ประวัติวันพืชมงคล พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ หรือพิธีแรกนา เป็นพระราชพิธีท่ีมีมา ต้ังแต่โบราณเม่ือคร้ังท่ีสุโขทัยเป็นราชธานี ซ่ึงในสมัยน้ันพระมหากษัตริย์มิได้ลง มือไถนาเอง เพียงแต่เสด็จฯ ไปเป็นองค์ประธานในพระราชพิธีเท่าน้นั เม่อื คร้ันถึง สมัยกรุงศรีอยุธยา พระมหากษัตริย์ไม่ได้เสด็จฯ ไปเป็นองค์ประธาน แต่จะมอบ อาญาสทิ ธ์ใิ หโ้ ดยทรงทาเหมอื นอยา่ งออกอานาจกษัตรยิ แ์ ละจะทรงจาศลี เป็นเวลา 3 วัน โดยวิธีการเช่นน้ีได้ปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองตลอดมาจนถึงปลายสมัยกรุงศรี อยุธยาต่อมา ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ต้ังแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ได้โปรดให้ข้าราชการช้ันผู้ใหญ่เป็นผู้ ประกอบพระราชพธิ ีแรกนาขวัญแทนพระองค์ และมไิ ด้ถือว่าเป็นพธิ ีหนา้ พระท่ีน่งั จะยกเว้นก็ต่อเม่อื มพี ระราชประสงค์จะทอดพระเนตร ในตอนแรกๆ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอโพธิต์ าก จังหวัดหนองคาย
มีสถานท่ีประกอบพิธีที่ไม่ตายตัว แล้วแต่จะทรงกาหนดให้ คร้ันมาถึงในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 4 พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดพธิ สี งฆเ์ พม่ิ ข้นึ ในพระราชพธิ ตี ่างๆ ทกุ พธิ ี ฉะน้นั พระราชพิธีพืชมงคล จึงได้ เร่มิ มขี ้นึ เป็นคร้ังแรกนบั แต่น้นั มา โดยได้จัดรวมกับพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรก นาขวัญ ทาใหม้ ชี ่อื เรียกรวมกันว่า พระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ ส่วนพิธีกรรมนอกเหนือจากการทาเป็นตัวอย่างท่ีทรงจาแนกไว้ 3 อย่าง 2 อย่าง แรกที่ว่า “อาศัยคาอธิษฐานเอาความสัตย์เป็นที่ต้ังบ้าง ทาการซ่ึงไม่มีโทษนับว่า เป็นการสวัสดิมงคลตามซ่ึงมาในพระพุทธศาสนาบ้าง” ทรงหมายถึง พิธีพืชมงคล อันเป็นพธิ สี งฆ์ที่กระทา ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ส่วนอีกอยา่ งหน่ึงท่ีว่า “บูชา เซ่นสรวงตามท่ีมาทางไสยศาสตร์บ้าง” ทรงหมายถึง พิธีจรดพระนังคัลแรกนา ขวัญ อันเปน็ พธิ ีทางพราหมณ์ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอโพธติ์ าก จังหวัดหนองคาย
วันท่ีเหมาะแก่การประกอบพิธีพืชมงคล วันประกอบพิธีพืชมงคลน้ันต้องเป็นวันท่ีดีท่ีสุดของแต่ละปี ประกอบด้วย ข้นึ แรม และฤกษ์ยาม ประกอบกันให้ได้วันอันอุดมฤกษ์ตามตาราโหราศาสตร์ แต่จะต้องอยู่ในระหว่างเดือน 6 เพราะช่วงเดือนนี้กาลังจะเริ่มเข้าฤดูฝน อัน เป็นระยะเวลาท่ีเหมาะสมสาหรับเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา จะได้เตรียมทานา เม่ือโหรหลวงได้คานวณวันอันอุดมมงคลพระฤกษ์ที่จะประกอบพิธีจรดพระ นังคัลแรกนาขวัญแล้ว สานักพระราชก็จะบันทึกลงไว้ในปฏิทินหลวงท่ี พระราชทานในวันข้ึนปีใหม่ทุกปี รวมถึงได้กาหนดว่าวันใดเป็นวันพืชมงคล และวันใดเปน็ วันจรดพระนังคัลแรกนาขวัญไว้อยา่ งชดั เจน ห้องสมุดประชาชนอาเภอโพธติ์ าก จังหวัดหนองคาย
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เดิมทีจะกระทาท่ีทุ่งพญาไท แต่เม่ือได้มีการฟ้ ืนฟูพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญข้ึนใหม่ จึงได้ เปลี่ยนแปลงสถานที่โดยจัดใหม้ ีข้นึ ที่ท้องสนามหลวง ท้ังนี้ วันแรกนาขวัญ นับเป็นอีกหน่ึงวันสาคัญของชาติ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้ในวันนี้เป็น วันหยุดราชการ 1 วัน และมีประกาศใหช้ ักธงชาติตามระเบียบราชการ อน่งึ นบั ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2509 เป็นต้นมา คณะรฐั มนตรไี ด้ประชุมปรึกษากัน โดยลงมติให้วันพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเป็นวัน เกษตรกรประจาปีอีกด้วย ท้ังน้ี เพ่ือให้ผู้ที่มีอาชีพทางเกษตรพึงระลึกถึง ความสาคัญของการเกษตร และร่วมมือกันประกอบพระราชพิธีพืชมงคล จรดพระนงั คัลแรกนาขวัญเพ่อื เปน็ สิรมิ งคลแก่อาชพี ของตน หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอโพธิต์ าก จังหวัดหนองคาย
การประกอบพระราชพิธีวันพืชมงคล พระราชพธิ พี ืชมงคล เป็นพิธีทาขวัญพืชพันธุ์ธัญญาหารที่พระบาทสมเด็จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ท ร ง อ ธิ ษ ฐ า น เ พ่ื อ ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง พื ช พั น ธุ์ ใ น ราชอาณาจักรไทย โดยข้าวท่ีนามาเข้าพิธีพืชมงคลน้ันเป็นข้าวเปลือก มีท้ัง ขา้ วเจ้าและขา้ วเหนียว อีกท้ังยังมีเมล็ดพืชชนิดต่างๆ รวมกว่า 40 ชนิด ซ่ึงแต่ ละชนิดจะถูกบรรจุอยู่ในถุงผ้าขาว นอกจากนี้ก็ยังมีข้าวเปลือกท่ีใช้สาหรับ หว่านในพิธีแรกนาบรรจุเข้ากระเช้าทองคู่หน่ึงและเงินอีกคู่หน่ึง เป็นข้าวพันธุ์ ดีที่โปรดฯ ให้ปลูกในสวนจิตรลดาและพระราชทานมาเข้าพิธีพืชมงคล ซ่ึง พันธุ์ข้าวพระราชทานน้ีจะใช้หวานในพระราชพิธีแรกนาส่วนหน่ึง ส่วนท่ี เหลือทางการจะบรรจุซองแล้วส่งไปแจกจ่ายแก่ชาวนานและประชาชนใน จังหวัดต่างๆ เพ่ือเปน็ ม่งิ ขวัญและเป็นสิริมงคลแก่พืชผลที่จะเพาะปลูก หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอโพธิต์ าก จังหวัดหนองคาย
สาหรับการประกอบพิธีน้ันจะถูกกาหนดข้ึนโดยโหรหลวง ซ่ึงในระหว่างพิธีอัน สวยงามนี้ ก็จะมกี ารทานายปรมิ าณนา้ ฝนในชว่ งฤดฝู นท่ีกาลังจะมาถึง โดยพระยา แรกนาจะทาการเลือกผ้า 3 ผืนท่ีมีความยาวต่างกันตามชอบใจ ซ่งึ ผา้ ท้ัง 3 ผนื น้ีมี ความคล้ายคลึงกัน หากพระยาแรกนาเลือกผืนท่ียาวที่สุดก็ทายว่า ปีนี้ปริมาณ น้าฝนจะมีน้อย แต่ถ้าเลือกผืนท่ีส้ันที่สุด ทายว่าปีน้ีจะมีปริมาณน้าฝนมาก หรือ หากเลือกผืนท่ีมีความยาวปานกลาง ทายว่าปีน้ีจะมีปริมาณน้าฝนพอประมาณ ต่อมา หลังจากท่ีสวมเส้อื ผา้ ที่เรียกว่า ผา้ นงุ่ เรียบร้อยแล้ว พระยาแรกนาก็จะไถลง ไปบนพ้ืนท่ีท้องสนามหลวงด้วยพระนังคัลสีแดงและสีทอง มีพระโคเพศผู้ลาตัวสี ขาวทาหน้าที่ลาก แล้วตามด้วยเทพีท้ัง 4 ทาหน้าที่หาบกระเช้าทองและกระเช้า เงินที่บรรจุเมล็ดข้าวเปลือก นอกจากน้ียังจะมีคณะพราหมณ์ท่ีเดินคู่ไปกับขบวน พรอ้ มท้ังสวดและเปา่ สงั ขไ์ ปในขณะเดียวกัน หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอโพธติ์ าก จังหวัดหนองคาย
เม่ือเสร็จจากการไถแล้ว พระโคจะได้รับการป้อนพระกระยาหารและ เคร่ืองด่ืมท้ังส้ิน 7 ชนิด ได้แก่ เมล็ดข้าว ถ่ัว ข้าวโพด หญ้า เมล็ดงา น้า และ เหล้า ไม่ว่าพระโคจะเลือกกิน หรือด่ืมส่ิงใดก็ทายว่าในปีน้ันๆ จะสมบูรณ์ด้วย สงิ่ ท่ีพระโคเปน็ ผูเ้ ลือก ข้ันตอนต่อมา พระยาแรกนาจะทาการหว่านเมล็ดข้าว ประชาชนจะพากันมาแย่งเก็บ เพราะถือกันว่าเมล็ดข้าวนี้เป็นส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ อันจะนามาซ่ึงความอุดมสมบูรณ์และก่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่มีไว้ ในครอบครอง เม่ือเก็บเมล็ดข้าวกลับไปแล้ว ชาวนาก็จะใช้เมล็ดข้าวท่ีเก็บ ได้มาผสมกับเมล็ดข้าวของตัว เพ่ือให้พืชที่ลงแรงลงกายปลูกในปีท่ีจะมาถึงนี้ มีความอุดมสมบูรณ์ ที่มา: http://event.sanook.com/day/ploughing/ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอโพธิต์ าก จังหวัดหนองคาย
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: