Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกพื้ชโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ

การปลูกพื้ชโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ

Published by jariya5828.jp, 2021-07-13 03:22:38

Description: การปลูกพื้ชโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

โดย … อาจารยท พิ วรรณ สิทธิรังสรรค งานเกษตรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ฝา ยวชิ าการ ศูนยฝก และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม วดั ญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อนั เน่อื ง มาจากพระราชดําริ จัดทําเอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส : สํานักสงเสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 2 …สารบัญ… ! การปลกู พชื ผกั โดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ ! ความหมายของเกษตรธรรมชาติ ! แนวคดิ เกย่ี วกบั การเกษตรธรรมชาตขิ องทา นโมกิจิ โอกาดะ ! หลกั เกษตรธรรมชาติ ! การปรบั ปรงุ ดนิ ใหม คี วามอดุ มสมบรู ณ ! ปุย อนิ ทรยี แ ละปยุ ชวี ภาพ ! ปยุ อนิ ทรยี  ! ปยุ หมกั ! ปยุ นา้ํ ชวี ภาพ ! เชอ้ื ไรโซเบยี ม ! เชอ้ื ไมโครไรซา ! การปองกันและกาํ จดั วชั พชื โดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ ! ตัวอยา งการปอ งกนั และกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ! ขอเสนอแนะในการปอ งกนั และกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ! แนวทางการปรบั เปลย่ี นมาสเู กษตรธรรมชาติ ! เทคนคิ การผลติ ผกั ! เราไดอ ะไรจากการทําเกษตรธรรมชาติ

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 3 …คํานาํ … การปลกู พชื ผกั โดยวธิ เี กษตรธรรมชาตไิ มใ ชส ารเคมแี ละปยุ เคมี เปนผล งานชิ้นหนึ่งที่มีคุณคาที่จะเผยแพรสูผูอานซึ่งรักและหวงใยในเพื่อนมนุษยและสิ่งแวดลอม โดย เอกสารเรื่องน้ีมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับหลักการเพาะปลูกโดยวิธีเกษตรธรรมชาติซึ่งไมใชปุยเคมี และสารเคมี การใชปยุ ชวี ภาพทดแทนปยุ เคมีและการใชวธิ กี ารตางๆ ในการปอ งกนั และกาํ จัด ศัตรูพืชเพ่ือทดแทนการใชสารเคมี สํานักสงเสริมและฝกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ขอขอบคุณผูเชียน คอื อาจารยทิพวรรณ สทิ ธริ งั สรรค ไวเ ปน อยา งยง่ิ ที่ไดถายทอดประสบ การณจากการศึกษาทดลองและการทาํ งานดา นเกษตรธรรมชาตโิ ดยตรงมาเปน เวลา 7 ปกวา แลวโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเกษตรกร เยาวชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ครู อาจารย นกั วชิ าการ นักสงเสรมิ การเกษตร และประชาชนผูสนใจทั่วไปไดศึกษา ซง่ึ จะเปน ประโยชนตอ ชีวิตประจาํ วนั และอาชพี รวมทง้ั นําไปใชเ ปน แนวทางในการพฒั นาเกษตรธรรมชาตติ อ ไป สํานกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร

การปลกู พืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 4 การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติไมใชปุยเคมีและสารเคมี โดย อาจารยท พิ วรรณ สทิ ธริ งั สรรค จากพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในวโรกาสเสด็จทอดพระเนตรโครงการ ศูนยฝกอบรมเยาวชนเกษตรวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ อาํ เภอบางละมงุ จังหวัดชลบุรี เมอ่ื วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2530 โดยใหศูนยฯ แหง นด้ี าํ เนนิ การ แกไขสภาพดินเสื่อมโทรมและใหความรูดานการอนุรักษดินและน้ําแกราษฎรท่ัวไป เนอ่ื งจาก บริเวณนี้มีสภาพแหงแลง ดินขาดความอดุ มสมบรู ณ ซง่ึ ในปจ จบุ นั การเพาะปลกู ของประเทศ ไทยก็ประสบปญหาหลายประการ ที่สําคัญประการแรกคือ ดนิ ขาดความอดุ มสมบรู ณก ลา วคอื พื้นที่การเกษตรของประเทศไทยประมาณ 80% เปนดนิ ทข่ี าดความอดุ มสมบรู ณ ทเ่ี ปน กรดสงู และที่สําคญั เปน ดนิ ทข่ี าดจลุ นิ ทรียท่ีมีขาดความอดุ มสมบรู ณ มเี ปน กรดสงู และที่สําคญั เปน ดนิ ท่ีขาดจุลินทรียท่ีมีประโยชนตอดินและตอพืชซง่ึ เรยี กไดว าเปนดินตาย สาเหตกุ ม็ าจากการปลกู ประโยชนต อ ดนิ และตอ พชื ซง่ึ เรยี กไดว า เปน ดนิ ตาย สาเหตุก็มาจากการปลูกพืชชนิดเดียวกันซาํ้ กันหลายปไมมีการปลูกพืชหมุนเวียนอีกท้ังมีการใชปุยเคมีเพียงอยางเดียวเปนสวนใหญ สุด ทายก็ทําใหเกิดสภาพดินกรด ขาดความอุดมสมบูรณเกษตรกรปลูกพืชแลวใหตอบแทนไดไม เตม็ ท่ี ประการท่ีสองเกษตรกรประสบปญ หาแมลงศตั รพู ชื ชนดิ ตา งๆ รบกวนไมว า จะเปน สวน ผักสวนผลไม ไมด อก-ไมป ระดบั พืชไร-นา ชนดิ ตา งๆ และหนทางที่เกษตรกรเลือกใช แกปญหาสวนใหญก็คือสารเคมีฆาแมลงแตจากการที่เกษตรกรขาดความรูความเขาใจในการ เลือกใชสารเคมีวิธีการใชเปนเหมาะสม ชวงเวลาในการใช เกษตรกรใชสารเคมีหลายชนิด ซํ้าซอ นกนั และในปรมิ าณทม่ี ากเกนิ ความจาํ เปน มผี ลทาํ ใหส ารเคมพี ษิ ตกคา งในผลผลติ มตี น ทุนการผลิตสูงเปนอันตรายตอเกษตรกรผูผลิตเองและผูบริโภคเองก็ไดรับอันตรายเชนกันมี ผูบริโภคจํานวนมากท่ีตองหวาดระแวงกับพิษภัยของสารพิษตกคางในอาหาร และท่ีสําคัญ อีกประการหน่ึงคือมีผลกระทบตอสภาพแวดลอมในภูมิภาคนั้น อีกทั้งในปจจุบันกระแส ความตองการผลผลิตทางการเกษตรท่ีปลอดภัยจากสารพิษของผูบริโภคทั้งในและตางประเทศ กําลังมีความตองการและเปนที่ยอมรับมากข้ึนเรื่อยๆ และลาสุดคือ นโยบายการควบคมุ ผกั ท่ีมีสารพิษตกคางเกินกําหนดมิใหเขามาจําหนายในกรุงเทพมหานครซึ่งจะทาํ ใหผูบริโภคปลอด ภัยมากขึ้นและเกษตรกรเองก็ตองปรับปรุงการเพาะปลูกใหปลอดภัยตามความตองการ ของตลาดดวย ไมว า เกษตรกรคนไหนๆ กอ็ ยากปลอดภยั จากสารเคมไี มม ใี ครอยากใชส ารเคมี เพราะอันตรายทง้ั ตนเองและผบู รโิ ภค แตถาไมใชแลวจะใชอะไรทดแทน ปญ หาในการเพาะปลูก

การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 5 ท่ีเกษตรกรพบมี 2 ประการใหญคือ เรอ่ื งความอดุ มสมบรู ณ ของดนิ ถา ไมใ ชป ยุ เคมแี ลว จะใช อะไรทดแทนเพื่อที่จะปลูกพืชใหไดผลผลิตสูงและมีคุณภาพดี และอกี เรอ่ื งหนง่ึ กค็ อื การปอ งกนั และกาํ จัดศัตรูพืชถาไมใชสารเคมีแลวจะใชอะไรทดแทน แนวทางท่ีจะทําใหดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ เปนดินที่มีชีวิต สารมารถเพาะปลกู พชื ใหไดผลผลติ สงู และมีคณุ ภาพดไี มว าจะเปน พืชไร- นา ผัก ผลไม ดอกไมก ต็ าม และจะเปน แนวทางที่จะสามารถผลิตผลผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษทางการเกษตร ทั้งผูผลิต และผูบริโภค ชวยรักษาส่ิงแวดลอม สามารถทําเปนอาชีพไดอยางย่ังยืน ซึ่งแนวทางนั้นก็คือ แนวทาง เกษตร ธรรมชาติ นน้ั เอง ถาจะกลาวถึงในดานโภชนาการ ผูเขียนไดมีโอกาสทีงานทดลองรวมกับนักวิจัยญ่ีปุน ที่ Hokkaido Ornamental Plants and Vegetable Research Center ประเทศญี่ปุน เมอ่ื ป พ.ศ. 2541 โดยทาํ การทดลองปลูกผกั ฮองเตแ ละผกั กาดหวั โดยใชป ุยหมัก ปยุ เคมใี นอตั รา ตางๆ กันและไมใชสารเคมีฆาแมลงทุกแปลงทดลอง ผลการทดลองพบวา คุณภาพภายใน ผักที่ปลูกโดยการใชปุยอินทรีย)ปุยหมักและปุยนํ้าชีวภาพ)จะมีวิตามินซีสูงกวาผักท่ีปลูกโดย ใชปุย เคมอี ยา งเดยี วและยงั มคี า ของ Brix และ นา้ํ ตาลสงู กวา อกี ดว ย ซึ่งทาํ ใหผักที่ปลูกโดยการ ใชปุยหมักจะมีรสชาติดีกวาผักที่ปลูกโดยการใชปุยเคมี และนอกจากนี้ยังพบวาผักที่ปลูกโดย การใชปุยหมักจะคา NO3 –N (ซ่ึงเปน คา ทบ่ี ง บอกถงึ ความเปน อนั ตรายของผกั นน้ั ) ตา่ํ กวาผัก ที่ปลูกโดยการใชปุญเคมีแตจากการทดลองก็พลเชนกันวาในการปลูกผักถาใชปุยมากเกินไป ไมวา จะเปน ปยุ เคมกี ต็ ามกจ็ ะมสี าร NO3 –N สะสมในผกั นน้ั สงู ซง่ึ เปน อนั ตรายตอ สขุ ภาพของ ผูบริโภคไดและสําหรับ คุณภาพภายนอก ก็พบวาผักท่ีปลูกโดยการไมใชสารเคมีฆาแมลง ก็สามารถใหผลผลิตที่สวยงามตามมาตรฐานที่ตลาดตองการ ท่ีกลาวมาเปน ดา นคณุ ภาพของ ผักและสําหรบั ในดา นการใหผ ลผลติ นน้ั จากผลการทดลองนเ้ี รากพ็ บวา ผกั ทป่ี ลกู โดยการใชป ยุ หมักอยางเดียวสามารถใหผลผลิตในปริมาณไมแตกตางจากผักที่ปลูกโดยการใชปุยเคมีอยาง เดียว (T.Sittirungsun,H. Dohi, et., 1999) น่ันกค็ อื การปลกู พชื โดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ สามารถปลูกเปน อาชพี ไดม ใิ ชแ ตป ลกู เพอ่ื เปน ผกั สวนครวั หลงั บา นเทา นน้ั แปลงทดลองปลกู ผักฮองเตและผักกาดหัวญี่ปุนซึ่งเปรียบเทียบการใชปุยเคมีและปุยหมักอัตรา ตา งๆ กัน โดยไมใชสารเคมีฆาแมลง ทําการทดลองที่ฮอกไกโด เมื่อป 2541

การปลกู พืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 6 ในการทําเกษตรธรรมชาติน้ันก็เปนเรื่องท่ีไมยากแตตองอาศัยความอดทนโดยเฉพาะ ในชวงปแรกๆ หากผานปที่ 3 ไปกส็ ามารถเพาะปลกู ไดง า ยขน้ึ เรอ่ื ยๆ ทง้ั นก้ี ข็ น้ึ อยกู บั สภาพ ความอุดมสมบรู ณข องดนิ และสภาพแวดลอ มเดมิ ถา ดนิ ดี สภาพแวดลอมดีก็สามารถทาํ เกษตร ธรรมชาติไดอ ยางงายๆ ตง้ั แตป แ รก จากประสบการณที่ทาํ งานดา นเกษตรธรรมชาตมิ าเรม่ิ เขา ปท่ี 8 แลว ของผเู ขยี นทาํ ใหทราบวาการเริ่มทาํ เกษตรธรรมชาตใิ นปแ รกถา ดนิ ขาดความอดุ ม สมบูรณก็จะตองใสปุยหมักและปุยนาํ้ ชีวภาพมากและปรมิ าณปญุ ทีใ่ สจะลดลงเรือ่ ยๆ ทุกปแตใน ทางตรงกันขามผลผลติ ในปแ รกอาจไดไ มม าก (แตก ค็ มุ กบั การลงทนุ ) และผลผลติ จะเพม่ิ ขน้ึ ใน ปหลังๆ ในดานการปองกันและกําจัดศัตรูพืชก็เชนกัน ในปแรกอาจจะตองมีการปองกัน และกําจัดแมลงศตั รพู ชื บอ ยครง้ั และคอ ยๆ ลดลงไปในปต อ ๆ มาและในทส่ี ดุ กม็ แี มลงศตั รธู รรม ชาติมากขน้ึ แมลงศตั รธู รรมชาติ หรือ ตัวหํ้า ตัวเบียน ผกั ฮอ งเตท ป่ี ลกู โดยใชป ยุ หมกั ผกั กาดหวั ญป่ี นุ ทป่ี ลกู โดยใชป ยุ หมกั มคี ณุ ภาพดแี ละใหผ ลผลติ สงู กเ็ ชน กนั มคี ณุ ภาพดแี ละใหผ ลผลติ สงู เหลาน้ีก็จะชวยควบคุมแมลงศัตรูพืชใหเราเองเกษตรกรเพียงแตจัดสภาพแวดลอมใหห ลกี เลี่ยง การระบาดของศตั รพู ชื กเ็ พียงพอแลว เชน จดั ระบบการปลูกพชื ตา งๆ หมนุ เวยี นและการปลกู พืชแซมใหเหมาะสม มีการทําความสะอาดแปลงไมปลอยทิ้งไวจนเปนแหลงสะสมโรคแมลง เปนตน ซึ่งจะเห็นไดวาตนทุนในการทําเกษตระรรมชาติจะสูงเฉพาะในปแรกและลดต่ําลง ในปหลังแตผลผลิตจะเพ่ิมข้ึนในปหลังดวย ซ่ึงตรงกันขามกับการทําเกษตรเคมีจากน้ีตอไป จะเปนการแนะนําใหรูจักกบั ความหมายและหลกั การเกษตรธรรมชาติ ตอดวยวิธีทาํ และใชปุย ชนิดตางๆ ทดแทนปยุ เคมรี วมท้ังการใชวธิ ีการตา ง ๆ ในการปอ งกนั และกาํ จัดศัตรูพืชเพื่อทด แทนการใชส ารเคมี และสดุ ทา ยกจ็ ะเปน วธิ กี ารปรบั เปลย่ี นมาสแู นวทางเกษตรธรรมชาติ ดงั จะ กลา วตอ ไปน้ี ความหมายของเกษตรธรรมชาติ เกษตรธรรมชาติ หมายถึง การทําการเกษตรทไ่ี มใชปุย เคมี และสารเคมที างการ เกษตรทุกชนดิ แตจะใหความสาํ คญั ของดนิ เปน อนั ดบั แรก ดว ยการปรบั ปรงุ ดนิ ใหม พี ลงั การ ในการเพาะปลูกเหมือนกับดินในปาท่ีมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ โดยการ นําทรัพยากรธรรมชาติทม่ี อี ยอู ยางจํากดั มาใชใ หเ กดิ ประโยชนส งู สดุ เปนวิธีการท่ไี มก อใหเกดิ

การปลกู พืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 7 ผลเสียตอสภาพแวดลอมไมเปนอันตรายตอเกษตรกรและผูบริโภค สามารถใหผลผลิตท่ีมีท้ัง ปริมาณและคุณภาพ เปน ระบบเกษตรทม่ี คี วามยง่ั ยนื ถาวร เปน อาชพี ทม่ี น่ั คง แนวคดิ เกย่ี วกบั การเกษตรธรรมชาตขิ องทา นโมกิจิ โอกาดะ หลักเกษตรธรรมชาตนิ ไ้ี ดแ นวคดิ มาจากชาวญป่ี นุ คอื โมกิจิ โอกาดะ ซง่ึ เปน ผรู เิ รม่ิ คนควา เกษตรธรรมชาตมิ าตง้ั แต ป พ.ศ. 2478 โมกิจิ โอกาดะกลา ววา “พลังท่ีเปนหลักสําคัญในการเจริญเติบโตของพืชนั้นมาจากธาตุดิน โดยมีพลังของ ธาตุนํ้าและธาตุไฟเปนสวนเสริม เน่ืองจากการเจริญเติบโตของพืชข้ึนอยูกับคุณสมบัติของดิน ซึ่งเปนพลังหลักที่สําคญั ดงั นน้ั เงอ่ื นไขทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ ของการเพาะปลกู จงึ อยทู ต่ี อ งปรบั ปรงุ ดนิ ใหมีคุณภาพดี ท้ังนี้เพราะดินย่ิงดีก็จะย่ิงไดผล สวนวิธีการปรับปรุงดินก็คือ การเพม่ิ ความ กระปรก้ี ระเปรา ใหด นิ ซึ่งทาํ ไดโดยการทาํ ใหม คี วามสะอาดและบรสิ ทุ ธ์ิ เพราะวา ดนิ ยง่ิ บรสิ ทุ ธ์ิ ก็จะยิ่งทาํ ใหพ ลงั การเจรญิ เตบิ โตของพชื ดขี น้ึ “(1 กรกฎาคม 2492) “หลักการของเกษตรธรรมชาติ คอื การนาํ พลงั อนั สงู สง ตามธรรมชาตขิ องดนิ มาใชใหเกิดประโยชน “ (5 พฤษภาคม 2496) หลกั เกษตรธรรมชาติ ถาเราศึกษาสภาพปาเราจะเห็นวาในปามีตนไมนานาชนิดข้ึนปะปนกันอยูเต็มไปหมด ผิวดินถูกปกคลุมไปดวยใบไมที่หลนทับถมกัน สตั วป า ถา ยมลู ไวท ผ่ี วิ หนา ดนิ คลกุ เคลา กบั ใบไม และซากพชื มลู สตั วร วมทง้ั ซากสตั ว โดยมสี ตั วเ ลก็ ๆ เชน ไสเ ดอื น กง้ิ กอื จิ้งหรีด ฯลฯ กัดแทะเปนช้ินเล็กๆ และมีจุลินทรียท่ีอยูในดินชวยยอยสลายจนกลายเปนฮิวมัสซ่ึงเปนแหลง ธาตุอาหารพืชและใชในการเจริญเติบโตของตนไมในปาน้ันเอง ดังนั้นจึงไมจําเปนตองเอา ปุยเคมีไปใสในปา ซึ่งเกษตรกรสามารถเลียนแบบปา ไดโดยการใชปยุ อนิ ทรีย เชน ปุยหมัก ปยุ นา้ํ ชีวภาพ และปุยพืชสด ใชปุยชีวภาพ เชน ไรโซเบียม ไมโครไรซา เปน ตน ทดแทนการใช

การปลกู พืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 8 ปุยเคมี นอกจากน้ีใบไมและเศษพืชท่ีปกคลุมผิวดินก็เปนการคลุมผิวหนาดินไว ปองกัน การสูญเสียความชน้ื ภายในดนิ ทาํ ใหห นา ดนิ ออ นนมุ สะดวกตอ การไชชอนของรากพชื ถาศึกษา ตอไปจะพบวา แมไมมีใครนําเอายาฆาแมลงไปฉีดพนใหตนไมในปา แตตนไมในปา ก็เจริญเติบโตแข็งแรงตานทานโรคและแมลงไดนอกจากน้ีพืชในปาก็มิไดเปนพืชชนิดเดียวกัน ท้ังหมดแตเปนพืชหลากหลายชนิดทําใหมีความหลากหลายทางชีวภาพ มีแหลงอาหาร ที่หลากหลายของแมลง และแมลงบางชนดิ กเ็ ปน แมลงศตั รธู รรมชาตขิ องแมลงศตั รพู ชื ดงั นน้ั จึงเกิดสมดุลตามธรรมชาติโอกาสที่แมลงศัตรูพืชจะระบาดจนเกิดความเสียหายจึงมีนอย ดงั นน้ั เกษตรกรจงึ สามารถจาํ ลองสภาพปา ไวใ นไร- นา โดยการปลกู พชื ใหห ลากหลายชนดิ หลักเกษตรธรรมชาตกิ เ็ ปน หลกั การทเ่ี ลยี นแบบมาจากปา ทส่ี มบรู ณน น่ั เอง ซึง่ จะประกอบดว ย การปฏิบัติการทางการเกษตรที่คํานงึ ถงึ ดนิ พืช และแมลง ไปอยา งพรอ มกนั คอื 1. มีการปรบั ปรงุ ดนิ ใหม คี วามอดุ มสมบรู ณ ซ่ึงสามารถทาํ ไดโ ดย 1) ปรบั ปรงุ ดนิ โดยใชป ยุ อนิ ทรยี แ ละปยุ ชวี ภาพ : ปยุ อินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปยุ นา้ํ ชีวภาพ ไดแก ไรโซเบียม ไมโคไรซา ปยุ เหลานจี้ ะใหท ง้ั ธาตอุ าหารหลกั และ ธาตอุ าหาร รองแกพืชอยา งครลถวนจงึ ใชท ดแทนปุย เคมี 2) การคลมุ ดนิ : ทาํ ไดโดยใชเศษพืชตาง ๆ จากไร-นา เชนฟางหญาแหง ตน ถว่ั ใบไม ขุยมะพรา ว เศษเหลอื ทง้ิ จากไรน า หรือ กระดาษหนังสือพิมพ พลาสตกิ คลมุ ดิน หรือการปลูกพืชคลุมดิน การคลุมดินมีประโยชนหลายประการ คือ ชวยปองกันการ ชะลา งของหนา ดนิ ทาํ ปุยหมักเพื่อใชในการปรับปรุงดิน

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 9 และรักษาความชุมช้ืนของดินเปนการอนุรักษดินและน้ําชวยทําใหหนาดินออนนุมสะดวก ตอการไชขอนของรากพืช ชว ยรกั ษาอณุ หภมู ขิ องดนิ มใิ หเ ปลย่ี นแปลงอยา งรวดเรว็ ชวยปองกัน วัชพืชชวยกระตุนใหจุลินทรียที่มีประโยชนเพิ่มข้ึนทั้งชนิดและปริมาณ นอกจากนว้ี สั ดคุ ลมุ ดนิ จะคอยๆ ยอ ยสลายและปลดปลอ ยธาตอุ าหารใหแ กด นิ เชนการใชเศษพืชคลมุ ดนิ ซง่ึ ประโยชน ตาง ๆ ของการคลมุ ดนิ ดงั กลา วมานจ้ี ะชว ยสง เสรมิ ใหพ ชื เจรญิ เตบิ โตดแี ละใหผ ลผลติ ดี อนง่ึ ในการคลุมดินถาสามารหถคลุมดินไดหนาพอจะชวยปองกันวัชพืชเจริญเติบโตดแี ละใหผลผลติ ดี อนึ่งในการคลุมดินถาามารถคลุมดินไดหนาพอจะชวยปองกันวัชพืชไดเปนอยางดี อีกท้ัง ยังชวยใหดินท่ีเตรยี มไวด ตี ง้ั แตก อ นปลกู ยงั คงมคี วามออ นนมุ และรว นซยุ ตลอดฤดอู กี ดว ย ปลกู พชื แลว ตอ งคลมุ ดนิ เสมอ 3) การปลกู พชื หมนุ เวยี น : เน่ืองจากพชื แตล ะชนดิ ตอ งการธาตอุ าหารแตกตา งกนั ท้ังชนิดและปริมาณ อีกทั้งระบบรากยังมีความแตกตางกันท้ังในดานการแผกวางและหย่ังลึก ถ  า มี ก า ร จั ด ร ะ บ บ ก า ร ป ลู ก พื ช อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม แ ล  ว จ ะ ทํ า ใ ห  ก า ร ใ ช  ธ า ตุ อ า ห า ร มี ท้ั ง ท่ี ถู ก ใ ช  และสะสมสลบั กันไปทําใหด นิ ไมข าดธาตอุ าหารธาตใุ ดธาตหุ นง่ึ หัวใจของเกษตรธรรมชาตอิ ยทู ด่ี นิ ดี พืชท่ีปลูกอยบู นดนิ ทด่ี จี ะเตบิ โตแขง็ แรงสามารถตา นทาน การทําลายของโรคและแมลงศตั รพู ชื ไดแ ละสง ผลใหไ ดผ ลผลติ ดี ดนิ ดปี ลกู อะไร อะไรกง็ อกงาม ตา นทานโรคแมลง และ ใหผ ลผลติ ดี มคี ณุ ภาพ

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 10 2. ปลกู พชื หลายชนดิ : การปลูกพชื หลายชนดิ เปน การจดั สภาพแวดลอ มในไร – นา ซ่ึงจะชวยลดการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชได เน่ืองจากการปลูกพืชหลายชนิดจะทําให มีความหลากหลายทางชวี ภาพ มีแหลงอาหารท่ีหลากหลายของแมลงจึงมีแมลงหลากหลาย ชนิดมาอาศัยอยูรวมกัน ในจํานวนแมลงเหลาน้ีจะมีทั้งแมลงที่เปนศัตรูพืชและแมลงท่ีเปน ศัตรูธรรมชาติท่ีจะชวยควบคุมแมลงศัตรูพืชใหคลายคลึงกับธรรมชาติในปาท่ีอุดมสมบูรณ น่ันเอง การปลูกพืชหลายชนิดสามารถทาํ ไดหลายรูปแบบ เชน 1) การปลกู หมนุ เวยี น : เปนการไมป ลกู พชื ชนดิ เดยี วกนั หรอื ตระกลู เดยี วกนั ตดิ ตอ กันบนพื้นที่เดียวกัน การปลูกพืชหมุนเวียนจะชวยหลีกเล่ียงการระบาดของโรคและแมลงและ ชวยประโยชนในทางดานการปรับปรุงดิน โดยมีหลักในการเลือกพืชชนิดตางๆ มาไวใน ระบบการปลกู พชื หมนุ เวยี นดงั น้ี ก. ไมปลูกพชื ชนดิ เดยี วกนั หรอื ตระกลู เดยี วกนั ตดิ ตอ กนั ข. ควรปลูกพชื กนิ ใบ กนิ ดอก / ผล และกินหัว สลบั กนั เนอ่ื งจากพชื ทง้ั สามชนดิ น้ี จะมีความตอ งการธาตอุ าหารทแ่ี ตกตา งกนั ค . ควรปลูกพืชที่มีระบบรากส้ันและรากยาวสลับกับ เพื่อใหรากแผกระจาย ไปหาอาหารในดนิ ทต่ี า งระดบั กนั สบั เปลย่ี นหมนุ เวยี นกนั ไป ง. ควรปลูกพืชตระกูลถ่ัว เชน ถั่วตางๆ พืชตระกูลถั่วจะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการตรึงไนโตรเจนมากยิ่งขึ้น(ดรู ายละเอยี ดในเรอ่ื งปยุ ชวี ภาพ) จ. ควรปลูกตระกลู หญา(เชน ขา ว ขาวโพด)อยา งนอ ยปล ะ 1 ครง้ั พืชตระกูลหญา ชวยเพ่ิมอนิ ทรยี ว ตั ถุ และแมลงศัตรูพืชของพืชตระกูลหญาก็แตกตางจากผักตระกูล ตางๆ เปนการตดั วงจรอาหารของแมลง จะชว ยลดการระบาดของแมลงศตั รพู ชื ได ฉ. ควรปลูกพืชที่มีเศษเหลือท้ิงเชน สวนของใบและลําตนหลังการเกบ็ เกย่ี วมากสลบั กับพืชที่มีเศษเหลือทิ้งหลังการเก็บเกี่ยวนอย ช. ในการปองกนั โรคและแมลงศตั รพู ชื ควรพจิ ารณาองคป ระกอบอน่ื ดว ย เชน เลอื ก ปลูกถั่วลิสง และดาวเรอื ง เพอ่ื ปอ งกนั ไสเ ดอื นฝอยรากปม 2) การปลกู พชื แซม : การเลือกพชื มาปลกู รว มกนั หรอื แซมกนั นน้ั พชื ทเ่ี ลอื กมานน้ั ตองเกื้อกูลกนั เชน ชว ยปอ งกนั แมลงศตั รพู ืช ชวยเพม่ิ ธาตอุ าหารใหอ กี ชนดิ หนึ่ง ชว ยคลมุ ดนิ ชวยเพิ่มรายไดกอนเก็บเกี่ยวพืชหลัก เปน ตน ตวั อยา งของการปลกู พชื แซมมี ดงั ตอ ไปน้ี ก. การปลูกดอกไมส สี ดๆ เชน บานชน่ื บานไมร โู รย ดาวเรอื ง ดาวกระจาย ทานตะวนั รอบๆ แปลงผัก/สวนไมผ ล หรือปลูกแซมไปกับผัก/ไมผ ลอยา งประปรายกไ็ ด สขี อง ดอกไมจะชวยดึงดูดใหแมลงศัตรูธรมชาติหรือแมลงตัวหํ้าและตัวเบียนเขามา อยูในแปลงและน้ําหวานจากเกสรดอกไมก็จะเปนอาหารของแมลงเหลาน้ีดวย แมลงศัตรูธรรมชาติเหลาน้ีจะชวยควบคุมแมลงศตั รพู ชื

การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 11 ข. การปลูกตะไครห อมรอบๆ แปลง ชว ยปอ งกนั แมลงศตั รพู ชื เพอ่ื ตดั ใบตะไครห อม จะมีกล่ินไลแ มลง ใบตะไครห อมนํามาใชค ลมุ ดนิ ไดด แี ละยงั ชว ยไลแ มลง หรอื อาจ ตัดใบตะไครหอมโรยไวที่แปลงเพื่อปองกันแมลงก็ได นอกจากนี้ใบตะไครหอมยัง นาํ มาทํานา้ํ ยาสมนุ ไพรฉดี พน ไลแ มลงไดอ กี ดว ย ค. การปลูกพืชบางชนดิ ซง่ึ มกี ลน่ิ หรอื สารไลแ มลงศตั รพู ชื เชน ผักกาดหอม กระเทียม ดาวเรือง ผักชี กระเพราะ มะเขอื เทศ ฯลฯ แซมลงไปในแปลงปลกู พชื หลกั เพอ่ื ลด แมลงศัตรูพืช เชน ปลกู ผักชีรวมกับคะนา เปน ตน ง. การปลูกดาวเรอื งรว มกบั พชื อน่ื เชน มนั ฝรง่ั มะเขอื เทศ กลวยหักมุก สบั ปะรด จะ ชวยลดความเสียหายจากการทาํ ลายของไสเ ดอื นฝอยรากปมได หรอื อาจปลกู ดา ว เรืองหมุนเวยี นเพอ่ื ลดไสเ ดอื นฝอยดงั ทก่ี ลา วมาแลว จ. การปลูกหอมรว มกบั พชื ตระกลู แตงเชน แตงกวา แตงโม แคนตาลูป เปน ตน หรือ การปลูกกุยไชรวมกับพืชตระกูลพริก-มะเขอื จะชวยปองกันโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อ ฟวซาเรียมไดเ นอ่ื งจากบรเิ วณรอบๆ รากหอมและรากกยุ ไชมแี บคทเี รยี ตอตา นเช้ือ ราสาเหตขุ องโรคได ซ. การปลูกถั่วลิสงแซมระหวางแถวของขาวโพดจะชวยทําใหแมลงศัตรูธรรมชาติมา อาศัยอยใู นแปลง เชน มแี มงมมุ ตวั หา้ํ ชว ยควบคมุ หนอนเจาะลาํ ตน ขา วโพด เปน ตน 3. อนุรักษแมลงที่มีประโยชน : ซงึ่ สามารถทาํ ไดโ ดย 1 ) การที่ไมใชสารเคมี เน่ืองจากสารเคมีทํ าลายทั้งแมลงศัตรูพืชและแมลง ศัตรูธรรมชาติที่มีประโยชนดวย การท่ีไมใชสารเคมีทําใหมีศัตรูธรรมชาติ พวกตัวห้ําและตัวเบียนมากขึ้นในพื้นที่บริเวณนั้น ซ่ึงศัตรธู รรมชาตเิ หลา นจ้ี ะชว ย ควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ให 2) ปลูกดอกไมส สี ดๆ เชน บานชน่ื ทานตะวนั บานไมร โู รย ดาวเรอื ง ดาวกระจาย เปนตน โดยปลูกไวรอบแปลง หรอื ปลกู แซมลงในแปลงเพาะปลกู สขี องดอกไมจ ะ ดึงดูดแมลงนานาชนดิ และ ในจาํ นวนนน้ั กม็ แี มลงศตั รธู รรมชาตดิ ว ย จึงเปนการ เพิ่มจํานวนแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงเพาะปลูกซ่ึงจะชวยควบคุมแมลงศัตรูพืช ใหแกเกษตรกร ปลกู ดอกไมส ีสดๆ เชน บานชื่น ไวรอบๆแปลง เพื่ออนุรักษแมลงที่มีประโยชน และกลน่ิ ยงั ชว ยไลแ มลงศตั รพู ชื บางชนดิ อกี ดว ย

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 12 ถึงตรงนี้ผูอานเขาใจอยางกวางๆ แลววาเรามีหลักในการปลูกพืชโดยไมใช ปุยเคมีและสารเคมีหรือหลักเกษตรธรรมชาติ 3 ขอใหญๆ และจากนี้ไปก็จะกลาวถึงราย ละเอยี ดของแตล ะองคป ระกอบทส่ี าํ คญั ไดแก ปุยหมัก ปยุ นา้ํ ชีวภาพ ปุยชีวภาพ การปลูกพืช แซม และการปอ งกนั และกาํ จัดศัตรูพชื โดยไมใ ชสารเคมี ดงั รายละเอยี ดตอ ไปน้ี ปุย อนิ ทรยี แ ละปยุ ชวี ภาพ ในการทําเกษตรธรรมชาติเนื่องจากเราไมใชปุยเคมีแตจะหันมาปรับปรุงดินโดยใชปุย อนิ ทรียและปุยชีวภาพแทน ปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปยุ นา้ํ ชวี ภาพ และปุยพืชสด (สาํ หรับปุย คอกไมไดกลา วถงึ เนอ่ื งจากนําปยุ คอกหรอื มลู สตั วน ํามาใชเ ปน วสั ดใุ นการทาํ ปุยหมัก) สว นปยุ ชีวภาพ ไดแก ไรโซเบียม ไมโครไรซา ทั้งปุยอินทรียและปุยชีวภาพเหลานี้จะใหทั้งธาตุอาหาร หลักและธาตุอาหารรองแกพืชอยางครบถวนและในปริมาณท่ีมากพอจึงใชทดแทนปุยเคมีใน การเพาะปลูกพืชได และการใชปุยชีวภาพรวมดวยก็จะชวยทาํ ใหไ มต อ งใชป ยุ หมกั มาก จึงเปน ไปไดที่จะทาํ เกษตรธรรมชาติในพื้นที่แปลงใหญมิใชทาํ แปลงเลก็ หรอื สวนครวั หลงั บา นเทา นน้ั การเปรยี บเทยี บผลของปยุ แคมแี ละปยุ อนิ ทรยี / ปยุ ชวี ภาพทม่ี ตี อ ดนิ ลกั ษณะ ปุย เคมี ปยุ อนิ ทรยี / ชีวภาพ (จลุ นิ ทรยี ) 1. การดดู ซบั ธาตอุ าหาร ไมม ี ดดู ซบั ไดด ี 2. การอมุ นา้ํ ไมม ี ทาํ ใหด นิ อมุ นา้ํ ไดด ขี น้ึ 3. ความรว นซยุ ของดนิ ทําใหดินอัดตัวเปนกอนแข็ง ดินรว นซยุ ดี ในระยะยาว 4. ระดบั ความเปน กรด เพม่ิ ขน้ึ ชวยรักษาสมดุลของความ เปน กรดดา ง 5. ระยะเวลาทม่ี ผี ลในดนิ ระยะสั้นแตจะหายไปเร็ว คงอยใู นดนิ นาน จากการชะลา งหรอื เปลย่ี น รปู 6 . ความเจริญเติบโตของ เติบโตดีแตเพียงระยะสั้นใน เติบโตดแี ละนาน เชื้อจุลินทรีย ระยะยาวไมด ี 7. การขยายพันธุของแมลง ขยายพนั ธรุ วดเรว็ ไมม ผี ล ศัตรูพืช ไมช ว ยปอ งกนั ชวยปองกัน 8. การปอ งกนั โรคพชื

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 13 ปยุ อนิ ทรยี  สําหรับปุยอินทรียในท่ีน้ีจะขอกลา วถงึ วธิ กี ารทาํ ปุยหมักและปุยนํ้าอยา งสน้ั ๆ สาํ หรับปุยพืชสด น้ันก็เปนการนําพืชตระกูลถั่วมาปลูกและเมื่อถึงระยะออกดอกซึ่งเปนเปนระยะที่พืชเจริญเติบโต เต็มที่ก็จะไถกลบและปลอยใหยอยสลายเนาเปอยผุพังไปกอนแลวปลูกพืชตอไป การใชปุยพืชสด ปรับปรุงดินน้ีจะเปนการเพ่ิมทั้งอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืชโดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน พืช ตระกูลถั่วไดแก ถั่วพรา โสน ปอเทือง ถั่วเขียว ถว่ั ดํา ถว่ั ลสิ ง ฯลฯ พชื ตระกลู ถว่ั บางชนดิ อาจ ปลูกแลวรอเก็บผลผลติ กอนกไ็ ด เชน ถว่ั ลสิ ง ถว่ั เหลอื ง เปน ตน ในแตล ะปค วรปลกู พชื ตระกลู ถว่ั ปละ1 ครง้ั เปน อยา งนอ ย จะปลูกเปนปุยพืชสดหรือเพื่อเก็บผลผลิตก็ได ปยุ หมกั ปุยหมัก เปนปุยอินทรียที่ใหทั้งธาตุอาหารพืช จุลินทรียที่เปนประโยชนตอพืช และชวย ปรับปรุงโครงสรางของดินใหเหมาะสมตอการเจรญิ เตบิ โตของพืช ปยุ หมกั ใชเ ปน ปยุ รองพ้นื ซงึ่ จะใสในขณะเตรยี มดินกอ นปลูกพืชโดยเฉพาะพชื ผักและไมด อกอายุสั้นตางๆ แตถ า เปน ไมผ ลจะ ใสตอนเตรยี มหลมุ ปลกู และใสร ะหวา งปๆ ละ 1-2 ครง้ั การทําปุยหมักสามารถทาํ ไดโดยใชเศษ พืช 2 สวน มลู สตั ว 1 สวน ถาเศษพืชชิ้นใหญหรือเปนเสนยาว เชน ฟาง ตน ขา วโพด ผักตบชวา ตนถั่วเศษเหลือทิ้งหลังจากการเก็บเกี่ยว เชน ตน มะเขอื เถาฟกทอง เปน ตน กจ็ ะวางซอ นๆ กัน เปนชั้นๆ รดน้าํ พรอ มกบั ขน้ึ ไปยา่ํ ใหแ นน พอสมควร แตล ะชน้ั ของเศษพชื อาจหนาประมาณ 20-30 ซม. สลบั ดว ยชน้ั ของมลู สตั ว หนาประมาณ 5-10 ซม. หรอื ถาเปน เศษพชื ช้นิ เล็กๆ เชน ขุยมะพราว แกลบ กากออ ย กส็ ามารถผสมคลกุ เคลา กบั มลู สตั วใ หเ ขา กนั พรอ ม กบั พรมน้าํ ใหความช้ืน ซึ่งทดสอบความช้ืนในกองปุยไดโดยใชมือกําเศษวัสดุแนนๆ แลวมีน้ําไหลออก มาตามรองน้ิวมอื เลก็ นอ ยกใ็ ชไ ด เมอ่ื กองปยุ เสรจ็ ควรหาวสั ดเุ ชน ทางมะพรา ว ฟาง กระสอบ เกาๆ เปน ตน มาคลมุ กอง การดูแลกองปุยก็โดยกลับกองปุยทุก 3-4 สัปดาห เปน เวลา ประมาณ 3 เดอื นกส็ ามารถใชไ ด เมือ่ ไดปยุ หมกั ทส่ี ุกแลว หรือปยุ หมกั ยอ ยสลายตวั ดีสามารถนํา ไปใชเพาะปลูกพืชได ปุยหมักที่สุกแลวมีลักษณะ คอื วสั ดทุ น่ี ําไปใชทาํ ปุยจะเปอยยุย สนี า้ํ ตาล คลํ้าหรือดํา มกี ลน่ิ หอมเหมอื นกลน่ิ ดนิ ไมม กี ลน่ิ เหมน็ เหมอื นมลู สตั วอ ยา งครง้ั เมอ่ื เรม่ิ ทาํ กอง การทําปยุ หมกั นถ้ี า สารเรง เชน เชื้อ พ.ด.-1 ซง่ึ เปน เชอ้ื จลุ นิ ทรยี ส ําหรับทาํ ปุยหมักที่ ทางกรมพัฒนาท่ีดินผลิตข้ึนและแจกใหแกเกษตรกรใชทําปุยหมักก็สามารถนํามาผสมกับกอง ปุยไดด ว ยแตถ า ไมม ี ก็ไมจําเปน ตอ งใชเ พยี งทาํ ใหสภาพกองปุย มคี วามช้ืนเหมาะสม และมีการ กลับกองปยุ ดงั ทก่ี ลา วมาแลว กส็ ามารถทาํ ปุยหมักไดเชนเดียวกัน ปุยหมักยอยสลายตัวดีแลวหรือปุยหมักที่สุกแลวสามารถนําไปใชเพาะปลูกพืชได สําหรับสัดสวนของเศษพืชและมูลสัตวก็ไมจําเปนตองใชตามที่กลาวมาแลวก็ไดอาจปรบั ใชต าม ที่เกษตรกรสามารถหาได เชน ถา มมี ลู สตั วม ากและมเี ศษพชื นอ ยกท็ าํ ไดเชน เดียวกนั กลา วคอื มีเศษอินทรียวัตถุเหลือท้ิงจากไรนาชนิดใดก็สามารถนํามาปรับใชได ที่สําคัญคือตองหมักให

การปลกู พืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 14 ยอยสลายตวั ดกี อ นนําไปใชเพาะปลูกพืช ในการใชปุยหมักเพาะปลูกพืชเทคนิคสาํ คัญก็คือผสม คลุกเคลาปยุ กบั ดนิ ใหเ ขา กนั เปน อยา งดกี อ นแลว จงึ ปลกู พชื ปยุ นา้ํ ชวี ภาพ ปุยน้ําชวี ภาพเปนปุยอินทรียชนิดหน่ึงท่ีไดจากการหมักซากพืชซากสัตวในน้ําโดยมี จุลินทรียชวยยอยสลายมีลักษณะเปนนํ้าใชเปนปุยเสริมธาตุอาหารระหวา งการเจรญิ เตบิ โตของ พืชจะใหท้ังธาตุอาหารพืชและจุลินทรียท่ีเปนประโยชนตอพืชตอไปนี้เปนสูตรการทําปุยนา้ํ ที่ใช กันมากวสั ดทุ ใ่ี ชม ดี งั น้ี 1) ราํ ละเอยี ด 60 กก. 2) มลู ไกไ ข 40 กก. 3) เชื้อ พ.ด.-1 1 ซอง หมายเหตุ ก. เชื้อ พ.ด.-1 เปนเชื้อจุลินทรียที่ใชทาํ ปยุ หมกั ซง่ึ กรมพฒั นาทด่ี นิ ผลติ ขน้ึ ถา ไมม ี ก็ไมต อ งใชก ไ็ ด ข. เนื่องจากรํามรี าคาแพงอาจใชน อ ยลงหรอื ถา หาไมไ ดก ไ็ มใ ชก ไ็ ด วธิ กี ารทําและการใช นําวัสดุทั้งหมดมาผสมคลุกเคลาใหเขากันโดยพรมนํ้าใหมีความชื้นขนาดใชมือกําแลว ปลอยมือกอนวัสดุก็ยังคงรูปอยูก็ใชได เมอ่ื คลกุ เคลา วสั ดดุ แี ลว ใหท าํ กองแลว คลมุ ดว ยกระสอบ คลุมกองไว 7-10 วัน โดยระหวา งนต้ี อ งกลบั กองทกุ วนั ๆ ละ 1 ครง้ั หลงั กลบั กองตอ งคลมุ กอง ไวเชน เดมิ เมอ่ื ครบกําหนดใหแผกองปุยออกผึ่งใหแหงในที่รม เมื่อปุยแหงแลวใหเก็บรักษาโดย ตักใสกระสอบที่สามารถระบายอากาศไดด ี และเก็บไวในที่รมอากาศถายเทสะดวกจะเก็บไวได นาน เมอ่ื จะนําปยุ มาใชใ หน ําปุยแหง 1 กก. ผสมน้ํา 20 ลติ ร โดยใสถ งั หรอื ตมุ วางไวต ามแปลง ใชไมไผคนทุกๆ วัน ๆ ละ 3-4 ครง้ั ๆ ละ 1 นาที ประมาณ 1 สัปดาห ก็จะใชได(ถา ไมใ ชไ มค น อาจใชว ธิ ปี มอากาศเขา ไปกไ็ ดเ ชน เดยี วกบั แบบตปู ลา) แตค วรผสมนา้ํ อกี 20-40 ทา กอ นนํา ไปรดตนพืชวิธีการใชกับพืชอาจรดที่โคนตน หรอื ปลอ ยตามรอ ง (หรือ ฉดี พน ทางใบกไ็ ด) หรือ จะตอเขากับระบบการใหนํ้าใหปุยก็ได การใหปุยนาํ้ จะใหม ากนอ ยเพยี งใดขน้ึ อยกู บั ความอดุ ม สมบูรณของดินและความตอ งการของพชื ซง่ึ สงั เกตไดจ ากลกั ษณะของใบพชื ถา ใบพชื มสี เี หลอื ง ซีดแสดงวาไดรับธาตุอาหารไมพอ ถา ใบสเี ขยี วเขม เกนิ ไปแสดงวา ไดร บั ธาตอุ าหารเกนิ แตถ า ใบ พืชเปนสีเขียวแตไมเขียวเขมจนเกนิ ไป ใบแผกวาง เหน็ เสนใบชดั เจน กา นใบชรู บั แสงเตม็ ท่ี แสดงวาพืชไดรับธาตอุ าหารเหมาะสมดแี ลว พชื ทไ่ี ดร บั ธาตอุ าหารมากหรอื นอ ยเกนิ ไปจะออ น แอตอการเขาทําลายของโรคและแมลง แตถ า พชื ไดร บั ธาตอุ าหารพอเหมาะจะแขง็ แรงสามารถ ตานทานโรคและแมลงไดด กี วา

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 15 สําหรับรายละเอียดของปุยหมักและปุยนํ้าชีวภาพสามารถศึกษาเพ่ิมเตมิ ไดจากหนังสือ ปุยหมักดินหมัก และปุยนา้ํ ชวี ภาพเพื่อการปรับปรุงดินโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ซง่ึ เขยี นโดย อาจารยทิพวรรณ สทิ ธริ งั สรรค, สาํ นกั พมิ พโ อเดยี นสโตร 2542. ปยุ ชวี ภาพหรอื ปยุ จลุ นิ ทรยี  ความหมาย : หมายถึง การนาํ เอาจลุ นิ ทรียมาใชป รบั ปรงุ ดนิ ทางชวี ภาพ กายภาพ ทางเคมชี วี ะ และทางการยอยสลายอนิ ทรยี ว ตั ถุ ตลอดจนการปลดปลอ ยธาตอุ าหารพชื จากอนิ ทรยี ว ตั ถุ หรืออนินทรียวัตถุหรือหมายถึงจุลินทรียท่ีนํามาใชเพ่ือกระตุนการเจริญเติบโตหรือเพ่ิม ความตา นทานของโรคพชื หมายถึง ปุยที่มีจุลินทรียท่ีสามารถทํากิจกรรมท่ีกอ ใหเกิดธาตอุ าหารท่เี ปนประโยชน กับพืช ดังนั้นวิธีการที่จะชวยปรับปรุงดินไดอยางมีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งก็คือ การใสปุยชีวภาพ ประเภทของปยุ ชวี ภาพ แบงออกตามชนิดของจุลินทรียหรือตามประเภทของธาตุอาหารที่สามารถนําไปใช ประโยชนใหกับพืชซึ่งไดแกธาตุอาหารหลัก คือ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โปตัสเซยี ม และในทน่ี จ้ี ะขอกลา วถงึ เฉพาะไรโซเบยี มและไมโครไรซา เทา นน้ั ไรโซเบยี ม เปน จุลินทรียที่ชวยเพิม่ ธาตุไนโตรเจนท่อี ยูร วมกับพืชตระกูลถัว่ เชน ถว่ั ตา งๆ กา มปู กระถนิ ณรงค เปน ตน ในแตล ะป จุลนิ ทรียสามารถนาํ ธาตไุ นโตรเจนกลบั มาสดู นิ ได ประมาณ 170 ลา นตนั /ป จากผลการทดลองของกรมวิชาการเกษตรพบวา การปลูกถั่วเหลืองโดยไมใช ไรโซเบียมหรือปุยเคมีจะใหผลผลิต 100-150 กก./ไร แตถาใชเช้ือไรโซเบียมจะให ผลผลติ 200-300 กก./ไร (ซึ่งเทียบเทากับตองใสปุยไนโตรเจน 20 กก./ไร ในการปลกู ถว่ั เหลืองน)ี้ หัวใจสําคัญที่ทาํ ใหพ ชื ตระกูลถั่วชวยในการบาํ รงุ ดนิ กค็ อื ไรโซเบยี ม ใชไรโซเบียมรว มกบั พืชตระกูลถั่วสามารถทดแทนปุยไนโตรเจนได

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 16 การเกดิ ปม ✣ จะเหน็ ปมถว่ั ภายใน 5-10 วัน ถา ปลกู ในเรอื นทดลอง ✣ จะเห็นปมถั่วภายใน 15-25 วัน ในสภาพไร ✣ ปมทด่ี จี ะมภี ายในปมเปน สแี ดงเขม ✣ ปมที่แกจะเปลี่ยนเปนสีเขียว ✣ ปมท่ีมีสีขาวซดี หรอื เขยี วออ นจะไมม ปี ระสทิ ธภิ าพในการตรงึ ไนโตรเจน อายุการเกบ็ รกั ษาปยุ ชวี ภาพไรโซเบยี ม ✣ ที่อุณหภูมิ 20-30 องศาเซลเซยี ส เกบ็ ไดน าน 5-6 เดอื น ✣ ที่อุณหภูมิ 4-10 องศาเซลเซยี ส เกบ็ ไดน าน 1 ป ✣ หามเก็บในชองแชแข็ง (Freeze) เด็ดขาด เพราะเชื้อจะตาย และเชื้อ ไรโซเบียมไมส ามารถทนอณุ หภมู ไิ ดเ กนิ 40 องศาเซลเซยี ส วิธีการคลกุ เชอ้ื ✣ ใชส ารชว ยใหต ดิ เมลด็ เชน น้าํ มนั พชื น้าํ ตาลทราย 30% แปงเปยก เปน ตน ใช สารชว ยตดิ เมลด็ 300 ซี.ซ.ี ตอ เชอ้ื 1 ซอง ✣ เชื้อ 1 ซอง หรือ 200 กรัม ใชค ลกุ กบั เมลด็ ถว่ั เหลอื ง 10 กก. หรือ เมลด็ ถว่ั ลสิ ง 15 กก. หรอื เมลด็ ถว่ั เขยี ว 5 กก. แตต อ งใชช นดิ ของเชอ้ื ไรโซเบียมใหต รงกบั ชนดิ ของเมลด็ ถว่ั นน้ั ๆ ขอ ควรระวงั 1. ตองใชเ ชอ้ื ไรโซเบียมใหถ กู ตอ งกบั ชนดิ ของถว่ั 2. ไมปลอยใหเมล็ดที่คลุกเช้ือแลวตากแดดตากลม ควรเก็บในถุงพลาสติกหรือ ภาชนะเปด และไวใ นทร่ี ม 3. ไมท ง้ิ เมลด็ ทค่ี ลกุ เชอ้ื ไรโซเบียมไวข า มคนื ถา เหลอื ควรผง่ึ เมลด็ ไวใ นทร่ี ม และแหง แลวคลกุ เชอ้ื ใหมเ มอ่ื ตอ งการปลกู 4. ไมปลูกเมอ่ื ดนิ แหง มากๆ ควรปลกู เมอ่ื ดนิ หมาดๆ หรอื ปลกู แลว ใหน า้ํ ไดทันที 5 . เมื่อหยอดเมล็ดแลวควรกลบเมล็ดใหดีเพื่อมิใหเมล็ดถูกแดดเผาและ เชอ้ื ตาย 6. อยา ใชเชื้อไรโซเบยี มท่ีหมดอายุแลว 7. สารปอ งกนั กาํ จัดโรคพืช แมลง และวัชพืช อาจมผี ลตอ เชอ้ื ไรโซเบยี มได 8. ปุยไนโตรเจนจะไมชวยสงเสริมการตรึงไนโตรเจนของไรโซเบียม ยิ่งใสปุย ไนโตรเจนลงดินมากจะทาํ ใหก ารตรงึ ไนโตรเจนลดลง 9. ดนิ รว นซยุ จะทาํ ใหไ รโซเบยี มเจรญิ ไดด กี วา ดนิ เหนยี วและดนิ นา้ํ ขงั

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 17 สถานที่จําหนาย สามารถสง่ั ซอ้ื เชอ้ื ไรโซเบยี มไดท ่ี กลมุ งานวจิ ยั จลุ นิ ทรียด นิ กองปฐพีวิทยา (ตึกไรโซ เบียม) กรมวิชาการเกษตร ภายในเกษตรกลาง เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-5790065 โทรสาร 02-5614763 ราคาถงุ ละ 10 บาท เชอ้ื ไมโครไรซา เปนเช้ือรากลมุ หนง่ึ ทอ่ี ยใู นดนิ อาศยั อยตู ามรากพชื โดยไมทาํ อนั ตรายกบั พชื ทั้งนี้พืช และเช้ือราตางพง่ึ พาซง่ึ กนั และกนั ไดร บั ผลประโยชนร ว มกนั เซลลข องรากพชื และเชอ้ื ราสามารถ ถายทอดอาหารซึ่งกันและกันได ชว ยใหร ากเพม่ิ เนอ้ื ทใ่ี นการดดู อาหารจากดนิ เมอ่ื มไี มโครไรซา เกิดขึ้นที่ราก ซง่ึ เนอ้ื ทท่ี เ่ี กดิ ขน้ึ เกดิ จากเสน ใยทเ่ี จรญิ อยรู อบๆ รากทาํ ใหส ามารถดดู นา้ํ และธาตุ อาหารไดม ากกวา รากทไ่ี มม ีไมโครไรซา เสนใยที่พันอยูกับรากพืชจะไชชอนเขาไปในดินชวยดูด ธาตุอาหารโดยเฉพาะธาตุฟอสฟอรสั และชว ยปอ งกนั มใิ หธ าตฟุ อสฟอรสั ทล่ี ะลายออกมาถกู ตรงึ โดยปฏิกริยาทางเคมขี องดินดว ย นอกจากนย้ี งั ชว ยใหไ ดร บั ธาตอุ าหารอน่ื ๆ เชน แคลเซียม เหล็ก สงั กะสี ดว ย ไมโครไรซา ทม่ี คี วามสําคญั ทางเกษตรกรรม และมีการศึกษาคนควาวิจัยเพื่อ นํามาใชป ระโยชนใ นทางการเกษตรมี 2 พวก คอื 1. เอ็กโตไมโครไรซา จะพบในพืชพวกไมยืนตน ไมป ลกู ปา เชน สน เปน ตน 2. ว-ี เอสไมโครไรซา ซึง่ อยูใ นพวกเอ็นโดไมโครไรซาและจะพบในพืช พวกพืชไร พืชสวน พืชผัก ไมด อกและไมป ระดบั สาํ หรับไมโครไรซาที่มีบทบาทตอการเจริญเติบโต และชวยเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจใน ประเทศไทย คอื ว-ี เอไมโครไรซา ซง่ึ มผี นู าํ มาใชอยา งกวางขวางกับพืชเศรษฐกจิ หลายชนิด เชน ขาวโพด ขา วฟา ง ถว่ั ตา งๆ มะมว ง ลาํ ไย ทุเรียน สบั ปะรด และมะเขือเทศ เปน ตน ทง้ั นเ้ี พอ่ื เปน การลดคาใชจายแทนการใชปุยเคมีซึ่งมีราคาแพง

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 18 ประโยชนท พ่ี ชื ไดร บั จากไมโครไรซา ไมโครไรซามีประโยชนตอการมีชีวิตอยู และการเจริญเติบโตของตนไมหลายทางดว ย กัน ที่สําคัญท่ีสุดคือ ไมโครไรซาสามารถชวยเพ่ิมความเจริญเติบโตใหกับพืช และพอสรุป ประโยชนข องไมโครไรซา ไดด งั น้ี 1. เพิ่มพื้นท่ีของผิวรากที่จะสัมผัสกับดินทําใหเพ่ิมเน้ือท่ีในการดูดธาตอุ าหาร ของรากมากขน้ึ 2. ชวยใหพืชดูดและสะสมธาตุอาหารตางๆ ไวและสะสมในราก เชน ฟอสฟอรสั ไนโตรเจน โปตัสเซียม แคลเซียม แรธ าตอุ น่ื อกี 3. ชวยดูดธาตุอาหารจากหินแรท่ีสลายตัวยากหรืออยูในรูปที่ถูกตรึงในดิน เชน ฟอสฟอรัสใหแกพืช ในดนิ ทม่ี ธี าตฟุ อสฟอรสั ทเ่ี ปน ประโยชนต อ พชื ใน ปรมิ าณที่ตาํ่ ไมโครไรซามีบทบาทสําคัญในการดูดซึมฟอสฟอรัสใหแกพืช เน่ืองจากฟอสฟอรสั ละลายนา้ํ ไดด ใี นชว ง PH เปนกลาง ในดนิ ทม่ี ฤี ทธเ์ิ ปน กรดหรือดา งฟอสฟอรสั มกั ถกู ตรงึ โดยทางเคมี รวมตวั กบั เหลก็ อะลมู นิ ม่ั แคลเซี่ยม หรือแมกนีเซี่ยมทําใหไ มล ะลายนา้ํ ซง่ึ อยใู นรปู ทไ่ี มเ ปน ประโยชน ตอพชื นอกจากนไ้ี มโครไรซา ยงั ชว ยดดู พวกอนิ ทรยี ว ตั ถตุ า งๆ ทส่ี ลายตวั ไม หมดใหพ ชื นําไปใชได 4. เช้ือราไมโครไรซาในรากพืชทําหนาท่ีปองกันและยับยั้งการเขาสูราก ของโรคพชื 5. ทําใหโครงสรางดินดี เน่ืองจากมีการปลดปลอยสารบางชนิด เชน Polysaccharide และสารเมือกจากเชื้อราไมโครไรซา รวมกบั เสน ใยของ ไมโครไรซาทําใหเกิดการจับตัวของอนุภาคดนิ ชว ยใหโ ครงสรา งของดนิ ดี ปองกันการสูญเสียธาตุอาหารจากดินเน่ืองจากการชะลางของน้ําและการ พังทะลายของดิน และยังชวยในการหมุนเวยี นของธาตอุ าหาร ทําใหล ด การสูญเสยี ของธาตอุ าหารในระบบนเิ วศนไ ด 6. ทาํ ใหพชื ทนแลง เนอ่ื งจากการเพม่ิ พน้ื ทผ่ี วิ รากในการดดู นา้ํ ทาํ ใหพืชทน แลงและพชื สามารถฟน ตวั ภายหลงั การขาดนา้ํ ไดเ รว็ ขน้ึ จากประโยชนเหลาน้ีพืชที่มีไมโครไรซาจึงเจริญเติบโตไดดีกวาพืชที่ไมมีไมโครไรซา สํ าหรั บไมโครไรซานั้นในประเทศไทยขณะนี้ยังไมมีจํ าหนายแตเกษตรกรท่ีสนใจสามารถ ขอความอนเุ คราะหไ ดท ต่ี กึ ไรโซเบยี มดงั นน้ั วธิ กี ารนาํ ไมโครไรซาไปใช เกษตรการสามารถทาํ ไดงายๆ เชน ไมผ ลจะขดุ รอบๆ ทรงพมุ ลกึ ประมาณ 20-25 ซ.ม. ก็จะพบรากฝอยนาํ เชอ้ื ไมโคร ไรซาไปโรยโดยรอบแลวกลบดินจะชวยใหไมผลเติบโตไดดี

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 19 การปองกันและกาํ จดั ศตั รพู ชื โดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ การฟนฟูความสมดุลของธรรมชาติในไร- นาทผ่ี า นการใชส ารเคมใี นรปู แบบตา งๆ มา อยางมากและเปน เวลานานใหก ลบั คนื มาตามหลกั การทง้ั 3 ขอ เปน เรอ่ื งทเ่ี กษตรกรสามารถ ทําไดโดยใชเวลาแตในปแรกๆ จะประสบปญ หาโรคและแมลงรบกวนบา งเนอ่ื งจากดนิ ทเ่ี รม่ิ ถกู ปรับปรุงยังไมมีความอุดมสมบูรณดีพอและมีสารปนเปอนอยูมากทําใหพืชยังไมสามารถเติบโต และแข็งแรงไดอยางเต็มท่ี ทําใหออนแอตอการทําลายของโรคและแมลงศัตรูพืช อีกท้ังศัตรู ธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชก็ยังนอยอยูจ งึ ทาํ ใหเกษตรกรประสบปญหาโรคและแมลงศัตรูพืชรบ กวนและผลผลติ ตา่ํ ในระยะ 1-3 ปแรก แตห ลงั จากนน้ั ไปถา มกี ารจดั การดจี ะทําใหปญหาโรค และแมลงศัตรูพืชลดลงพรอมทั้งผลผลิตก็จะสูงขึ้น การเพาะปลูกพืชก็งายขึ้น การใชป ยุ ธรรม ชาติก็ลดลงรวมทั้งการปองกันกําจัดศัตรูพืชก็ใชปจจัยนอยลงซ่ึงก็หมายถึงตน ทนุ การผลติ ลดลง แตผ ลผลติ สงู ขน้ึ ซง่ึ เปน การทาํ การเกษตรที่ยั่งยืน ดังน้ัน หากเกษตรกรประสบปญหาศตั รูพชื สามารถปอ งกันและกาํ จัดศัตรูพืชโดยไมใช สารเคมีซึ่งมีหลายแนวทางใหเลือกใชหรืออาจนําหลายๆ แนวทางมาผสมผสานกันก็ไดตาม ความเหมาะสม ศตั รพู ชื แบง ไดอ ยา งกวา งๆ ได 3 ประเภท คอื วัชพืช โรคพืชและแมลงศัตรูพืช ซ่ึงจะสามารถปอ งกนั และกาํ จดั ไดด งั แนวทางตอ ไปน้ี การปอ งกนั และกําจดั วชั พชื 1. ใชวธิ กี ารถอน ใชจ อบถาง ใชวิธีการไถพรวน 2. ใชวัสดุคลุมดนิ ซง่ึ เปน การปกคลมุ ผวิ ดนิ ชว ยอนรุ กั ษด นิ และน้ําและเปน การเพม่ิ อินทรียวตั ถใุ หก บั ดนิ อกี ดว ย โดยสว นใหญม กั ใชว สั ดธุ รรมชาติ ไดแก เศษซากพืช หรือวัสดเุ หลอื ใชใ นการเกษตร เชน ฟางขา ว ตอซงั พชื หญาแหง ใบไมแหง ตน ถว่ั ขุยมะพรา ว กากออ ย แกลบ เปน ตน นอกจากนย้ี งั มพี ลาสตกิ ทผ่ี ลติ ขน้ึ สําหรับการ คลุมดินโดยเฉพาะซง่ึ สามารถนํามาใชไ ดเ ชน กนั 3. ปลูกพืชคลุมดิน เชน การปลกู พชื ตระกลู ถว่ั คลมุ ดนิ ในสวนไมผ ล การปลกู พชื ตา งๆ เชน ผัก ไมด อก สมนุ ไพร แซมในสวนไมผ ล เปน ตน การปอ งกนั และกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช 1. การปอ งกนั และกําจดั โดยวธิ กี ล (mechanical control) เชน การใชม อื จบั แมลงมาทําลาย การใชม งุ ตาขา ย การใชกับดักแสงไฟ การใชกับดักกาวเหนียว เปน ตน 2. การปอ งกนั และกําจดั โดยวธิ เี ขตกรรม (cultural control) เชน 1) การดแู ลรกั ษาแปลงใหส ะอาด 2) การหาระยะเวลาทเ่ี หมาะสมในการปลกู พชื 3) การเก็บเกี่ยวพืชเพื่อหลีกเลี่ยงการทาํ ลายของโรคและแมลง

การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 20 4) การใชระบบการปลูกพืช เชน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม 5) การจดั การใหน ้ํา 6) การใสปุยใหเหมาะสมกับความตองการของพืชเพื่อลดการทําลายของโรคและ แมลง 3. การปอ งกนั และกําจดั ศตั รพู ชื โดยชวี วธิ ี (biological control) คอื การใช ประโยชนจ ากแมลงศตั รธู รรมชาติ คอื 1) ตวั เบยี น (parasite) สวนใหญหมายถึง แมลงเบยี น (parasitic insects) ที่ อาศัยแมลงศัตรูพืชเพื่อการดํารงชีวิตและการสืบพันธุซ่ึงทําใหแมลงศัตรูพืช ตายในระหวางการเจริญเติบโต 2) ตวั หา้ํ ไดแก สง่ิ มชี วี ติ ทด่ี าํ รงชวี ติ โดยการกนิ แมลงศตั รพู ชื เปน อาหารเพอ่ื การ เจริญเติบโตจนครบวงจรชีวิต ตัวหํ้าพวกนี้ ไดแก ✣ สัตวท ่ีมีกระดูกสันหลงั ไดแก สตั วป ก เชน นก สตั วเ ลอ้ื ยคลาน เชน งู กิง้ กา สตั วค รง่ึ บกครง่ึ น้าํ เชน กบ ✣ ตัวหํ้าสว นใหญท ม่ี คี วามสําคญั ในการควบคมุ แมลงและไรศตั รพู ชื ไดแ กส ตั ว ไมม กี ระดกู สนั หลงั เชน แมงมุม ไรตัวหํ้า และตัวหํา้ สวนใหญ ไดแก แมลง หาํ้ (predatory insects) ซ่ึงมีมากชนดิ และมกี ารขยายพนั ธไุ ดร วดเรว็ 3) เชื้อโรค สวนใหญหมายถึงจุลินทรียที่ทําใหแ มลงศตั รพู ชื เปน โรคตาย เชน เชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา โปรโตซัว ไสเ ดอื นฝอยทําลายแมลงศตั รพู ชื 1. การปอ งกันโดยใชพันธุพืชตานทาน (host plant resistance) 2. การปอ งกนั และกาํ จดั ศตั รพู ชื โดยใชส มนุ ไพรตา งๆ ตัวอยา งการปอ งกนั และกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช 1.การใชนํา้ สกดั สมนุ ไพรในการปอ งกนั และกําจัดแมลงศัตรูพืช เชน การ ใชสะเดา ขา และตะไครห อม ซึ่งทาํ ไดโดยใชสะเดา (ใชส ว นของเมลด็ แก) ขา (ใชส ว นของหวั ขา แก) ตะไครหอม (ใชส ว นของใบสเี ขยี วเขม ) อยา งละ 2 กก. โขลกหรอื ตําแลวแชนาํ้ 20 ลติ ร นาน 24 ชั่วโมง โดยไวในที่รม กรองเอากากออก น้ํายาที่ไดจะเขมขนควรเจือจางดวย นา้ํ ประมาณ 8 เทา (ควรเตมิ สารจบั ใบซง่ึ จะใชน า้ํ สบู 3 ชอ นแกงตอ น้าํ ยาที่ผสมแลว 20 ลติ ร เพ่ือใหน้ํายาเกาะติดใบและตัวแมลงไดดีขึ้น) สูตรนี้ใชฉีดปองกันและกําจัดหนอนและแมลง ตางๆ แตก็ไมไดหมายความวาจะใชไดกับแมลงทุกชนิด เชน แมลงปก แขง็ พวกดว งเตา แตง จะใช ไมคอยไดผลแตน้ําสกัดจากเมล็ดนอยหนาจะใชไดผลดีกับแมลงปกแข็งดังกลาว ยังมีพืช สมุนไพรอีกมากมายหลายชนดิ ทส่ี ามารถใชป อ งกนั และกําจดั แมลงศตั รพู ชื ได เชน ขมน้ิ โลต น้ิ พริกข้ีหนู สาบเสอื ยาสูบ ฯลฯ ซง่ึ เราสามารถนํามาทดลองใชใ นการปอ งกนั และกาํ จดั แมลงศตั รู พชื ไดโดยนาํ มากสกดั ดว ยวิธีงา ยๆ คอื บดแลวแชนาํ้ นาํ นา้ํ สกดั สมนุ ไพรนน้ั ไปเจอื จางตาม ความเหมาะสมแลว นําไปฉีดพน ในชว งทม่ี หี นอนมาก ควรฉีดพนทุกๆ 3 วัน แตอ ยา งไรกต็ าม ควรตรวจดูแมลงทุกๆเชาถาพบก็ใหใชมือรีบกําจัดกอน เชน กลุมของไขแมลง กลมุ ของตวั

การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 21 หนอน เปน ตน ในการใชส ารสกดั สมนุ ไพรอาจจาํ เปน ตอ งใชบ อ ยครง้ั ในชว งแรกๆ ของการทาํ เกษตรธรรมชาติเน่ืองจากมแี มลงศตั รธู รรมชาตอิ ยนู อ ยแตถ า ในชว งหลงั ๆ ดนิ ดขี น้ึ และมแี มลง ศัตรูธรรมชาติมากข้ึนก็ไมจําเปนตองใชสารสกัดสมุนไพรในการควบคุมแมลงศัตรูพืชหรืออาจ ใชนอ ยมากกส็ ามารถปลกู พชื ไดผ ลดเี ชน กนั สารจับใบที่ไดจากนาํ้ สบสู ามารถทาํ ไดโดยใชสบูซันไลท 1 กอ น หน่ั เปน ฝอยๆ เตมิ น้าํ อุน 1 ลติ ร คนใหล ะลาย น้าํ สบนู จ้ี ะใชเ ตมิ ในนา้ํ สมนุ ไพรไดท กุ สตู รซง่ึ เปน สารจบั ใบ เพอื่ ใหนาํ้ ยาเกาะตดิ ใบและตวั แมลงไดด ขี น้ึ อตั ราทใ่ี ชค อื ใชน า้ํ สบู 3 ชอนแกง ตอ นา้ํ สมนุ ไพรท่ีผสมแลว 20 ลติ ร 2.การใชสารสกัดสุมนไพรปองกันและกําจัดโรคพืช เชน การใชวานหางจระเข กระเทยี ม อยา งละ 200 กรัม บดแลว กรองเอากากออก เตมิ น้าํ ใหค รบ 20 ลติ ร เตมิ น้าํ สม สายชู 100 มลิ ลลิ ติ ร และเติมนาํ้ สบดู งั กลา วมาแลว ดว ย ใชฉีดพนทุกๆ 7 วัน เพอ่ื ปอ งกนั โรครา แปงของพืชตระกูลแตงได จากผลการทดลองพบวา กระเทยี มมผี ลตอ การปอ งกนั โรคราแปง บน ใบแคนตาลูปไดมากและวา นหางจระเขม ผี ลตอ การปอ งกนั โรคนไ้ี ดป านกลาง (T. Sittirungsun and H. Horita, 1999) 3.การนําวสั ดเุ หลอื ใชม าใชใ นการปอ งกนั และกําจดั แมลงศตั รพู ชื เชน เปลอื กไขน ํา มาหอดวยกระดาษหนังสือพิมพแลวเผา และนาํ มาทุบใหพอละเอียด นาํ ไปโรยรอบๆ ตน พชื ชวยปอ งกนั หนอนกระทไู ด เปน ตน 1. การใชก บั ดกั กาวเหนยี วสเี หลอื ง จากผลการทดลอง พบวาการใชกับดักกาว เหนียวสีเหลืองในการปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืชจะชวยลดแมลงศัตรูพืชไดมากในระยะแรก ของการทําเกษตรธรรมชาติเพราะในชวงนั้นมีแมลงศัตรูธรรมชาติหรือตัวห้ําตัวเบียนอยูนอย แตถาทําเกษตรธรรมชาติไประยะหน่ึงและมีแมลงศัตรูธรรมชาติมากพอก็ไมมีความจําเปนใน การใชกับดักกาวเหนียวอีกก็สามารถปลูกพืชไดผลดี นอกจากน้ีกับดักกาวเหนียวยังเหมาะ สําหรบั การปลกู พชื ผกั กางมงุ หรอื ปลกู ใน Green House รวมท้ังแปลงเกษตรกรตอ งการลดการ ใชส ารเคมอี กี ดว ย (T. Sekine and T. Sittirungsun, 2000) ในปจจุบันมีเกษตรชาวสวนผลไมนําเอากาวเหนียวสีเหลืองนี้ไปทารอบโคนตนผลไม เพ่ือปองกันมดซง่ึ จะมผี ลตอ การปอ งกนั พวกเพลย้ี ตา งๆ ไดผ ลดี เชนเกษตรกรชาวสวนทุเรียน แถบภาคตะวนั ออก เปน ตน

การปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 22 ขอเสนอแนะในการปอ งกนั และกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ในการทําเกษตรธรรมชาติในระยะแรกๆ หรอื ระยะเพง่ิ ปรบั เปลย่ี นมาทําเกษตรธรรม ชาติน้ันเกษตรกรอาจประสบปญหาโรคและแมลงศัตรูพืช เกษตรกรควรแกปญหานี้โดยใชวิธี การปองกันและกําจดั วธิ ตี า งๆ ผสมผสานกนั ไปโดยหลกี เลย่ี งการใชส ารเคมดี งั ทไ่ี ดก ลา วมาแลว และเม่ือทําเกษตรธรรมชาติไปสักระยะหน่ึงดินจะดขี น้ึ การเจรญิ เตบิ โตของตน พชื กจ็ ะดขี น้ึ ทาํ ให ตนพืชแข็งแรง และนอกจากนี้ยังมีแมลงศัตรูธรรมชาติมากขึ้นแมลงศัตรูธรรมชาติเหลานี้ก็จะ ชวยควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ใหโ ดยธรรมชาติ แนวทางการปรบั เปลย่ี นมาสเู กษตรธรรมชาติ ก า ร ป รั บ เ ป ล่ี ย น ม า สู  เ ก ษ ต ร ธ ร ร ม ช า ติ เกษตรกรอาจทดลองเลือกพื้นบางสวนทํ าเกษตร ธรรมชาติโดยเลิกใชปุยเคมีและสารเคมีในพื้นท่ีเลก็ ๆ กอนและเมอ่ื ไดเ รยี นรแู ละทาํ ไดด แี ลว กค็ อ ยๆ ขยาย พ้ืนทอ่ี อกไป หรอื อกี แนวทางหนง่ึ คอื ทาํ การลดการใช ปุยเคมีและสารเคมีในพื้นท่ีทั้งหมดโดยคอยๆลดทีละ นอย และในที่สุดก็สามารถทาํ เกษตรธรรมชาตใิ นพน้ื ท่ีท้ังหมดไดอ ยา งเตม็ รปู แบบ เทคนคิ การผลติ ผกั ในการเพาะปลูกพืชผักตางๆ ใหไ ดผ ลผลติ ดี และมีคุณภาพดีน้ันนอกจากหลักเกษตรธรรมชาติท่ี กลาวมาแลวเราจําเปนตองเรียนรูลักษณะและความ ตองการของพชื ชนดิ นน้ั ๆ ดว ยซง่ึ จะไมข อกลา วไวใ นท่ี นี้แตจะอานไดจากหนังสือเก่ียวกับผักไมดอก ไมผล แตล ะชนดิ ซึ่งจะชวยใหการเพาะปลูกพืชผักไดประสบ ความสาํ เรจ็ มากยง่ิ ขน้ึ เราไดอ ะไรจากการทําเกษตรธรรมชาติ ถาเราทําเกษตรธรรมชาติเราไดร ายไดเ ปน ตวั เงนิ จากการขายผลผลติ และไดร ายไดท ไ่ี ม ใชตัวเงนิ แตเ ปน รายไดใ นรปู ตา งๆ เชน อาหารที่ปลอดภัยสาํ หรบั ครอบครวั เกษตรกรผูผลิต และผูบริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดี มสี ขุ ภาพดไี มเ จบ็ ปว ยไมต อ งเสยี เงนิ คา รกั ษาพยาบาล ในดา นสง่ิ

การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ✽ 23 แวดลอมวิธีการเกษตรธรรมชาติจะชวยรักษาสิ่งแวดลอมและชวยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไว ใหอยูชั่วลูกชั่วหลาน รฐั บาลไมต อ งเสยี คา ใชจ า ยในการแกไ ขปญ หามลพษิ ตา งๆ เกษตรธรรม ชาติเปนรูปแบบหนึ่งท่ีสอดคลองกับแนวทางการดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดาํ ริ คอื การอมุ ชตู นเองได พออยพู อกนิ ผลติ ของกนิ เอง ใหใชสิ่งที่ผลิต ที่ปลูก เก้ือกูล กัน มีเหลือแบง ปน มคี วามพอเพยี งกบั ตนเองกบั ครอบครวั และชมุ ชน กลบั ไปหนาแรก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook