นอน มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน มี แนวปฏิบัตเิ ดยี วกนั เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการขนั้ พน้ื ฐาน โครงสร้างทางสังคม(Social Structure) = ระบบความสัมพนั ธ์ของคนท่ีอยู่ร่วมกนั ลกั ษณะของโครงสรา้ งทางสังคม - กล่มุ คนมาอย่รู วมกนั - มีระเบียบกฎเกณฑ์แบบแผน - มจี ุดมุ่งหมายเดียวกัน - มกี ารเปล่ียนแปลงได้ สภาพแวดลอ้ มเปล่ยี น เปล่ยี นแปลงถ่ินฐาน องค์ประกอบของโครงสรา้ งทางสงั คม 1. กล่มุ สงั คม (Social Group) กลุ่มคนท่ีมาอยู่ร่วมกันเป็นหลักแหล่ง มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการติดต่อ พ่ึงพากันอย่างมี ระเบยี บ มแี นวคดิ คลา้ ยกนั มีความร้สู ึกเป็นพวกเดียวกนั มีวัฒนธรรมเปน็ ของตนเอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท - ปฐมภูมิ = ความสัมพันธ์แบบส่วนตัว สนิทสนม ตดิ ต่อสัมพนั ธย์ าวนาน เชน่ Family เพ่อื นบ้าน เพื่อนรว่ มชน้ั - ทตุ ยิ ภูมิ = ความสมั พันธแ์ บบเป็นทางการ ติดตอ่ กันตามหน้าที่ ขาดความเป็นกันเอง เชน่ กลมุ่ ธุรกิจ พนักงานบริษัท กลุม่ สมาคม 2. การจดั ระเบียบทางสังคม (Social Organization) กระบวนการทางสังคมที่ควบคุมความประพฤติของคนในสังคมให้อยู่ในระเบียบกฎเกณฑ์ที่ สังคมกาหนด เพอ่ื ให้การอยูร่ ่วมกนั เป็นไปอยา่ งราบรนื่ ป้องกนั ขอ้ ขัดแยง้ และเกดิ สนั ติสขุ ในสงั คม บรรทดั ฐานทางสงั คม (Social Norms) แบบแผนพฤติกรรมท่ีสังคมคาดหวังเป็นมาตรฐานท่ีสังคมตอ้ งการ ควบคุมใหค้ นใน สังคมรู้ว่าปฏิบัติตนอยา่ งไร และอะไรควรปฏิบตั ิ แบ่งเปน็ 3 ประเภท วถิ ปี ระชา (Folkway) จารตี (Moral) กฎหมาย (Law) วถิ ีชาวบ้าน ทาจนเคยชิน หรือกฎศลี ธรรม เก่ยี วขอ้ งกับ ข้อบังคับทรี่ ฐั ตราขนึ กาหนด ไม่ทาตาม ตาหนิติเตยี น ตอบโต้ท่ีไม่ คุณธรรมทส่ี าคัญต่อส่วนรวม โทษเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร รนุ แรงเช่น การแต่งกาย มารยาท ลงโทษรุนแรง ประจาน ขบั ไลจ่ าก ทางสังคม อาบนาวนั ละ 2 ครงั สังคมเชน่ เปน็ ชู้ ตบตพี ่อแม่ ควรทา ต้องทา

สถานภาพ(Status) ตาแหนง่ ทีไ่ ด้มาจากการเป็นสมาชิกในสังคม (บ่งบอกวา่ เราเปน็ ใคร) มี 2 ประเภท 1. สถานภาพโดยกาเนิด ติดตวั มา = พ่อแม่ลูก ญาติ เพศ อายุ สญั ชาติ 2. สถานภาพโดยความสามารถ หรอื สถานภาพสัมฤทธิ์ = ได้มาภายหลัง จากความรู้ เชน่ ตาแหน่งหน้าท่ี อาชพี ยศ บทบาท(Role) การแสดงพฤตกิ รรมที่สงั คมกาหนดและคาดหวังให้ทาตามสถานภาพ (บง่ บอกวา่ เราทาอะไร) เชน่ พอ่ แมม่ ีหน้าทอ่ี าบรมส่ังสอนลกู บทบาทขัดแยง้ กนั (Conflict role) = 1 คนมหี ลายสถานภาพ ทาให้บทบาทสับสน เช่น สามเี ปน็ ตารวจ ภรรยาเปิดบ่อน 3. สถาบนั ทางสังคม (social institution) (เปน็ นามธรรม ไมม่ ตี ัวตน ไมม่ ีสถานที่) แนวทางปฏิบตั ิอันมีระเบียบและระบบซึง่ บุคคลสว่ นใหญ่ในสงั คมยอมรับและปฏิบัตสิ ืบต่อกนั มาเพอ่ื ใช้ประโยชน์ร่วมกัน เปน็ แนวทางในการปฏิบัติ องค์ประกอบของสถาบนั ทางสงั คม - องคก์ รทางสังคม = ตาแหน่งทางสังคม สถานภาพ บทบาท - หนา้ ท่ี - แบบแผนการปฏิบัติ สถาบันครอบครัว = แบบแผนในความคดิ การกระทาระหวา่ งบคุ คลทเี่ กี่ยวกับการ แตง่ งาน การอบรมเลย้ี งดู เครือญาติ ผลิตสมาชิกใหม่ เปน็ สถาบนั แรกและสาคญั ที่สุด ทาหนา้ ทีแ่ ทนสถาบนั อื่นได้ สถาบันการศึกษา = สถาบันท่ีสง่ เสริมการเรยี นรู้ ถา่ ยทอดความรู้ ความคิดและ วฒั นธรรมให้แก่สมาชกิ ในสงั คม สถาบันเศรษฐกจิ = แบบแผนการปฏิบตั ิท่ีเก่ียวกับการผลิตสินคา้ และบริการ ตลอดจน ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศ การดารงชวี ิต สถาบันการปกครอง = แบบแผนของการคิด การกระทา เกย่ี วกับการรักษาระเบียบ ความสงบความปลอดภัยในสงั คม สถาบันศาสนา = แบบแผนของความเชอ่ื ความคิด ความศรทั ธา อบรมขัดเกลาจติ ใจ ของคนให้งดงาม ความเชื่อสงั คม ทางศาสนา สถาบนั สื่อสารมวลชน = สนองความตอ้ งการของสงั คมในเร่อื งการตดิ ตอ่ ส่อื สาร ทาให้ บคุ คลในสังคมทนั เหตุการณ์ ในโลกยุคปจั จบุ ัน ทันคน ไม่ตกข่าว สถาบนั นันทนาการ = สนองความตอ้ งการสมาชิกในสังคมในดา้ นการพักผอ่ นหย่อนใจ การออกกาลงั กาย การใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ ส่งเสริม สขุ ภาพกายและสุขภาพจิตใจให้มคี วามแข็งแรงสมบรณู ์ 4. การขดั เกลาทางสงั คม กระบวนการเรียนรู้การเป็นสมาชกิ ของกลุ่มหรือสังคม ได้รบั การแนะนาสง่ั สอน การเรยี นรู้ แบบแผนในการปฏิบัติ 1. ขัดเกลาทางตรง = การสอน การฝึกอบรม บอกตรง ๆ มีเจตนาให้รู้ เชน่ พ่อสอนลกู ครูสอนนักเรยี น 2. ขดั เกลาทางอ้อม = เรยี นรจู้ ากประสบการณ์ สังเกต เลียนแบบ เชน่ ลูกพูดคาหยาบ ตามพ่อ

ตวั แทนสาคัญที่ทาหน้าทใี่ นเรือ่ งน้ี ได้แก่ ครอบครัว กลุ่มเพอื่ น โรงเรยี น มหาวิทยาลัย ศาสนา ตลอดจนส่อื มวลชน (มผี ลตอ่ วัยรนุ่ มากทีส่ ุดในปจั จบุ ัน) 5. การเปล่ียนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงของระบบความสัมพันธ์ของกลุ่มคน อันเป็นผลมาจากการเปล่ียนแปลงท่ี เกิดข้ึนในโครงสร้างทางสังคม ระเบียบแบบแผน สถานภาพและบทบาท บรรทัดฐาน อาจมีทั้งการ เปลี่ยนแปลงท่ีเป็นผลดีหรือผลเสีย ก้าวหน้าหรือถอยหลัง ถาวรหรือช่ัวคราว เป็นประโยชน์หรือเป็น โทษก็ได้ สาเหตุ - สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ - ประชากร - เทคโนโลยี - ปจั จยั ด้านเศรษฐกิจ - แนวความคดิ ความเชื่อ ค่านิยม อุดมการณ์ ผล - มนษุ ยม์ ีความสะดวกสบายมากข้ึน - สามารถตดิ ตอ่ สัมพันธก์ ันไดส้ ะดวกรวดเรว็ - การขยายตัวและความคลอ่ งตวั ของสภาพทางเศรษฐกจิ - ความสะดวกสบาย ความไม่เปน็ ระเบียบ = ปัญหาทางสังคม 6. ปญั หาสงั คม สถานการณ์ที่ขัดต่อการจัดระเบียบทางสังคม มผี ลกระทบต่อคนหมู่มาก (เป็นวงกว้าง) และ คนส่วนใหญ่ไม่พึงปรารถนา ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น จาเป็นต้องมีการปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาน้ัน แต่ การแกไ้ ขปัญหาตอ้ งดาเนินการในรปู แบบของการแก้ไขปัญหาร่วมกนั - ปญั หาความยากจน - ปญั หาทุจริตคอรปั ชัน่ - ปญั หาครอบครัว (ต้นเหตขุ องปญั หาอืน่ ๆ) - ปญั หายาเสพติด

- - - - - - - - - - - -

ประเพณที ำบญุ กลำงทุ่ง จ.จันทบรุ ี เปน็ กำรทำบญุ อุทศิ ส่วนกศุ ลให้กบั ผู้ลว่ งลบั ไปแล้ว

ศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ สิทธิเสรีภาพและความ เสมอภาคของบุคคลที่ไดร้ ับการรับรองหรอื คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย หรือตามสนธิสญั ญาทีป่ ระเทศไทยมีพนั ธกรณีทจี่ ะตอ้ งปฏิบตั ิตาม (สงิ่ ท่ีเราพึงมีพงึ ได้นั่นเอง) หลกั การสิทธิมนุษยชน ใช้ได้กับทุกคน เป็นสิทธิท่ีมนุษย์ทุกคนมี จะโอนให้คนอื่นหรือแลกเปลี่ยนไม่ได้ สิทธิมนุษยชนเป็นวิถีทางสู่สันติภาพและ การพฒั นาทยี่ ัง่ ยนื ของมวลมนษุ ยชาติ ความเปน็ มา ภายหลังเม่ือสงครามโลก คร้ังที่ 2 (ค.ศ.1939 - 1945) สิ้นสุดลงนานาอารยประเทศต่างตระหนักถึงพิษภัยของ สงครามที่ได้สร้างความเสียหายแก่มวลมนุษยชาติ ตายกันมาก ดังนั้น เมื่อมีการจัดต้ังองค์การสหประชาชาติ (UN) เพ่ือรักษา สันติภาพของโลก จึงเกิดแนวความคิดที่จะให้มีการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดสิทธิความเป็นมนุษย์ เหมอื นดังที่เกดิ ข้นึ ในอดตี ตมู๊ มมมมมมมมมม จึงเกิดเป็น โกโก้คร้ัน เอ้ย !! เกดิ เป็น ปฏญิ ญาสากลว่าด้วยสิทธิมนษุ ยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นข้อตกลงท่ีองค์การสหประชาชาติ (UN) กำหนดขึ้น เพ่ือให้ประเทศสมาชิกใช้เป็น แนวทางปฏิบัติในการคุ้มครองสทิ ธิ เสรภี าพ และสิทธิมนุษยชนในประเทศของตน แต่ไมม่ ีพันธะผกู พัน ในแง่ของกฎหมายระหว่างประเทศประกอบด้วยการรับรองสิทธิมนุษยชนในด้านต่างๆ จำนวน 30 ข้อ ซ่ึงประเทศสมาชิกได้ร่วมลงนามรับรองเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2491 (ค.ศ.1948) วันสิทธิ มนษุ ยชนแห่งโลก หลักการสิทธิมนษุ ยชนของไทย การคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนของปวงชนชาวไทย บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีมากกว่า 50 มาตรา เนื้อหามีความก้าวหน้าและเป็นสากล โดยกำหนดให้มีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองค์กรอิสระทำหน้าท่ีดูแล ตรวจสอบ การ กระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ (ไม่ได้มีหน้าที่จับกุม หรือดำเนินคดีกับผู้กระทำ ความผิด) องคก์ รเกย่ี วกบั สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย มลู นธิ ปิ วณี า หงสกลุ เพื่อเด็กและสตรี บทบาทขององคก์ รระหวา่ งประเทศในเวทโี ลกท่ีมตี อ่ ประเทศไทย - องคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations) - สำนกั งานขา้ หลวงใหญผ่ ลู้ ีภ้ ัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) - องค์การแอมเนสตี อนิ เตอรเ์ นชนั แนล (AI) - กองทุนเพอ่ื เดก็ แหง่ สหประชาชาติ หรือยูนิเซฟ (UNICEF) ปัญหาการละเมดิ สทิ ธิมนุษยชน = การละเมิดสิทธิเดก็ การละเมดิ สิทธสิ ตรี การละเมิดสิทธิแรงงาน แนวทางการแก้ไข - การให้ข้อมูลข่าวสารเกย่ี วกบั สทิ ธิมนษุ ยชนแกป่ ระชาชน ดว้ ยการประชาสมั พันธ์ - การใหก้ ารศกึ ษาเกี่ยวกับสิทธมิ นุษยชนแก่เยาวชน - ส่งเสรมิ ใหเ้ จา้ หนา้ ทีป่ ฏิบตั ิหนา้ ท่ดี า้ นสิทธิมนุษยชนตามที่กฎหมายกำหนด และมีองค์กรตา่ งๆ - ปรบั ปรงุ กฎหมายท่เี ปน็ อุปสรรคต่อการสง่ เสริมสทิ ธิมนุษยชน - ปลูกจติ สำนกึ ในเรอื่ งสทิ ธิมนษุ ยชน ไม่ละเมิดสิทธิผอู้ น่ื (สำคญั สดุ ) You can do it


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook