Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดภาพสัตว์หิมพานต์

สมุดภาพสัตว์หิมพานต์

Published by jariya5828.jp, 2022-08-11 04:31:20

Description: สมุดภาพสัตว์หิมพานต์

Search

Read the Text Version

V ห น า้ ป ล า ย ท ี่ ๗ ๕ -๗ ๖ ® ไ ม ป่ ร าก ฏ ซ อื่ ® ท)





บรรณานุกรม กรมวิชชาซิการ์ กระทรวงธรรมการ. ปฏทิ ินสำหรับค้นวันเดอื นจนั ทรคตกิ ับสรุ ิยคตแิ ต่ปขี าลจตั วาศก ร.ศ. ๑ พ.ศ. ๒๓๒๕ จ.ศ. ๑๑๔๔ ถงปวี อกจัตวาศก ร.ศ. ๑๔๑ พ.ศ. ๒๔๗๔ จ.ศ. ๑๒๙๔. พมิ พครงั ที เอ. พระนคร: โรงพมิ พ์อกั ษรนติ ,ิ ๒๔๗๔. คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพเ์ อกสารประวตั ิศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตร.ี สมดุ ภาพสตั ว์ทิมพานต์. กรงุ เทพ‘ๆ: บรษิ ัท อมรนิ ทร'์ พ'ริ้นตง้ิ จำกดั , ๒๔๒๔. จกกวาฬทิปนี โดย พระสิรมิ งั คลาจารย์. พมิ พ์ครัง้ ที่ ๒, กรุงเทพๆ: สำนกั หอสมดุ แห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. “ตำราสตั วป์ ่าทิมพานต”์ . หอสมดุ แหง่ ชาต.ิ หนังสือสมดุ ไทยดำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เสน้ รงค์ (ชาว, ดนิ สอ, หรดาล). ม.ป.ป. เลขที่ ๑๙๔. หมวดสตั วศาสตร์. “ตำราสตั วป์ ่าทมิ พานต์”. หอสมดุ แหง่ ชาติ. หนังสือสมดุ ไทยดำ. เส้นรงค์ (ขาว, ดนิ สอ). ม.ป.ป. เลขท่ี ๑๙๖. หมวดสตั วศาสตร.์ “แบบพระเบญจา”. หอสมดุ แหง่ ชาติ. หนงั สือสมุดไทยดำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เสน้ รงค์ (ชาว,หรดาล).ม.ป.ป. เลขท่ี ๒๐. หมวดตำราภาพ. ประสงค์ พวงดอกไม.้ สมดุ ภาพลายไทย ขุด สตั วท์ มิ พานต.์ กรุงเทพฯ: บริษทั รวมสาสน้ (1977) จำกดั , ม.ป.ป. พจนานกุ รมศัพทศ์ ลิ ปกรรม อกั ษร ก - ฮ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๔๔๐. พญาสไิ ทย. ไตรภมู กิ ถา. พมิ พ์คร้งั ท่ี ๒. สำนกั งานสลากกนิ แบง่ รัฐบาล พมิ พ์เปน็ ท่ีระลกึ ในงานทอดผา้ กฐนิ ณ วดั ทับสะแก จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์, ๒๔๒๔. มาลยั จันสัญจยั และหลวงประสทิ ธ้ีบรุ รี กั ษ์. วจนานกุ รม พ.ศ. ๒๔๖๖. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเ์ จริญผล, ๒๔๖๖. เศรษฐมนั ต์ กาญจนกลุ . สรรพสัตว์ในทิมพานต์. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั สงวนกจิ การพิมพ์ จำกดั , ๒๔๔๔. “สมดุ รูปสตั ว์ต่าง ๆ”. หอสมดุ แหง่ ชาติ. หนงั สือสมดุ ไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เส้นรงค์ (ดนิ สอ, หมึก). จ.ศ. ๑๑๙๗ (พ.ศ. ๒๓๗๘). เลขที่ ๑๙๗. หมวดสตั วศาสตร.์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ ราน'ุ วดั ต-ิ วงศ์ และสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพ. สาสน์ สมเดจ็ เลม่ ๑๙. กรุงเทพฯ: องค์การคา้ ของคุรสุ ภา, ๒๔๐๔. _________ . สาสันสมเดจ็ เล่ม ๒๐. กรงุ เทพฯ: องคก์ ารค้าของครุ ุสภา, ๒๔๐๔. สมบัติ พลายน้อย. สัตวท์ ิมพานด.ํ พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท ตน้ อ้อ จำกดั , ๒๔๓๔. อุดม ดจุ ศรีวัชร. หนงั สอื ส่งเสริมการอา่ น เรือ่ ง สัตว์ทิมพานตจ์ ากจติ รกรรมฝาผนงั รามเกียรติ. กรงุ เทพฯ: บริษทั อักษราพิพฒั น์ จำกดั , ๒๔๓๗.

ภาคผนวก

- J}ม ุ ด . ก ๆ พ ศ ั ล ว ห ม อธบิ ายเรื่องภาพสัตวห์ ิมพานต์ นายยม้ิ ปณ็ ฃยางทรู เรยี บเรยี ง ๑. ความเปน็ มาของภาพสตั วห์ มิ พานต์เท่าที่พบหลกั ฐาน มีดงั ทจ่ี ะได้ประมวลมาเสนอ ดังต่อไปนี้ ครง้ั โบราณกาล ซนชาติเขมรถือระบอบเทวนยิ มตามทัศนคตขิ องพราหมณร์ าชปุโรหิตาจารย์ โดยเฉพาะ เรือ่ งพระมหากษัตริย์ เม่ือทรงพระราชสมภพกถ็ อื เป็นทพิ ยเทพาวตาร ครน้ั ถึงวาระสดุ ทา้ ยแหง่ พระชนมซ์ พี กใ็ ชค้ ำว่า สุรคต หมายความวา่ เสด็จไปสู'เทวาลยั สถาน ณ เขาพระสเุ มรุ ส่วนพระบรมศพนั้นก็อญั เชญิ ไปถวายพระเพลิง ณ พระเมรุท่ไี ดจ้ ดั ทำข้นึ เรือ่ งพระเมรนุ ส้ี มเดจ็ ฯ เจา้ ฟาั กรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ์ ตรัสเลา่ ไวใ์ นสาลนั สมเด็จ ฉบับวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ วา่ “เมรกุ ็ทำอยา่ งปราสาทเขมร ปราสาทเขมรก็ทำอยา่ งเมรุ เหตทุ ไ่ี ดช้ อ่ื วา่ เมรุ แลว้ มคี ตส้ คอื มี สง่ิ ทเ่ี ปน็ ประรานอยกู่ ลาง ไดแ้ กเ่ ขาพระเมรุ แลว้ กล็ ดชน้ั ลงจนไมมคี ตลอ้ มรอบเลย ก็ยงั คงเปน็ เมรอุ ยนู่ ัน่ เอง ภายหลงั ความหมายกก็ ลายไปว่าเมรุเปน็ ทเ่ี ผาศพ” อันการทำพระเมรุ โดยม่งุ หมายให้เปน็ เขาพระสเุ มรุ ซึ่งมเี ขายคุ นธร เขาอิสนิ ธร เขาการวกิ เขาสทุ ัสสนะ เขาเนมินธร เขาวินตก แลเขาอสั สกณั ณ์ เขาทง้ั เจ็ดนี้มขี ื่อรวมกันเรียกว่า เขาสัตตบริภัณฑ์ ต้งั รายล้อมรอบเขาพระเมรุ หรือเขาพระสุเมรนุ ั้น ไดท้ ำตามระบอบเทวนยิ ม เม่อื ภาวะเปน็ เข่นนี้ กเ็ ปน็ อันวา่ สถานท่เี ขน่ นนั้ ต้องมสี ภาพเป็น ปา่ เขาลำเนาไพร ดาษดืน่ ไปด้วยสงิ สาราสตั วน์ านาพนั ธมุ าอาศัยอยู่เปน็ ธรรมดา เพราะฃตั ตยิ ราชประเพณขี องเขมรมมี าอยา่ งนฉ้ี ะนนั้ เมื่อทำพระเมรอุ ยา่ งปราสาทเขมร เข่น ปราสาทหินพมิ าย เปน็ ท่ีถวายพระเพลงิ พระบรมศพ จงึ ทำหุน่ สัตวน์ านาพนั ธุสมมตเิ ป็นสตั วป์ ่าหิมพานต์ นำเชา้ ร้วิ ขบวนแหพ่ ระบรมศพ ไปสู่พระเมรุ ระบอบเทวนิยมนไี้ ด้ถอื เปน็ ราชประเพณีสบื ตอ่ กันมาช้านาน กแ็ ลขนบธรรมเนียมของเขมรนี้ไทยได้รบั มาแตต่ ้นสมยั อยุธยา เร่อื งนี้ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ทรงแสดงไวใ์ นหนงั สอื ลกั ษณะการปกครองประเทศสยามแต่โบราณ มขี ้อความว่า “วริ กี ารปกครองกรงุ ศรอี ยรุ ยา มาแกไ่ ขมากเมอ่ื รชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เหตุด้วยเมอ่ื รัชกาลกอ่ น ไดอ้ าณาเขตกรงุ สโุ ขทยั ชง่ื ลดศกั ดิสิง่ เป็นประเทศราชอยูน่ ัน้ มาเป็นเมืองขน้ึ กรงุ ศรีอยุรยา และตไี ดเ้ มอื งนครรมซง่ึ เปน็ ราชรานขี องประเทศขอมเมอ่ื ปฉี ลู พ.ศ. ๑ ๙ ๙ ๖ ในสมยั นน้ั ไดข้ า้ ราชการเมอื งสโุ ขทยั และชาวกรงุ กมั พชู าทง้ั พวก พราหมณ์พวกเจ้านายทา้ วพระยา ซง่ึ ชำนาญการปกครองมาไวในกรงุ ศรอี ยรุ ยาเปน็ อนั มาก ไดค้ วามรขู้ นบรรรมเนยี ม ราชการบา้ นเมอื ง ทง้ั ทางกรงุ สโุ ขทยั และกรงุ กมั พชู าถว้ นถด่ี กี วา่ ทเ่ี คยรมู้ าแตก่ อ่ นจงึ เปน็ เหตใุ หแ้ กไ่ ขประเพณี การปกครองเลอื กทง้ั แบบแผนในกรงุ สโุ ขทยั และแบบขอมในกรงุ กมั พชู ามาปรงุ เปน็ วธิ กี ารปกครองกรงุ ศรี ไร?0เ£?

พุดภ า ต ว ห ม ' ห า น ต ์ ในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ และตอ่ มาในรชั กาลสมเดจ็ พระรามาธบิ ดพื ระองคท์ ๒่ี ซง่ึ พระบรมไตรโลกนาถ วธิ ปี กครองทป่ี รงุ ขน้ึ เมอ่ื ระหวา่ ง พ.ศ. ๑ ๙ ๙ ๑ จน พ.ศ. ใน ๒รชั กาลทก่ี ลา่ วมา จงึ ได้ เปน็ หลกั ชองวธิ ปี กครองประเทศสยามสบื มา ถงึ แกไขบา้ งในบางสมยั ตวั หลกั วธิ ยี งั คงอยจู่ นถงึ กรงุ รตั นโกสนิ ทรน์ ”้ี และอกี ตอนหน่งึ ในหนงั สอื เร่อื งเดยี วกันนีไ้ ด้ทรงแสดงไวว้ า่ “ฝายพราหมถ! สง่ั ลอนชนบอรรมเนยี มบา้ นเมอื งและนติ ศิ าสตรร์ าชประเพณเี ปน็ ปแม้ พระเปน็ เจา้ ในศาสนาไสยศาสตร์ เชน่ พระอศิ วร พระนารายณ์ พระพทอคาสนา ไมข่ ดั ขอ้ งตอ่ กน้ จงึ ไดส้ รา้ งเทวรปู เหลา่ นน้ั และทำเทวสถานสำหรบั บา้ นเมอื งปสี บื มาจนกาลบดั น”้ี โดยเฉพาะเรอื่ งทำพระเมรุและมสี ัตว์ปาหมิ พานตด์ ้วยน้ัน มีกล่าวไว้ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราช หัตถเลขาว่าในรชั สมยั พระเพทราชา เมอื่ คราวถวายพระเพลงิ พระบรมศพสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชว่า “ครน้ั ถงึ วนั เพญ็ เดอื นหกปกี นุ เบญจศกไดม้ หาศภุ นกั ขตั ฤกษส์ มเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั กไ็ ดอ้ ญั เชญิ พระบรมโกศลง จากพระมหาปราสาททน่ี ง่ั สรุ ยิ ามรนิ ทรป์ ระดษิ ฐานเหนอื บษุ บกพระมหาพชิ ยั ราชรถ อนั อลงั การดว้ ยสวุ รรณรตั นวจิ ติ ร ตา่ ง ๆ สรรพดว้ ยเศวตบวรฉตั รขนดั พระอภริ มุ ชมุ ลายพรายพรรณ บงั พระสรุ ยิ นั บงั แทรกสลอนพลแตรงอนแตรฝรง่ั อโุ ฆษสงั ขน์ ส่ี นน่ั บนั ลอื สน่ั ดว้ ยศพั ทส์ ำเนยี งเสยี งดรุ ยิ างคด์ นตรี ปกี ลองชนะประโคมครน่ั ครน้ื กกึ กอ้ งกาหลนฤนาท และรถสมเดจ็ พระสงั ฆราชสำแดงพระอภธิ รรมกถา และรถโปรยเขา้ ตอกดอกไมร้ ถโยง รถทอ่ นจนั ทนแ์ ละรปู นานา สตั วจ์ ตบุ าท ทวบิ าททง้ั หลาย หลงั มสื งั เดด็ ใสไ่ ตรจวี รเปน็ คๆู่ แหด่ มู โหฬารดเิรกพนั ลกึ อธกี ดว้ ยพลแหแ่ หนแนน่ บนั เปน็ ขนดั โดยกระบวนขา้ ยขวาหนา้ หลงั ” ตอ่ มาในสมัยรัตนโกสินทร์ เม่ือคราวถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒ไดบ้ ันทกึ ไวว้ า่ “พระเมรุครง้ั นส้ี ร้างตามแบบพระเมรุพระบรมศพสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ครัง้ กรุงเกา่ เปน็ พระเมรุอยา่ งใหญ่ เตม็ ตำรา ขนาดเสาใหญส่ งู เสน้ หนง่ึ ขือ่ ยาวเจด็ วา พระเมรสุ งู ตลอดยอดนน้ั สองเสน้ ภายในมพี ระเมรทุ องอกี ชน้ั ๑ สงู สบิ วาตง้ั พระเบญจาทองคำรบั พระบรมโกศ ปเี มรทุ ศิ ทง้ั แปดทศิ ปสี ามสรา้ งตามระหวา่ งเมรทุ ศิ ชน้ั ในปรี าชวตั ทิ บึ ปกี ฉตั รเงนิ ฉตั รทอง ฉตั รนาก สลบั กนั หลงั สามสรา้ งชน้ั นอก ปโี รงรปู สตั วร์ ายรอบ ปรี าชวตั ไิ มจ้ รงิ ทรงเครอ่ื งฉตั ร เบญจรงค์ สอ้ มโรงรปู สตั วอ์ กี ชน้ั ๑ ต่อออกมาตัง้ เสาดอกไมพ้ ุม่ รายรอบราชวตั อิ ีกชน้ั ๑ แลว้ ปรี ะทาดอกไมส้ งู สบิ สองวา ๑๖ ระทา” ถึงรชั กาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๔ กรงุ รัตนโกสินทร์ เมื่อคราวถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อย่หู วั ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ บนั ทึกความ ไวว้ า่ “สุศกั ราช ๑๒๑๔ ปชี วด จัตวาศก ๒่ีทปน็เ โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหเ้ รง่ รดั ทำการ ฤดแู ลง้ เจา้ พนกั งานจัดการทำพระเมรตุ ลอดยอดนน้ั ๒เสน้ ปยี อดปรางค์ ๙ ยอด ภายในปพี ระเมรทุ องสงู ๑ ๐ วา ไ?๐C0

มุ ด . ก า พ ส ั ต ว ตง้ั เบญจาทองรองพระบรมโกศมเี มรทุ ศิ ทง้ั ๘มรี าชวตั ิ ๒ ฉตั รทอง ฉตั รนาก รายตามราชวตั ชิ น้ั ใน ฉตั ร เบญจรงค์รายตามราชวตั นิ อก มโี รงรปู สตั ว์ รายรอบไปในราชวตั ฉิ ตั รเบญจรงค์ มรี ะทาดอกไมส้ งู วา ๑๖ ระทา มีเครือ่ งประดบั ประดาในพระบรมศพครบทกุ สง่ิ ทกุ ประการตามเยย่ี งอยา่ งประเพณพี ระบรมศพมาแตก่ อ่ น” อนงึ่ ในรัชกาลที่ ๔ น้ัน เม่ือพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชนิ ี ในปจี อจัตวาศก จ.ศ. ๑๒๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๐) และในรชั สมยั รัชกาลท่ี ๔ และเมอ่ื พระราชทานเพลิงพระศพ สมเดจ็ พระนางเจ้าสุนนั ทา กุมารีรัตน์ ในปีมะโรง โทศก จ.ศ. ๑๒๔๒ (พ.ศ. ๒๔๒๓) การทำพระเมรพุ ระราชทานเพลิงพระศพทงั้ ๒ พระองคน์ ี้ ก็ยังมีหลกั ฐานกล่าวถึงสตั วป์ ่าทิมพานต์ตามฃตั ติยราชประเพณีอย่ดู ว้ ย ดังปรากฏในสาส์นสมเด็จที่ไดจ้ ัดมาพิมพไ์ ว้ ขา้ งทา้ ยน้ี เรอ่ื งภาพสตั วป์ า่ ทิมพานตน์ ้ีเปน็ จิตรกรรมซ่งึ ได้เขยี นข้ึนในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รชั กาล ที่ ๓ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์ แลที่มีบษุ บกตัง้ อยบู่ นหลงั สตั วด์ ว้ ยน่ัน กเ็ พราะวา่ เมอื่ เวลาอัญเชญิ พระบรมศพไปส,ู พระเมรุ มหี นุ่ สตั ว์ป่าเหลา่ นีเ้ ขา้ กระบวนแหด่ ้วยจงึ ใชบ้ ุษบกนั้นเป็นที่ตง้ั ภาชนะรองรับไทยทานวตั ถสุ ำหรบั ถวายพระ ที่พระเมรุ ครั้นถงึ พระเมรแุ ลว้ ก็นำหุน่ รปู สัตวเ์ หลา่ น้นั เข้าไว้ ณ โรงรูปสัตว์ ท่ีรายรอบไปในราชวัติ อธบิ ายเรื่องสัตว์ป่าทิมพานต์น้ี มีปรากฏใน “สาล้นสมเด็จ” พระนพิ นธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรม พระยาดำรงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ์ ทรงมีโต้ตอบกันดงั ต่อไปนี้ สาล้นสมเดจ็ ฉบบั วันที่ ๒๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๘๓ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงพระนิพนธ์ไวว้ า่ “พิเคราะหด์ รู ูปสัตวท์ ี่เขียนสตั วอ์ ย่างเดียวผดิ กนั ไปตา่ ง ๆ นั้น หม่อมฉนั เหน็ ว่าน่าจะผิดแตช่ ่างเขียนไม1เคย เหน็ สัตว์ซ่งึ เขียนน้ัน ไดฟ้ ้งแต'คำพรรณนาลักษณะ หรอื ไดเ้ หน็ แตร่ ูปภาพทเ่ี ขียนผิดมาแล้ว กเ็ ขยี นตามนกึ ว่าตัวจริง จะเปน็ อยา่ งไร บางทีก็แกไ็ ขบ้างให้ลักษณะสมกับถุทธ้ิเดชของสตั ว์อยา่ งนั้น ช่างที่ไม,มคี วามคิดก็เปน็ แต่เขยี นจำลอง ตามรปู ภาพทไี่ ดเ้ ห็นคนอ่ืนเขาเขียนไว้ มอี ทุ าหรณ์ทีเ่ คยเหน็ มาเองคร้งั ๑ ในตำรารปู สตั ว์ทมิ พานต์ ทท่ี ำแห่พระบรมศพไปสูพ่ ระเมรุ รูปแรด เขยี นตามลกั ษณะท่ีบอกต่อ ๆ กันมา มีงวงคลายตวั สมเสรจ็ ครน้ั เม่ือต้นรชั กาลท่ี ๔ เจา้ เมืองนา่ นได้ ลกู แรดเลย้ี งเซอ่ื งแลว้ ส่งลงมาถวายตวั ๑ คนในกรุงเทพฯ เพง่ิ ไดเ้ หน็ แรดจรงิ ในครัง้ นั้น เคยเอาบษุ บกเพลิงตัง้ บนหลงั แรดตวั น้ันแห่พระศพคร้งั ๑ ท่านคงจะทรงจำได้ แตน่ ้ันรูปแรดในตำราสัตว์ทมิ พานตก์ ็ถูกรุ รปู ชา้ ง แต่ก่อนก็ไม,รกู้ ันว,ามกี พี่ ันธ์ รูปภาพข้างทช่ี ่างซาวอินเดยี ตลอดมาจนชา่ งพมา่ มอญ ไทย และเขมร เขียนละม้ายคลา้ ยคลงึ กันกเ็ พราะมีขา้ งพันธ์เอเชยี อย่ทู ุกประเทศเหลา่ นน้ั ช่างจีนเขียนรูปข้างรปู รา่ งเชือนไปกเ็ พราะ ในประเทศจีนไม่มขี า้ ง ช่างฝร่งั แต่ก่อนเขยี นรปู ข้างใบหูใหญ่หลังกุ้ง เรากเ็ ยาะว่าไมร่ จู้ ักข้าง ภายหลังจงึ รวู้ า่ เขาเขยี น ตามรปู ขา้ งอาฟริกาซ่ึงเปน็ ขา้ งพนั ธ์หนึ่งต่างหาก รูปราชสีห์ ยงิ่ แตกต่างกันมาก ราชสหี ์ไทย สิงห์ไทย สิงห์เขมร สงิ โตจีน ก็หมายความวา่ ราชสีหท์ ั้งน้ัน แต่ชา่ ง ไม่เคยเห็นตวั ราชสหี ์ (Lion) กเ็ ขียนกันไปต่าง ๆ ตามเคยไดย้ นิ คำพรรณนา ไดเ้ คา้ แตว่ ่าผิดกบั เสอื ทม่ี ีฃนปกุ ปยุ ตง้ั แต่ หวั ลงมาตลอดคอ แต่ช่างไทยคิดไม,เหน็ เช่นเขมรและจีนจึงเลยเขยี นขนคอเป็นครีบและกระหนก มีเรอื่ งโบราณคดี \\ >๐<2?

1๙>พุ ดภาท ส’ต 1 มพา น ต์ ปรากฏวา่ ทูลกระหม่อมมีพระราชประสงคจ์ ะใหใทยรูว้ า่ ราชสีหจ์ รงิ เปน็ อยา่ งไรโปรดให้หาซื้อตัวราชสีหท์ ่ีทำเป็น หุ่นในยโุ รป เอมฟอเรอ นโปเลียนที่ ๓ ทรงทราบพระราชประสงค์ จงึ สง่ เช้ามาถวายในเคร่อื งบรรณาการปรากฏอยู่ ในรูปเขยี นราชทตู ฝรัง่ เศสเขา้ เฝ็าในพระท่นี ่งั อนันตสมาคม แตกไมส่ ำเร็จประโยชนไ์ ปถงึ การซา่ งๆ ยงั เขียนเป็น รปู ราชสีห์ไทยอยู่อยา่ งเดิม ถึงชา่ งต่างชาตเิ ขยี นรปู แรด ช้าง ราชสหี ์ ต่าง ๆ กนั ก็อาจจะรู้วา่ ผดิ ตรงไหน เพราะตวั สตั ว์น้นั ๆ ยงั มีอยู่ แต่ มังกรนน้ั มอี ยู่เพยี งในความคิดไม่มีตัวจรงิ นา่ จะเปน็ เพราะไมม่ ีตวั จริงน่ันเอง จงึ เลยเชอ่ื วา่ มีฤทธเ้ี ดซ และเดาลักษณะ รปู สัตวอ์ ื่น ๆ มชี า้ งและจระเข้ เป็นตน้ เอาเช้ามาเขยี นรปู มังกร ใหส้ มฤทธเ้ิ ดช'ไปต่าง ๆ คงหลกั แต่วา่ เปน็ เค้าเดียว กับสตั ว์พวกจิง้ เหลนและจระเขท้ ฝ่ี รัง่ อ้างว่าจิง้ เหลนยักษเ์ ปน็ มงั กรนนั้ ก็หมายความวา่ เพียงวา่ เป็นต้นพันธุของสัตว์ พวกจ้งิ เหลนเท่าน้นั เหรา โดยลำพังศัพทจ์ ะเป็นภาษาใดกไ็ มร่ ู้ เมื่อไมร่ ู้วา่ ภาษาใดกส็ มมุติโดยลำพังคติทไี่ ทยเราเชา้ ใจกัน จะเปน็ งู หัวเหมอื นมังกร หรือมีตีนอย่างพวกจ้ิงเหลน ถ้าอย่ใู นพวกจิง้ เหลนจะผดิ กับมังกรอยา่ งไร รูปภาพเหราทห่ี ม่อมฉัน นกึ ไคก้ แ็ ตเ่ รือพระท่ีนง่ั เหรา ทอี่ ย่ใู นพพิ ิธภณั ฑสถาน ก็ไม่มีอะไร ที่จะเอาเป็นหลกั ลงความเห็นเปน็ ยตุ ไิ ค้ ในเรือ่ ง รปู สตั ว์ที่ไม่มตี วั จรงิ ฝร่ังกน็ ่าจะเป็นเซ่นเดยี วกับเรา จึงยงั มรี ปู สตั วต์ ่าง ๆ ซง่ึ ไมม่ ตี ัวจริง เรียกขอ้ ต่าง ๆ เหมือนอย่าง สตั ว์หิมพานตข์ องเรา เซน่ Dragon Unicom เปน็ ตน้ และคงทำรปู เขยี น รปู ปนั สัตว์เหลา่ น้ันอยใู่ นเคร่ืองประดับ” สาส์นสมเด็จ ฉบบั วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๔๘๓ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ์ ทรงพระนพิ นธ์ถงึ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ว่า “ตามทีต่ รสั ถึงรปู สตั ว์ ซ่งึ เราทำผดิ กบั ตวั จรงิ นน้ั จบั ใจมาก ราชสีห์ ถงึ แมไ่ ดต้ วั จรงิ เช้ามา กไ็ ม,มใี ครเชอื่ วา่ เปน็ ราชสีห์ เช้าใจกนั วา่ เปน็ สัตวช์ นิดหนึง่ ต่างหาก แมท้ ่เี รียกชือ่ ว่า “สหี ์” กับ “สงิ ห”์ กเ็ ชา้ ใจว่าเป็นสัตวค์ นละอยา่ ง หาเช้าใจวา่ เป็นแต่เพยี งภาษามคธกับสันสกฤตเท่านั้นไม่ ท่ีเปน็ ไปดังนัน้ กค็ งเปน็ เพราะสตั วช์ นดิ น้นั ไม่มใี นบ้าน จงึ กลับไม,ได้ เหมือนกับแรด รปู ราชสหี ์ซงึ่ เราทำกนั อย่นู นั้ สังเกตเหน็ ทางมอญทางพมา่ กท็ ำรูปเหมอื นกนั ใครจะเอาอยา่ งใครกไ็ ม,ทราบ รปู สตั วห์ ิมพานต์ ตามตำราทตี่ รสั ถงึ น้ันเหน็ เปน็ เหลวทีส่ ุด ตกลงผสมเอาตามชอบใจ เซ่น “เหมราอศั ดร” ตัวเปน็ มา้ หน้าเปน็ หงส์ หรอื “มงั กรวหิ ค” ตวั เป็นนกหนา้ เปน็ มงั กร เปน็ ตน้ ในการคิดผสม เห็นจะเปน็ เพราะตอ้ งการ รูปสตั วแ์ หม่ าก สตั วห์ ิมพานตเ์ ดมิ มไี มพ่ อ ก็คดิ ผสมขึ้นตามทตี่ รัสอ้างถึงสตั ว์หมิ พานต์ชองฝรั่ง ทำใหน้ กึ ได้อกี เปน็ หลายอย่าง ทเี่ รียกว่า ‘กริฟพนิ ’ ตัวเป็นราชสีห์มีปกี หน้าเป็นนกนน้ั ก็มาตรงกับ “ไกรสรปีกษา” ของเรานน่ั เอง “สพงิ ” ของอียปิ ตต์ วั เป็นราชสีหห์ น้าเปน็ คน ก็มาตรงกบั “นรสงิ ห”์ ของเรา ทจี่ รงิ นรสิงหก์ ไ็ ม,ใชส่ ตั วห์ มิ พานตท์ างอินเดีย ผกู ข้ึนตามนทิ านอวตารปางหน่ึง พม่าก็ทำสัตว์หมิ พานต์ จงึ กลา่ วไว์ในคมั ภรี ์ไตรภูมเิ ปน็ ตน้ ก็เปน็ สตั วป์ าเรา ตามปรกตนิ ัน่ เอง หาไดเ้ ป็นสัตวอ์ ย่างพิลึกกึกกอื อะไรไปไม่ เหน็ ได้ว่าสัตวท์ มิ พานตท์ ม่ี รี ูปพิลกึ กึกกือไปน้นั เกดิ ข้นึ ทหี ลงั มงั กร ถงึ อยา่ งไรก็เปน็ งไู ม,ได้ เพราะมตี ีน งูไมม่ ตี ีน จะตอ้ งเป็นพวกจิ้งเหลน” ไ?0 ๕}

สาลน่ สมเด็จ ฉบบั วนั ท่ี ๘ ตุลาคม ๒๔๘๓ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ์ ทรงพระนพิ นธ์ ถงึ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ วา่ “จะยอ้ นหลงั กราบทลู เร่ืองสัตว์หมิ พานต์ เพราะว่าจบั ใจในพระดำรัสยิง่ นัก ท่ตี ง้ั ซื่อวา่ สัตว์หิมพานตน์ ้ัน หมายถึงสตั วท์ ที่ ำประกอบดว้ ยกระหนกทกทวย ไม่ได้หมายว่าเป็นสตั วท์ อี่ ย่ใู น ปา่ หมิ พานตอ์ นั สตั ว์ที่อยู่ในปา่ หมิ พานต์นน้ั กเ็ ป็นสัตว์อย่างตรงๆดือ้ ๆเซ่นพรรณนาถึงสระอโนดาตกว็ า่ มที างนํ้า ไหลออก ๔ ทศิ ทางนา้ํ ไหลออกนน้ั เป็นหนา้ ม้า หนา้ ช้าง หน้าโค หน้าสิงห์ (คอื Lion) แล้วกต็ กไปเปน็ ลำนา้ํ ไหลไปสู่ ท่สี ตั ว์เหล่าน้ันอยู่ ไม่ปรากฏวา่ มีสัตวอ์ ะไรซ่งึ ไม,มีอยู่ทีอ่ ื่น สัตวซ์ ึง่ ประกอบด้วยกระหนกทกทวย อันเรยี กว่าสตั ว์หิมพานตน์ ัน้ เหน็ ทีจะมาแต่สิงห์หรือสีหม์ ากกวา่ อยา่ งอนื่ เพราะในลางประเทศไม่มตี ัวจริง จนทำใหไ์ ม,รจู้ ัก จึงเขียนเดาไปตามชอบใจแลว้ ก็จำไปทำตอ่ ๆ กนั ทหี ลงั พวกคำพดู เปรยี บตา่ ง ๆ เซ่น คซสหี ์ กเ็ ปรยี บวา่ ชา้ งกลา้ ราวกบั วา่ สีห์ หรือนรสิงห์ กเ็ ปรียบว่าคนกลา้ ราวกบั สงิ ห์ เมอื่ ไมเ่ ช้าใจว่าเปน็ คำเปรยี บ กท็ ำรูปสัตว์เป็นครึง่ ชา้ งครึ่งสีห์ และเป็นรูปครง่ึ คนคร่งึ สิงห์ ก็เปน็ อนั มรี ปู แปลกไป เอารวมเช้ากบั สัตวซ์ ่ึงเดาทำข้นึ เรียกวา่ สัตวห์ ิมพานต์ แต่ทจี่ รงิ สตั ว์หมิ พานตห์ าไดม้ รี ปู วปิ ลาสนน้ั ไม,เลย บรรดาสตั ว์ซงึ่ เรียกสตั วห์ ิมพานต์ สังเกตจดั ไดว้ ่ามี ๔ จำพวก คอื (๑) เปน็ สัตวต์ รง ๆ (๒) ลอกอย่างเขามา (๓) คดิ ขนึ้ จากคำ กับ (๔) ผสมเอาตามชอบใจ อย่างทว่ี า่ เปน็ สัตวต์ รง ๆ นัน้ ก็เซน่ ชา้ ง ม้า เป็นตน้ อยา่ งทีว่ ่าลอก อย่างเขามานนั้ ก็เซ่นสงิ ห์ สีห์ เป็นด้น ทคี่ ดิ มาแลว้ ผิดจากเดมิ ไปนนั้ เป็นธรรมดาท่ปี ลายมีอฃองช่าง อย่างท่วี ่าคดิ ข้นึ จากคำ ก็คือ ทกั ทอ และ สางแปรง (หรือ แปลงก็ไม,ทราบ) เปน็ ตน้ คำ “ทกั ทอ” ก็มมี าในคำกลอนว่า “ทกั ทอ นรสงิ ห์เม่นหมี” ทักทอ จะเป็นตวั อะไรก็ไม,ทราบ สางนนั้ มีคำอยวู่ ่า “เสือสาง” มีคนเดาว่าเปน็ เสือชา้ ง คำ “สาง” เขาเห็นมาแตช่ า่ งว่ากเ็ ชา้ ที แตน่ ่าจะเปน็ ไปทางผีกไ็ ด้ ดว้ ยมคี ำวา่ “ผีสาง’ อย่างทว่ี ่าผสมก็เซน่ “เหมราอัศดร” ตามท่ีกราบทลู มากอ่ นแล้วนนั้ ” สาลน่ สมเด็จ ฉบบั วันท่ี ๑๔ ตลุ าคม ๒๔๘๓ สมเด็จๆ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระนพิ นธ์ ถึง สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรคิ รานุวัดติวงศ์ ว่า “ลักษณะรูปสตั วห์ ิมพานต์น้ัน หมอ่ มฉันเหน็ วา่ อธบิ ายทีป่ ระทานมาวา่ เป็น ๔ จำพวกนั้นถูกตอ้ ง คำเรยี กว่า สตั วห์ มิ พานตก์ ห็ มายความเพียงวา่ สตั ว์เซน่ น้นั ไม,มที อี่ น่ื หรอื ถา้ ว่าอกี อยา่ งหนึ่ง ช่างเขยี นรูปสตั ว์ทมิ พานตม์ แี ต' ความคิดกบั ผเี มือ ไม,มีความรู้ดเู หมือนจะเป็นเซน่ นั้นเหมือนกันหมดทกุ ชาต”ิ สาล่นสมเด็จ ฉบับวันท่ี ๒๒ ตุลาคม ๒๔๘๓ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริครานุวัดติวงศ์ ทรงพระนพิ นธ์ ถึง สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ วา่ “ข้อน้ีเกิดข้ึนในญาณสืบมาแต่ทก่ี ราบทูลถงึ สัตวท์ มิ พานต์ เกลา้ กระหมอ่ มเคยเลี้ยงลกู หมไี ว้ทหี นงึ่ ดว้ ยเขาเอา มาให์ได้ถามเขาวา่ มนั กนิ อะไร เขาบอกว่ากินข้าวคลุกน้ําตาล ก็ไดท้ ำใหม้ ันกินอยา่ งเขาบอก ไมช่ า้ มันก็ตาย แต่เม่อื นั้น กไ็ ม,ได้คิดอะไร นึกวา่ มนั ตายโดยธรรมดาเปน็ เอง ภายหลังมา เขยี นรูปเร่ือง “ธรรมาธรรมะสงคราม” ถวายพระบาท สมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ ฯ เห็นวา่ รปู เทวดาอธรรมควรจะซ่รื ถเทยี มหมี เพราะมันเปน็ สดี ำสมความเป็นอธรรม และ \\>oh

เปน็ สัตว์รา้ ยตอ้ งตามท่เี ขาวา่ กาฬสหี ์ คอื หมี เขา้ อย่างทเี่ ขาเขยี นรถยักษ์ เทยี มราชสหี ์ แตเ่ ขียนหมีไม,ถูก หาดูอย่าง ในสมดุ รปู สัตว์ซงึ่ ฝรง่ั เขาทำมา กไ็ ม,มหี มไี ทยอยู่ในนน้ั จึงสืบถามคนหลายคนว่าเหน็ ใครเอาหมีมาเลีย้ งไว้ทีไ่ หนบา้ ง เขาบอกวา่ ที่น้นั ท่ีนี่ ตามไปดกู ไ็ ตค้ วามแต่วา่ มันตายเสยี แลว้ ไปพบแหง่ หน่งึ ก็เปน็ ลูกหมอี ย่างท่เี คยเลีย้ งมนั ไว้ ตกลง หาอยา่ งหมตี ัวโต ๆ ไม,ไต้ ก็เขยี นเดาเอาตามบญุ ตามกรรม พวกชา่ งเราถนดั ถ่ายเอารูปฝรัง่ เห็นไม,ได้ จะว่ามากไป ไยมี เอาแตส่ ัตวท์ ่ดี าษดน่ื เชน่ งวั เป็นต้น งวั ฝรงั่ กับงัวไทย เหมอื นกนั เม่ือไร ผดิ กันตัง้ แต่โครงกระดูกขึ้นไปทีเดยี ว มาบดั นี้มาเกดิ ความเหน็ ขน้ึ วา่ เขยี นเป็นหมนี ้นั ออ้ มค้อมไปเปล่า ๆ หาหมดี ไู ม,ไค้เขียนเปน็ ราชสีห์ถมหมึกก็แลว้ กัน งามกวา่ ดว้ ยในการทีไ่ ปเที่ยวหาหมีดูไม,ไต้เพราะมนั ตายเสียหมดแล้วไต้พบแต่ลกู ซงึ่ เคยได้มนั มาเล้ยี งก็ไดค้ ิดทำให้ รูส้ ึกตวั ทันทีวา่ เขลา ไม,ไค้เลีย้ งมนั ดว้ ยอาหารของมนั มันจงึ ตายเสียไม1ทันโต ทใี่ ห้กนิ ข้าวคลกุ น้ําตาลน้ัน กเ็ อามา แตค่ ำพูดกนั ว่า “หมกี นิ ผ้ึง” มันจะกินจรงิ ๆ หรอื ไม่ก็รูไม,ไค้ ลา้ มันกินจรงิ มนั ต้องการจะกนิ น้ัาผง้ึ หรือตัวผ้งึ กร็ ูไ้ ม'่ ได้ เหมือนกัน ถงึ อย่างไรกด็ ี แม้มันกนิ รวงผึ้ง กเ็ ปน็ อตเิ รกาหาร ไมใชอ่ าหารประจำวนั ซง่ึ เปน็ ประจำชวี ติ เหมอื นเล้ียง นกขุนทอง ใหก้ ินข้าวกับไข่ น้นั ก็ผดิ ธรรมดาอยา่ งเอกอุ มันอยปู่ า่ มนั จะเอาข้าวสกุ เอาไข่ทีไ่ หนมากินเป็นอาหารประจำ ชีพ ตา่ งวา่ มันชอบกินไช, ก็จะต้องไปขม่ เหงแยง่ ไขจ่ ากนกทเ่ี ลก็ กว่ามันกิน ย่อมเป็นอติเรกาหารเหมอื นกัน ขา้ วสกุ น้นั ไม,มกี นิ แน่ หมีน้นั ฟ้นมนั เหมือนเสอื คดิ ว่าธรรมดามันที่จะกนิ เน้ือ ไม'่ ใช่,น้าํ ผ้ึง ควรจะสอบถามอ้ายแขกเลน่ หมี “ตมุ มะก -ิ ต มุ มะกินา” วา่ ให้ทันกินอะไร แตกล่วงเวลาพน้ มาเสียนานแลว้ ” สาสน์ สมเด็จ ฉบับวันท่ี ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๔๘๓ สมเดจ็ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศ์ทรงพระนิพนธ์ กราบทูล สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ความว่า “ตามทีก่ ราบทูลมาก่อนถึงเร่ืองสตั ว์หิมพานต์ ตดิ จะพูดคลุมเครือกลวั จะไม,เขาพระทัยแจม่ แจง้ จงึ ไตก้ ราบทลู มาต่อไปน้เี พ่ือให้ซดั ข้นึ อันว่าสัตวห์ ิมพานต์ จะตัดพูดตรงไปในบัดน้ี จำเพาะแต่รปู ราชสีหท์ ำกนั อยูเ่ ปน็ สองอยา่ งที่ตรงหงอน คือ ทำกนั บากเป็นกระหนกอยา่ งหน่ึง แลเปน็ เสน้ ชนอย่างหนึ่ง เห็นวา่ ทำไต้ท้ังสองอย่างจะต้องเข้าใจวา่ ทำเป็นอยา่ งไร ลา้ ทำเปน็ ตัวจรงิ แลหงอนเป็นชนถกู เพราะวา่ หงอนสัตว์ส่ีเทา้ จะต้องเป็นขน บากเป็นกระหนก คอื ใบไม้นน้ั หลงมา จากลาย ถา้ ทำเป็นรปู ราชสหี ์คซสหี ์ในลายบาก หงอนเปน็ ใบไมจ้ ่งึ ควร เพราะเปน็ ลายผกู ข้นึ แตใ่ บไม้ คำวา่ “กนก” น้นั กห็ ลง กนกในภาษามคธ แปลว่าทอง คงเอามาใช้แก'ต้ลู ายทอง คือ ดลู ายรดนัา้ กอ่ น แล้ว เขา้ ใจกันเคลอ่ื นผิดไป เปน็ วา่ ใบไมอ้ ย่างสะบัดไปสะบัดมานัน้ เป็นกนก ความเข้าใจผดิ น้ัน ดูก็เหน็ ขันจะกราบทลู ถวายตวั อยา่ งทสี่ ตั ว์หมิ พานต์น้ันเองในตำรามรี ปู หนึ่ง ทำเป็นราชสหี ์ หัวเปน็ หงส์ จดซ่ือวา่ “เหมราช” ดเู ป็นหลงเอาคำ “เหม” วา่ เปน็ หงส์ เอาคำ “ราช” เป็นราชสีห์ทีแ่ ทค้ ำ “เหมราช” กแ็ ปลไค้ความวา่ พญาทอง เท่านน้ั เอง หวั เหมราชนน้ั มีฟน้ ตลอดปาก อาจคดิ ทำให้เป็นสตั ว์กนิ เนื้อ เขา้ พวกราชสหี ์ ไดก้ ็เปน็ ได้ แตท่ ที่ ำหงสก์ ันกม็ ีฟันตลอด ปากดไู ม่เข้าทีเลย ท่นี กมฟี นั หรือจะเอาอย่างหัวเหมราชไปทำก็ไมท่ ราบ ไต้พบที่บานมกุ การเปรยี ญวัดปา่ โมก ซงึ่ เอามาบรรจุไว้ท่ีวิหารยอดในวัดพระแก้ว ทำปากหงส์เป็นปากนก ไม,มฟี ัน เหน็ เข้าก็ชอบใจ และมียิง่ กวา่ นน้ั นกหสั ดนิ กแ็ กง้ าเปน็ ปากนก มีงวงทบั ไปบนปากดจุ ไก,งวงฉะนน้ั ท่ที ำกันมา กเ็ อาหวั ราชสหี ไ์ ปต่อเขากบั ตัวนกอย่างดื้อ ๆ เพราะซ่อื มันแปลว่านกขา้ ง เปน็ การทำทีไ่ ม,ได้คิดโดยรอบคอบ ใ £>๐C l)

จงึ นำทางให้เขา้ ใจไปว่า การทำปากหงสเ์ ปน็ ปากนกก็ดี การแก้งานกหสั ดินให้เป็นปากกด็ ี เปน็ ของท่านครซู ง่ึ เปน็ ผู้ให้ ลายมกุ ท่านคิดข้นึ ใหม่ ไม่ใชท่ ำตามแบบแผน ซงึ่ เคยทำกันมาแต่เก่ากอ่ น พดู ถงึ หงส์ กน็ ึกคำเครอ่ื งเล่นมหาพนขนึ้ มาได้ มีว่า “หํโส อันว่าหงส์เหมราชธาตชุ อบเยน็ ” ถา้ ใครสงสยั ไม, เคยเหน็ ก็ห่านเรานแี่ หละ ทเี่ ขาเขยี นประดษิ ฐ์และนัน่ มันเกนิ ไป เอากระหนกแนมเขา้ แซมใสใ่ ห้สลวย ดูนอกอย่างหาง ระรวยอะไรน่นั ยาวเปน็ วาสองวา - “คดิ 'ว'าคำแตง่ น้ผี รู้ แู้ ตง่ ไม,มหี ลงอยใู่ นนัน้ เลย” สาส์นสมเด็จ ฉบบั วนั ท่ี ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๓ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ทรงพระนพิ นธท์ ูลสมเด็จฯ เจา้ ฟาั กรมพระยานริครานุวัดติวงศ์ ว่า “มลู ของสัตว์หิมพานตน์ ่ัน หมอ่ มฉนั ลองคดิ วินิจฉัยดู เห็นว่านา่ จะมีเปน็ ลำดับดังทลู ต่อไปนี้ ก) คำทีเ่ รียกวา่ สตั วห์ ิมพานต์ หมายความว่าสัตวอ์ ยา่ งน้ันมแี ตใ่ นป่าหิมพานต์ อันมนษุ ยส์ ามญั ไม่สามารถจะ เหน็ ตวั จริงได้ เพราะฉะนน้ั สตั วจ์ ตบุ าทอย่างใดที่เห็นกนั ดาษดน่ื ดังเชน่ เสือ ข้าง ม้า วัว ควาย เป็นต้นกด็ ี หรือสัตว์ ทวิบาท ดงั เช่น แร้ง เหย่ยี ว และเปด็ ไก่ เป็นตน้ กด็ ี จงึ 'ไม่นับเป็นสัตว์ทิมพ'านต์ ข) เพราะสัตว์หมิ พานตเ์ ปน็ ของท่ีไม,เคยเห็นตัวจรงิ ชา่ งจะเขยี นหรือปนั รูปจงึ อาศยั แตเ่ อาความทบี่ ่งไวใ้ นซ่อื เรยี ก หรอื พรรณนาอาการและลักษณะไว้ตามคำโบราณ มาคิดประดิษฐร์ ปู สตั วห์ มิ พานตข์ ึ้นด้วยปัญญาของตน คาดวา่ คงเปน็ เชน่ น้นั ยกตัวอย่าง เช่น ทำรูปสิงห์กบั ราชสีหเ์ ปน็ สตั ว์ต่างกันและทำรปู นกทณั ฑิมาใหถ้ อื ไม้เท้า และมีมอื เพราะต้องถือไม้เท้า สตั ว์บางอย่างกค็ ดิ รปู เลยไปดว้ ยขาดความรู้ เช่น ให้หงส์มเี ขย้ี วมีฟนั ดงั ทรงปรารภน้ันเปน็ ต้น และกนิ นรด้วยอีกอย่าง ๑ ก็ทำผิดพระบาลีซ่ึงว่ากนิ นรเป็นคน ปกี หางเปน็ แตเ่ ครื่องแต่งตัว ต่อเวลาจะไปไหนจึงใส่ ปีกหางบนิ ไป เม่อื สน้ิ กิจการบนิ แลว้ กถ็ อดปีกหางออกเก็บไว้ต่างหาก เช่นกลา่ วในเรือ่ งพระสธุ น เพราะฉะนน้ั กินนร จงึ สมพงศก์ บั มนุษย์ได้ แตร่ ปู กินนรท่ีทำกัน ทำทอ่ นบนเป็นมนษุ ย์ ทอ่ นล่างเปน็ นก ขัดกบั ความในพระบาลีทีเดียว จึงเห็นวา่ เปน็ ด้วยขาดความรู้ ค) เมอื่ ชา่ ง ผเู้ ป็นต้นคิด ได้ทำรูปสตั วท์ มิ พานต้อย่างใดให้ปรากฏขึ้นแล้ว ชา่ งภายหลงั กท็ ำรปู สัตว์ทมิ พานต้ อย่างนัน้ ตามที่ปรากฏถอื เปน็ แบบต่อมา แมจ้ ะแก้ไข ดูกเ็ ป็นแต่ในทางประดับ เช่น กระหนก เป็นตน้ ฆ) รูปสัตวท์ มิ พานต้เดมิ คงมนี ้อยอยา่ ง ดเู หมอื นจะมแี ต่สตั วท์ ี่ซ่อื ปรากฏในพระบาลี และเรยี กซอ่ื เฉพาะตัว สัตวน์ ้ัน ๆ ท่มี าเรียกรวมกันว่าสัตว์ทิมพานต้ น่าจะบญั ญตั ขิ นึ้ ตอ่ ภายหลงั เม่อื มรี ูปสตั วพ์ วกนั้นเพม่ิ เติมข้นึ อกี มากมาย เหตุทีเ่ พิ่มรปู สัตว์ทมิ พานต้มีมากขึน้ อาจจะมีเหตุทห่ี ม่อมฉนั ยงั ไม,ไดค้ ิดเหน็ แตท่ ีพ่ อคดิ เหน็ น้ัน เห็นว่าน่าจะเกดิ แต่ ทำเครอื่ งแห'พระบรมศพ เดิมทำแต่พอจำนวนเจ้านายฃ่ีอุม้ ผา้ ไตรไปในกระบวนแห่ ต้ังแตเ่ ปล่ยี นเป็นทำบษุ บก วางไตรบนหลังรปู สัตว์ จึงเพิ่มจำนวนสัตว์ขน้ึ การท่เี พ่มิ น้ัน จะเพม่ิ ดว้ ยเหตใุ ดก็ตาม ชา่ งตอ้ งคิดรูปสตั วข์ ้นึ ใหมใ่ ห้ แปลกออกไป จงึ จับโน่นประสมนี่ สดุ แต่ใหแ้ ปลกกับรปู สัตว์เดิมท่มี ีอยู, และอาลกั ษณ์กต็ ้องคิดซื่อเรยี กสตั ว์ที่คิดขึ้นใหม่ จึงเกิดรูปสัตว์นอกรีตต่าง ๆ เช่น มยุรเวนไตย เปน็ ตน้ วา่ ถึงรูปสัตวแ์ หพ่ ระบรมศพ แตก่ อ่ นเมือ่ เสรจ็ งานแลว้ มักเอาไปตง้ั ทิ้งไว้ตามพระระเบยี งวัดใหญ่ เช่น วดั มหาธาตุ และวัดสุทัศนเ์ ป็นต้น หม่อมฉันเคยเห็นท้ัง ๒แหง่ เห็นท่วี ดั สุทศั นเ์ ปน็ รปู สตั ว์ นอกแบบสตั วท์ ิมพานตอ้ อกไปอกี ไดย้ ิน วา่ ทำเมอ่ื งานพระเมรสุ มเด็จพระเทพคริ ินทรา บรมราชินี หรืองานไหนจำไม่ไดแ้ น่ แต่เปน็ ภาพกินนรจีน ท่อนบนเปน็

ZJ เซ่นตัว'งิ'้ วหนา้ ดำหนา้ แดงตา่ ง ๆ ทอ่ นลา่ งเป็นเซ่นสงิ โต ทา่ นไดท้ อดพระเนตรเห็นหรอื ไม่ ดูยักเย้ืองแปลกอยู่ ไมท่ ราบ วา่ ความคดิ จะเกิดขึ้นด้วยเหตอุ ันใด” สาส์นสมเด็จ ฉบับวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๔๘๓ สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟัากรมพระยานรคิ รานวุ ัดติวงศ์ ทรงพระนพิ นธ์ ทลู ตอบสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ว่า “เรื่องสตั ว์หิมพานตอ์ าจกราบทูลไดม้ าก เพราะไดศ้ ึกษามาในทางนน้ั มาก กนิ นรจีน เป็นของทำขนึ้ เมื่อครั้งพระเมรุสมเด็จพระนางสุนันทา เจ้าด้งเปน็ ผู้คิด คิดตามแนวสัตว์หมิ พานต์ ซงึ่ เคยสำหรบั งานพระเมรุมาแตก่ ่อนซึง่ จับโนน่ ซนนี่ ทำทีว่ ังพระองศ์เจา้ ประดษิ ฐวรการ หลวงเลขาวิจารณ์ (จนี ซึง่ เรียกกันวา่ “หลวงจนี ”) เป็นผปู้ ้นตลอดถึงเขยี นทร่ี ปู จนี เบ้อื งบน แตท่ กี่ ะวา่ ให้ทำกี่คู,น้นั ไมท่ ราบวา่ ใครกะ แต่ไม,มี อย่างอื่น ต้องเปน็ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงกะ หลวงจนี น้ันก็ประหลาด เกลา้ กระหม่อมเคยพบมากอ่ นทีหนง่ึ แล้ว มาอวดดีต่าง ๆ กใ็ หน้ กึ เกลยี ดหนา้ แตค่ รัน้ ฝ่าพระบาทตรสั ใซ่ให้แตง่ ห้องโรงทหารมหาดเล็ก ในงานเฉลิมพระชันษาคราวหน่ึงเปน็ อยา่ งจนี ให้ทำกับนายตว่ น (นายใหญ)่ เขาบอกวา่ งานมากนัก จะไปตามเพือ่ นมาชว่ ย เพอื่ นของเขาทโ่ี ผลห่ นา้ มา ก็คือนายจนี นน่ั เอง ตงั้ แต่ รว่ มงานกนั คราวน้นั มา ก็เลยคนุ้ เคยกนั แตกไม1พ้นอวดดไี ปได้ เว้นแต่ค่อยยังชว่ั ลง เพราะจะรู้สกึ ว่าเกล้ากระหมอ่ ม กเ็ ขา้ ใจการช่างอย่บู ้างหรืออยา่ งไร ไม่ทราบ พระดำรสั ตามพระดำริวา่ สตั วห์ ิมพานต์เดิมทคี งมีน้อย แลว้ มาปรงุ ข้ึนสำหรบั การพระเมรุ จงึ มีมากนน้ั เป็นการ ถกู แทท้ ีเดียว ตำราสตั วห์ มิ พานตก์ เ็ ห็นมีแตต่ ำราทำสำหรับการพระเมรุเทา่ น้ัน ตำราตวั จริงไม,เหน็ มี หมดดีเสียทรี่ ูป สิงห์กบั ราชสีหก์ เ็ ขา้ ใจวา่ เปน็ คนละอย่าง ทำรปู สงิ หไ์ ปอย่างหนึง่ รูปราชสหี ไ์ ปอีกอย่างหน่งึ ได้เคยสังเกตมาแล้ว รปู ราชสหี ์ คซสีห์น้ันมีมาแล้วแตอ่ นิ เดีย รูปนกหสั ดนิ กม็ แี ต่หัว ไม,มีงวงมีงา เป็นอย่างนกอินทรีเท่าน้ันเอง เวน้ แต่เฉีย่ ว เอาข้างไปกนิ ตัง้ สองสามตัว แสดงวา่ ใหญ่ นก “พนั 1ฑมาน'วก” นนั้ ได้เคยดน้ มาทีหนงึ่ แลว้ ในพระบาลีวา่ มปี ากยาวดจุ ไม้เทา้ จดอยูบ่ นใบบวั แสดงว่า ตวั เล็กมาก ไมใ่ ชต่ ัวเปน็ ครุฑ ที่ทำตวั ใหเ้ ปน็ ครฑุ ก็เพราะไม้ทา้ วนำไป ล้าตวั ไม่เป็นคนกไ็ ม่ได้ ไม่มมี ีอจะถือไมท้ า้ ว ครุฑน้ันก็ประหลาด ในทางสนั สกฤตเปน็ ซื่อจำเพาะตวั เดียว แตใ่ นทางบาลีเป็นซือ่ สัตว์ชนดิ หน่ึงซ่ึงมีอยู่มากมาย เชน่ เรอ่ื งพระอินทร์ลักพาเอานางสุชาดาไป อำนาจความกระเทอื นของรถ กท็ ำให้ลูกครฑุ ตกลงมาจากรงั ครุฑนน้ั ลน้ิ กวที วี่ า่ ไว้เดมิ ก็เปน็ นก แตแ่ ล้วลนิ้ กวที ่วี ่าต่อ ๆ ไปเอากิริยาคนใส่มากขน้ึ รูปกต็ ้องกลายเปน็ คร่งึ นกคร่ึงคนไป ไมเ่ ช่นนนั้ ก็ทำกริ ิยาอยา่ งใดไม่ได้ “เวนตย” ซง่ึ มาเปน็ “เวนไตย” นน้ั กเ็ ปน็ ครุฑ ตวั ด้นโดยจำเพาะ แปลงมาแต่คำ “วินตา” อนั เปน็ ซือ่ แม่ หมายความวา่ เกิดแตน่ างวินตา “มยรุ เวนไตย” เปน็ จับโนน่ ซนนึ่ รปู รา่ งเป็นครึง่ วิทยาธรครงึ่ นก ถอื หางนกยูงแสดงวา่ เหลว ขาดความรู้ “กินนร” นน้ั ชอบกล ทางบาลสี ันสกฤตเป็นตวั ผู้ ว่าหน้าเปน็ มา้ ตวั เป็นคน เป็นบริวารของทา้ วเวสสุวณั นัยหนง่ึ ว่าเปน็ คนธรรพ้ พวกเล่นเพลงของเทวดาโดยลักษณะนเ้ี รยี กว่า “อศั วมุข”ี กเ็ รยี ก เลอื นมาทางไทย กลายเปน็ “อคั ขมขู ี” เพราะฟังไม1สรรพ จบั มากระเดียด ท่ตี รงตามเดมิ ก็มี คือนางแก้วหนา้ มา้ แต่กลายเปน็ ผหู้ ญงิ ไป กนิ นร ผหู้ ญงิ ต้องเปน็ “กินนรี” ทางบาลีสนั สกฤตแปลว่า นางฟัา หรือถัดมากเ็ ป็นอัปสร คอื ละครชองเทวดา ตามท่ีว่านี้ ไ?๐๙'

๔Z!Jพดุ ภ า พ ๔ ต ว ห ม พ า น ต ' เขา้ เร่อื งนางมโนหรา ท่ีวา่ ใสป่ กี หาง ท่แี ท้ “กนิ นร” หรอื “กนิ นร”ี ไม่มีกล่าวถึงปีกหางเลย แต่ทำไมจึงทำเกีย่ วกบั นกไป ไม,ทราบ รูปทพี่ บ เปน็ ครง่ื คนคร่งึ นกก็มี ทเ่ี ป็นรปู คนติดปีกติดหางอย่างนางมโนหรากม็ ี ล้วนแตเ่ ปน็ นางทั้งน้นั ทที่ ำ รูปกนิ นรผู้ชายกม็ ี แตม่ 'ี นอ้ ย จะตอ้ งปรับวา่ ทำเหลวดว้ ยไม1รู้ สาส์นสมเดจ็ ฉบบั วันท่ี ๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๘๔ สมเดจ็ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานวุ ดั ติวงศ์ ทรงพระนพิ นธ์ ถึง สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ว่า “รปู ครง่ึ คนครึง่ สัตว์ ซ่ึงพระดำรัสว่าทำตามอย่างชาติต่าง ๆ นัน้ เห็นเปน็ ถกู อยา่ งยิง่ เซ่น “สฟิง” ก็มมี าแลว้ แตค่ รง้ั อียปิ ต์ ทั้งตราอาร์มออสเตรยี กม็ ตี ัวอะไรลืมซือ่ เสียแล้วอยูส่ องข้าง ตวั เป็นสงิ หห์ น้าเปน็ นกอนิ ทรีมปี ีกดว้ ย คนแต่กอ่ นดูเหมอื นจะนับถอื สัตว์มากกว่าคน สงั เกตเรื่องนารายณ์ ๑๐ ปาง ก็เปน็ สัตวเ์ ดียรัจฉานมากกวา่ คน เพราะคนทำอะไรไดม้ าก อยู่ขา้ งจืด ถา้ เป็นสัตว์แล้วเค็มขึ้นเก่ียวดว้ ยปาฏิหาริย์ จะกลา่ วถึงสตั วช์ นิดทเ่ี จ้านายตรสั เรยี กว่า “สตั ว์โซโด” เปน็ การสมควรยงิ่ กวา่ ที่เรียกกนั วา่ “สตั วท์ ิมพานต”์ ทีเ่ รยี กเชน่ นนั้ ดูก็เป็นเหลว สัตวท์ ิมพานตจ์ ริง ๆ กลา่ วแต่เปน็ สตั วป์ รกติ มี ช้าง มา้ งวั สิงห์ เปน็ ตน้ ในการที่เราทำรปู สิงห์ไปไหน ๆ ก็เพราะสิงหบ์ ้านเราไม่มี ทำไป ตามบุญตามกรรม ถา้ เทียบกับชาตอิ ืน่ เซน่ จีนและชวา เปน็ ต้น ก็ผดิ กันมาก นน่ั เขาใกล้สิงหม์ ากกวา่ เรา อน่ึงคำ “สีห์” กบั “สงิ ห”์ ก็เป็นคำเดยี วกนั เปน็ ภาษามคธกบั สนั สกฤตเทา่ น้ัน คำวา่ “สงิ ห”์ เขาลงนิคทิตในที่ฟน้ หนคู ำมคธทเ่ี รียก ราชสีหก์ เ็ ป็นแต่ตวั นาย ไม,ใชจ่ ะเป็นไปทกุ ตัว ท้ังคำ “ราชสหี ”์ กม็ ี “สีหราซ” กม็ ี กลบั กันอยู่ ในภาษามคธจะเปน็ อยา่ งไรไม่ทราบ แตใ่ นภาษาไทยคิดวา่ ผิดกนั อนง่ึ รูปราชสหิ ์ที่มีงวงมีงาก็มีทำ แตเ่ รยี กว่า “ทักกะทอ” เซ่นในหนังสือเกา่ ๆ กม็ 'ีว,า “ทักกะทอนรสิงห์เมน่ หม”ี ทักกะทอจะเปน็ สตั ว์อะไรก็ไมท่ ราบ เขา้ ใจว่าท่ีผูกอย่างน้นั ขึ้นครง้ั แรกก็ตง้ั ใจจะทำเปน็ คซสีห์ แตท่ ีหลงั ทำคซสหี ์ มหี ัวเปน็ ขา้ ง ราชสหี ท์ ่ีมีงวงมงี ากลายเปน็ “ทักกะทอ” ไป แท้จรงิ คำวา่ “คซสีห”์ น่นั ก็ตัง้ ใจจะยกยอ่ งขา้ งวา่ เก่ง เหมือนกบั ราชสีห์ มีซ่ือช้างระวางอยู่ว่า “พลายสงั หารคซสีห์” คซสีหใ์ นที่น้นั ก็หมายถึงข้าง ทางอินเดยี ทำรปู ชา้ ง เฝืาประตูเฝา็ กระไดกม็ ี ท่ีทำรูปราชสหี ์เปน็ ท่ขี า้ งกไ็ ดส้ ังเกตว่ามีมาแตท่ างอินเดียแล้ว ไม1ใชเ่ ราคดิ ขน้ึ คำวา่ นรสงิ ห์ เรากม็ ี แตล่ ายถว้ ยขามในตำราสัตวท์ ิมพานตซ์ ่งึ แหพ่ ระศพมีเติมคำข้ึนว่า “เทพนรสงิ ห”์ น่นั ก็คงเป็นเพราะมี “อัปสร สีหะ” เปน็ อิตถถี ึงศ'์ ขึ้น ทางอินเดียก็มี “นรสงิ หาวตาร” แล้ว มรี ูป “วราหาวตาร” ทำตัวเปน็ คนหนา้ เป็นหมอู ีกดว้ ย แต่ในหนงั สือกก็ ลา่ วเป็นหมูแท้ ๆ นั่นกเ็ กย่ี วกบั เรื่องปาฏิหาริยเ์ หมือนกนั คำว่า “สัตว์ทมิ พานต์” กลัวจะมาสมมติ กนั ขึน้ ในบา้ นเราน้ี ตามท่ีตรสั ว่ามองสเิ ออร์ฮาดวุ ินหนา้ เปน็ สิงโตกลางคนื น้นั ผดิ ไป ทีแ่ ทเ้ ปน็ มองสเิ ออรล์ อยู แตห่ ลวงนิพัธ'ราชกิจ หน้าเป็นสงิ โตกลางวนั นนั้ ถกู แล้ว” สาสน์ สมเดจ็ ฉบบั วันท่ี ๒๔ธนั วาคม ๒๔๘๓ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ทรงพระนิพนธ์ ถึงสมเด็จฯ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรคี รานุวดั ติวงศ์ ความวา่ “เรอื่ งสัตว์ทิมพานต์ท่ปี ระทานอธบิ ายวา่ กนิ นรจนี ทำเม่อื งานพระเมรุสมเดจ็ พระนางสนุ นั ทานัน่ เปน็ ความจริง ที่ขอ้ งใจหม่อมฉันชอบกลนกั หนา คอื คิดไมเ่ ห็นว่าสมเด็จพระพทุ ธเจา้ หลวงจะโปรดรูปกนิ นรจีนว่างดงามอยา่ งไร จึงใหเ้ อามาทำแทนรูปสัตวท์ มิ พานตใ์ นงานพระเมรุ รปู กนิ นรจึนทหี่ ม่อมฉันไดเ้ หน็ เอาไปไวท้ วี่ ัด เดมิ กไ็ มท่ ราบว่าทำ ร)o

?ม ุด ภ ๆ พ 'ส ัต ว ์ห ม พ าน ต ' ในงานพระเมรุครัง้ ไหน ถามผู้ใหญ่ (จะเป็นใครกน็ กึ ไม,ออก) เขาบอกว่าทำเมื่องานพระเมรสุ มเด็จพระเทพคริ ินทร (หรือมิฉะน้ันออกพระนาม สมเดจ็ พระนางสนุ นั ทา แตห่ ากหม่อมฉนั ลมื ไปเสยี และบอกตอ่ ไปวา่ เหมอื นอย่างครั้ง พระเมรสุ มเดจ็ พระเทพศิรนิ ทร) หม่อมฉันจึงจบั เอามาจำวา่ ทำเมอื่ งานพระเมรสุ มเด็จพระเทพคิรินทร แตก่ ็มื เค้าอย่ดู ว้ ย เมื่องานพระศพสมเด็จพระนางสุนันทาน้ัน ดเู หมอื นสมเด็จพระพุทธเจา้ หลวงตง้ั พระราชหฤทัย ทำตามแบบอย่างครัง้ พระศพสมเดจ็ พระเทพคริ นิ ทรที่มืกงเตก๊ เพราะเหตนุ ั้น ซวนให้เหน็ วา่ ท่ีโปรดให้ทำกินนรจีน กเ็ พราะเหตอุ ันเดียวกัน คำที่พรรณนาถึงสตั วท์ มิ พานตก์ ด็ ี ป่าทมิ พานต์ก็ดี ยกตัวอยา่ งเซ่น ที่พรรณนาในเทศนม์ หาชาติ เป็นตน้ ลว้ น เปน็ คำของผ้ทู ่ีไม,เคยเหน็ สัตวแ์ ละสถานทีท่ พี่ รรณนาท้ังน้ัน ฝรง่ั บวชท่มี าอยใู่ นกรงุ เทพฯ เคยแต่งหนงั สอื ลงพมิ พ์ อธิบายเรอ่ื งอะไรตา่ ง ๆ หม่อมฉนั สงั เกตมา กไ็ มเ่ หน็ มอื ะไรเป็นแก่นสาร ที่ว่าจะไปอยถู่ ้าํ ในป่าทมิ พานต์ กว็ ่าไปตาม เชอื่ ลอื คำของผูไมเ่ คยไปน่ันเอง หมอ่ มฉนั มเื รือ่ งจะเล่าถวาย เม่อื คร้ังหม่อมฉันกลับจากยโุ รปมาทางอนิ เดีย พระยาคริ ิ ธรรมบริรกั ษ์(ทบั ) เวลาน้ันยงั เป็น “นายทบั ” มหาดเล็กรบั ใช้ชองหมอ่ มฉัน ออกไปรับทเ่ี มืองกาลภตั ตา หม่อมฉันพา ไปเทย่ี วถึงเมืองดาซลี ิงที่บนภเู ขาหิมาลัยด้วย หม่อมฉันบอกวา่ ท่เี รามานี่อยใู่ นป่าทมิ พานต์ เมอ่ื กลับมาถงึ กรงุ เทพๆ พระยาคิริธรรมฯ ไปหาท่านธรรมทานาจารย์ (จ'ุ น) วดั สระเกศ ผูเ้ ป็นอาจารย์ท่านถามว่าได็ใปถงึ ไหน พระยาคิริธรรม บอกวา่ “ผมได็ใปถึงบนเขาในปา่ ทมิ พานต”์ ถกู ทา่ นเจ้าจุ,นเอด็ ขนานใหญ่วา่ ไปเมืองนอกประเดยี๋ วเดยี วไปเรียนวชิ า โกหกกลับมา พระยาคิริธรรมวา่ หม่อมฉันได้บอกเองวา่ ไปถึงป่าทิมพานต์ ทา่ นยงิ่ โกรธว่า “พูดดรู าวกบั ชา้ ไม1รู้ ปา่ ทมิ พานตน์ นั้ ไปได้แตเ่ ทวดากับฤๅษสี ิทธวิ ทิ ยาธรทร่ี ้เู หาะเทิน เอง็ เป็นมนุษยเ์ ดินดนิ จะไปได้อย่างไร ช้าไม่เชื่อ” พระยาคริ ิธรรมฯ กส็ นิ้ พดู ” นอกจากน้ี ยงั มคี ำอธิบาย “กเิ ลน” และ “มงั กร” ของพระยาอนมุ านราชธน (ยง เสฐยี รโกเศศ) ในหนังสือ นิตยสารศลิ ปากร ปที ี่ ๓ เลม่ ท่ี ๒ วา่ ตังนี้ “กเิ ลน ถา้ เป็นตัวผเู้ รียกว่า ช่ี ตัวเมยี เรยี กวา่ หลิน รวมเรยี กว่า ข่ีหลิน เป็นสัตว์ทพิ ย์ ปรากฏข้ึนเมอ่ื ใด กเ็ ปน็ สวัสดิมงคล เพราะฉะนัน้ จงึ มกั ปรากฏตวั เมอ่ื บา้ นเมอื งอยเู่ ย็นเป็นสขุ หรือมผี ู้มืบุญมาเกิด ตามตำราว่า กเิ ลน ตัวเป็นกวาง หางเป็นงัว มืเชาเดยี ว ไมบ่ อกวา่ หนา้ เป็นอยา่ งไร สว่ น มงั กร ในตำราใหล้ ักษณะไว้พสิ ดาร ไมแ่ พ้สัตวท์ มิ พานต์ คอื มีศรี ษะคล้ายอบธ๘5 เขาคล้ายกวาง ตาคลา้ ย กระต่าย หูคลา้ ยงวั คอคล้ายงู ท้องคล้ายเหีย้ เกล็ดคล้ายปลาหลรี ื้อ (ในจำพวกปลาตะเพียน) เล็บคล้ายนกอินทรี อ้งุ เล็บคลา้ ยเสือ เกลด็ มีจำนวน ๘๑ เกลด็ เสยี งคลา้ ยเสยี งฆ้อง สองช้างปากมีหนวดเครา ใต้คางมมี ุกดา ใต้คอมื เกลด็ ยอ้ น หายใจเป็นเมฆ บางทกี แ็ ปรเป็นฝนหรอื เปน็ ไฟ (มภี าพประกอบ)” แมเ้ มื่อคราวถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ณ ปีมะเล็ง เอกศก ๑๒๓๑ (พ.ศ. ๒๔๑๒) ก็ยงั กลา่ วถึงสตั ว์ปา่ ทิมพานต ๑’ คร้นั ถึงรัชกาลที่ ๖ เมื่อจะทำพระเมรุถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว มีเอกสารเปน็ พระราชหตั ถเลขาฉบับหนงึ่ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เม่ือยงั ดำรงพระชนมอ์ ยูโ่ ดย (๑) ดวู ารสารศิลปากร ปที ่ี ๕ เลม่ ๒ หน้า ๖๗

สวัสดีภาพไดพ้ ระราชทานกระแสพระราซดำริดำรสั สง่ั ถึงการพระเมรพุ ระบรมศพของพระองคไวว้ ่าดังน้ี“แตก่ อ่ นมา ถ้าพระเจา้ แผน่ ดินสวรรคตลง กต็ อ้ งปลกู พระเมรุใหญซ่ งึ่ คนไมเ่ คยเหน็ แลว้ จะนกึ เดาไม่ถูกวา่ โตใหญ่เพียงไรเปลอื งท้ัง แรงงานคนและเปลืองทงั้ พระราชทรัพย์ถ้าจะทำในเวลานกี้ ็ดูไมส่ มกบั การเปล่ียนแปลงของบ้านเมืองไมเ่ ป็นเกียรติยศ ยดื ยาวไปได้เท่าใด ไม่เป็นประโยชนแ์ ก,คนทง้ั ปวง กลับเปน็ ความเดือดร้อน ถา้ เปน็ การศพท่านผมู้ ืพระคณุ หรอื ผมู้ ี บรรดาศักด้ีใหญ่อันควรจะได้เกยี รตยิ ศ ฉันกไ็ ม,อาจจะลดทอน ด้วยเกรงวา่ คนจะเขา้ ใจวา่ เพราะผูน้ ัน้ ประพฤติไมด่ ี อย่างหนง่ึ อย่างใด จึงไม่ทำการศพใหส้ มเกยี รตยิ ศที่ควรจะได้ แต่เม่อื ถึงตัวฉนั เองแล้ว เหน็ ว่าไม่มขื ้อขัดขวางอันใด เป็นขอ้ คำทจี่ ะพดู ไดถ้ นดั จึงขอให้ยกเลิกงานพระเมรุใหญน่ ั้นเสีย ปลกู แตท่ ีเ่ ผาพอสมควรในทอ้ งสนามหลวงแล้ว แต่จะเห็นสมควรกันต่อไป” (จากเทศาภบิ าล เลม่ ๑๐ แผ่นท่ี ๕๙) อาศยั เหตุนี้ เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัวสวรรคตแล้ว เสนาบดีสภา อันมพี ระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู วั เปน็ ประธาน จงึ ได้ทรงจัดการพระเมรตุ ามพระราชประสงคข์ องสมเด็จพระบรมชนกนาถ กล่าวคอื พระเมรุขนาดใหญ่ทีท่ ำตามราชประเพณีมาแต่โบราณกาลนน้ั ใหย้ กเลิกโปรดให้ทำพระเมรบุ ษุ บกขนาดนอ้ ย ณ ท้องสนามหลวงเป็นทีถ่ วายพระเพลงั มเี มรทุ ศิ มีสำลา้ ง มีพระทน่ี ัง่ ทรงธรรม มีโรงทพี่ กั และเคร่ืองสงู ราชวตั ฉิ ตั ร ธงประดบั ตามพระเกยี รติยศ ให้เลิกการฉลองตา่ ง ๆ จำพวกดอกไม้เพลิง และมหรสพทุกอย่างและไมต่ ้องมีการต้งั โรงครัวเลยี้ ง เลกิ ตน้ กลั ปพฤกษ์ เปลี่ยนเปน็ พระราชทานของแจก การถวายพระเพลงิ น้ัน เชญิ พระโกศพระบรมศพจาก พระทีน่ ่ังดสุ ติ ไปเข้ากระบวนทหี่ นา้ วัดพระเซตุพน เดนิ กระบวนจากวัดพระเซตุพนมาประดษิ ฐานพระโกศพระบรมศพ ไวท้ ่พี ระเมรุท้องสนามหลวง เวลาเยน็ ถวายพระเพลิง ร่งุ ขน้ึ เวลาเขา้ แห่พระบรมอฐเิ ขา้ ส่พู ระบรมมหาราชวงั เข้าใจวา่ เรือ่ งสตั ว์ปา่ ทิมพานต์ท่จี ัดทำขึน้ ในงานพระเมรนุ ั้นตอ้ งเลกิ ทำในคราวน้ัน เป็นตน้ มา





ร -i ^ 1 ^^^^^^^^i^2^i^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^เร^^ุ่^;^^®^^^-f^tt^^-.f'>tf^Sfiv-เ^^^^ ^^ ^^^^^^^^^^isi^^^^^^^rII^^i$ร¥เร่^^^^^^^p^^y^ ^ ^ ร. Ste^&'^^^^fe^cl^K^;ฯ|><|V;fekd;2:;‘>: sill ^ รv < ^ ^^M ttM t^^i^M ^tiS^L


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook