Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนห้วยเขย่ง

แผนห้วยเขย่ง

Published by อังกูร จำปาทอง, 2023-07-02 14:42:02

Description: แผนnew

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของตำบลหว้ ยเขย่ง ข้อมูลพ้ืนฐานตำบลหว้ ยเขย่ง ช่อื และท่ตี ้ัง ช่ือสถานศกึ ษา กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง ท่ตี ัง้ หม่ทู ่ี ๘ บ้านรวมใจ ตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบรุ ี

2 การตดิ ต่อส่อื สาร เบอร์โทรศัพท์ 081 0072525 034-599-406 อีเมล์ [email protected] สงั กดั สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทองผาภูมิ ประวตั คิ วามเปน็ มาและสภาพปัจจบุ ันของ กศน. ตำบลห้วยเขย่ง ศรช.ตำบลหว้ ยเขย่งแตเ่ ดมิ เคยเป็นทอี่ ่านหนงั สือของหม่บู ้านปากลำปลิ ๊อกอยู่ในเขตวัดปากลำปิล๊อก ต่อมาผนู้ ชมุ ชนและชาวบ้านได้ยกใหศ้ รช.ตำบลหว้ ยเขย่งเป็นผคู้ รอบครองเพอ่ื เป็นประโยชนต์ ่อนกั ศึกษากศน. ในตำบลไดศ้ ึกษาหาความรู้ ต่อมาในปี 2552 ไดย้ า้ ยอาคารเรียนมายงั ม.8 ตำบลห้วยเขย่ง เป็นอาคารที่นา่ เรยี นยิ่งข้ึนและพอปี 2553 ทางเลขาธิการกศน.ได้แตง่ ต้งั ใหเ้ ป็น กศน.ตำบลห้วยเขย่งจนถึงปัจจบุ ัน ประวัติตำบลห้วยเขย่ง นั้นคำว่าห้วยเขย่ง มาจากการที่แม่ของ นายห้วยเขย่ง แสงทอง ได้ไป อาบนำ้ ทลี่ ำหว้ ยขณะที่ท้องแก่ใกล้คลอดและคลอดนายพะเขยง่ ทีล่ ำห้วยแมเ่ ลยตั้งช่ือว่านาย พะเขย่ง คนท่ัวไป ในสมัยนั้นเลยเรียกบ้านที่ไปอยู่นี้ว่าบ้านห้วยเขย่ง นานวันเข้าคำว่าพะหล่นหายไปคงเหลือแต่ห้วยเขย่ง (นามสกุลแสงทองได้หายสาบสูญไป เนื่องจากภรรยาของนายพะเขย่งมีสามีสองคน คนแรกนามสกุลแก้วใจ ลูกติดสามีคนแรกคือนาย อินทร์สวน แก้วใจ หลังจากนายพะเขย่งเสียชีวิต นายอินทร์สวนเป็นพี่ใหญ่ ของตระกูล ตอนไปแจ้งทำบัตรประชาชน น้องฯ คอื นายคำเกยี ว นางมะไม้ นายบุญเมก ซ่ึงเปน็ ลูกของนาย พะเขย่ง จึงต้องมาใช้นามสกุลแก้วใจตามพี่ชายต่างบิดา นาย พะเขย่ง แสงทองมีอาชีพรับจ้างจับช้างป่า ตอนหลังถูกช้างป่าเหยียบตายที่ต้นไทรหน้าสถานีอนามัยบ้านห้วยเขย่ง ปัจจุบันต้นไทรที่ว่านี้ถูกโค่นไป เรียบร้อยแลว้ ที่ตั้ง ตำบลห้วยเขย่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก (ตามแผนที่ประเทศไทย) ติดชายแดนประเทศเมียนมาร์ มีระยะทางจากจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 170 กิโลเมตร ระยะห่างจากอำเภอทองผาภูมิประมาณ 30 กโิ ลเมตร เน้อื ที่ ตำบลห้วยเขยง่ มเี นอ้ื ท่ี 407 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 254,875 ไร่ มอี าณาเขตติดต่อกบั ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับตำบลปลิ อ๊ ก ทิศใต้ ตดิ ต่อกับตำบลทา่ ขนนุ ตำบลหนิ ดาดและตำบลลน่ิ ถิ่น ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับตำบลทา่ ขนนุ และตำบลหินดาด ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับตำบลปลิ อ๊ กและประเทศ เมยี นมาร์ ลักษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภมู ิประเทศสว่ นใหญ่ของตำบลหว้ ยเขยง่ เปน็ ภูเขาสูงสลบั ซับซ้อน มีทร่ี าบ บ้างระหวา่ งหุบเขาประมาณ 40% ของพืน้ ทท่ี ั้งหมด ราษฎรส่วนใหญ่อาศยั อยู่ในพ้ืนท่ที ี่ไดร้ ับการจดั สรรจากการ ไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค อันเนื่องมาจากการสร้างเข่ือนวชริ าลงกรณ และส่วนมากพน้ื ทีข่ องตำบลหว้ ยเขยง่ จะมีลำธาร ลำห้วยหลายสาย อันเป็นแหลง่ ของต้นน้ำลำธารไหลลงสู่อ่างเก็บนำ้ เข่ือนวชริ าลงกรณ แตป่ ัจจุบันนำ้ ในลำ ธารและลำหว้ ยต่างๆได้แห้งลงไปมาก อนั เกิดจากผลกระทบท่ีมีการตัดไม้ทำลายป่าและเผาป่าบรเิ วณแหล่ง ตน้ นำ้ ลำธาร ราษฎร ประกอบอาชีพทำการเกษตร และ อยู่อาศัยบนพนื้ ที่ราบของตำบลประมาณ 101,950 ไร่

3 ลักษณะภูมิอากาศ เป็นมรสุมในเขตร้อน( Tropical monsoon climate ) จึงได้รับอิทธิพลจากลม มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงฤดูฝน และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงฤดูหนาว มีอุณหภูมิเฉลี่ย ตลอดปี 26.6 องศาเซลเซียส โดยมอี ุณหภมู สิ ูงสดุ ในเดือนเมษายน เท่ากบั 29.6 องศาเซลเซยี ส และต่ำสุด ในเดือนธันวาคม เท่ากับ 23.5 องศาเซลเซียส มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 81 เปอร์เซ็นต์ โดยมี ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดในเดือนสิงหาคม เท่ากับ 90 เปอร์เซ็นต์ และต่ำสุดในเดือนมีนาคม เท่ากับ 68 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณน้ำฝน มีปริมาณน้ำฝนรวมตลอดปี 1,736.5 มิลลิเมตร โดยมีปริมาณน้ำฝนสูงสุดใน เดอื นสิงหาคมเท่ากับ 329.5 มลิ ลิเมตร และต่ำสดุ ในเดือนธนั วาคมเทา่ กบั 2.9 มลิ ลิเมตร ฤดูรอ้ น เรม่ิ ต้ังแตเ่ ดอื นกมุ ภาพนั ธ์-เดือนเมษายน ฤดฝู น เร่ิมตั้งแต่เดอื น พฤษภาคม-เดือนกรกฎาคม ฤดูหนาว เรมิ่ ตั้งแตเ่ ดือนพฤศจิกายน-เดือนมกราคม ตาราง 1 ประชากรแยกเปน็ รายหมู่บา้ น หมบู่ า้ น หมู่ท่ี ครวั เรอื น พื้นที จำนวนประชากร ชอื่ ผูน้ ำหมบู่ ้าน ตร.กม. ชาย หญิง บ้านท่ามะเด่ือ 1 405 577 526 นายบุญชัย วงั แกว้ บ้านปากลำปลิ ๊อก 2 427 บ้านบ้านห้วยเขยง่ 3 274 583 547 นายเอกพล ถาทะวงศ์ บา้ นบา้ นประจำไม้ 4 441 บา้ นไรป้า 5 254 323 324 นายสยาม โพธท์ิ อง บา้ นบา้ นไร่ 6 842 บา้ นหว้ ยปากคอก 7 691 607 602 นายสมชาย ปญั ญาทลู บา้ นรวมใจ 8 351 424 367 นายอภชิ าติ ศรเี รอื น 1,247 1,119 นาย สิทธิพงษ์ อุประนาระ 994 915 นายชัยภทั ร ประดิษฐค์ า่ ย 467 424 นายนาวา เมานอ้ ย * รวม 3,685 5,222 4,824 ทม่ี า : องค์การบรหิ ารส่วนตำบลห้วยเขยง่ ปี พ.ศ. 2566

4 แผนที่แสดงที่ตั้ง กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง ประวัตคิ วามเป็นมาและสภาพปัจจบุ ันของ กศน. ตำบลห้วยเขย่ง ศรช.ตำบลห้วยเขย่งแตเ่ ดิมเคยเป็นทอ่ี า่ นหนังสือของหมบู่ า้ นปากลำปลิ อ๊ กอยใู่ นเขตวดั ปากลำปิลอ๊ ก ต่อมาผู้นชมุ ชนและชาวบา้ นไดย้ กให้ศรช.ตำบลห้วยเขยง่ เป็นผูค้ รอบครองเพื่อเปน็ ประโยชน์ตอ่ นักศึกษากศน. ในตำบลไดศ้ ึกษาหาความรู้ ต่อมาในปี 2552 ได้ย้ายอาคารเรยี นมายัง ม.8 ตำบลหว้ ยเขย่ง เปน็ อาคารที่นา่ เรยี นยงิ่ ขึน้ และพอปี 2553 ทางเลขาธิการกศน.ได้แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ กศน.ตำบลหว้ ยเขย่งจนถึงปจั จุบัน

5 บทที่ 2 นโยบายจุดเน้นการดำเนินงานของ กศน.อำเภอทองผาภมู ิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ นโยบายและจุดเนนการดำเนินงาน สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป(พ.ศ. 2561 -2580) ไดกำหนดแผน แมบทประเด็น การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต โดยมีแผนยอยที่เกี่ยวของกับการใชการศึกษา เปนเครื่องมือในการ ขบั เคล่ือนไดแก แผนยอยประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู และแผนยอยประเดน็ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวง ชวี ติ ท่ีมุงเนนการสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพมนุษยการพัฒนาเด็กต้ังแตช วงการตั้งครรภจนถึงปฐมวัย การพัฒนาชวงวัยเรยี น/วยั รุน การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงาน รวมถึง การสงเสริมศักยภาพวัยผูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย ดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาศักยภาพ คน ตลอด ชวงชวี ิต และนโยบายเรงดวนเร่ืองการเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและ แผนระดับชาติ วาดวยความมั่นคงแหงชาติ(พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังวาการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดชวงชีวิต ประชาชนจะไดรับ การพัฒนาการเรียนรูใหเปนคนดี คนเกงมีคุณภาพ และมีความพรอมรวม ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ไดกำหนดนโยบายและ จุดเนน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 ขึ้น เพื่อเปน เข็มมุงของหนวยงานภายใตกระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลอื่ นการดำเนนิ งานใหบรรลตุ ามวตั ถุประสงคของแผนตาง ๆ ดงั กลาว สํานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการท่มี ุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการ พัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะที่สําคัญ จําเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ และมีความพร้อมร่วมขบั เคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคงมัง่ คั่งและยั่งยืน โดย เนน้ การพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศกึ ษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยอันจะนําไปสู่ การสร้างโอกาส ความเท่าเทียมและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพ การใหบ้ รกิ ารสําหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสรา้ งความพึงพอใจให้กบั ผรู้ ับบริการ โดยได้ กําหนดจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดงั นี้ หลกั การ กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” จดุ เน้นการดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ๑. การจัดการศึกษาเพ่ือความปลอดภยั ๑.๑ สร้างความปลอดภัยในหน่วยงาน/สถานศึกษา และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ผ่านกิจกรรม “White Zone กศน. ปลอดภัย ไร้สารเสพติด” เน้นแนวทางการปฏิบัติภายใต้หลักการ ๓ ป. ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยจากสถานการณ์ต่าง ๆ อาทิเช่น โรคระบาด เหตุการณ์ความไม่สงบ เป็นต้น ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆ อย่าง เข้มข้น รวมทั้ง ดําเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการดําเนินการ เพื่อปรับปรุง พัฒนา และ ขยายผลต่อไป

6 ๑.๒ ปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ท่ีเกี่ยวข้อง โดยบูรณาการกระบวนการ จัดการเรยี นรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและ สร้างสรรค์ พรอ้ มทัง้ หาแนวทางวิธีการปกป้องค้มุ ครองต่อสถานการณท์ เี่ กิดขน้ึ กับผูเ้ รยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ๑.๓ เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชน และวางแผน เตรียมความพร้อมในการป้องกัน รับมือ และเยียวยา เหตุการณ์ภัยพิบัติจากธรรมชาติ รวมทั้งการปรับตัว รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศที่จะเกิดขน้ึ ในอนาคต ๒. การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ๒.๑ ส่งเสริม สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษานําหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิอย่างเตม็ รูปแบบ เพ่อื สรา้ งสมรรถนะทีส่ ําคัญจําเป็นสําหรบั ศตวรรษที่ ๒๑ ใหก้ บั ผเู้ รียน ๒.๒ พัฒนาทักษะดจิ ทิ ัลสาํ หรับผู้เรยี นทุกชว่ งวยั เพอื่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมดจิ ทิ ัลในโลกยคุ ใหม่ ๒.๓ ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมัน่ คง การสรา้ งความเขา้ ใจท่ีถูกต้องในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดมั่น ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็น พลเมือง และมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จําเป็น ต่อการดํารงชวี ิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่างบคุ คล การ เตรียมพร้อม รับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของ ท้องถิ่น ๒.๔ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสํานักงาน กศน. ท่ี หลากหลายทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และนําไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความสนใจรายบุคคล ของผู้เรยี น ๒.๕ สง่ เสริมให้ความรูด้ า้ นการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรา้ งวนิ ยั ทาง การเงินให้กับบุคลากรและผู้เรียน กศน. โดยบูรณาการการทํางานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการคลัง ธนาคาร สหกรณ์ ผา่ นกระบวนการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมตา่ ง ๆ ๒.๖ ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ ห้องสมุดประชาชน และ แหล่งเรียนรอู้ ืน่ ๆ ของ กศน. ให้มีความทนั สมัย สวยงาม สะอาด จงู ใจผ้เู ข้ารับบริการ มฐี านจัดการเรียนรู้ด้าน ต่าง ๆ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอาชีพ มีมุมกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ทํากิจกรรมร่วมกับครอบครัว พื้นที่การ เรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/Co - learning Space ที่ผู้รับบริการสามารถรับเอกสารรับรอง การเขา้ รว่ ม กจิ กรรม เพอ่ื นาํ ไปใช้ประโยชนใ์ นสว่ นท่เี กี่ยวข้องหรือสะสมหนว่ ยการเรยี นรู้ (Credit Bank) ๒.๗ จัดทํารายละเอียดการก่อสร้างแหล่งเรียนรู้ กศน. เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดทําคําขอ งบประมาณในการปรบั ปรุง/ซ่อมแซม ๒.๔ ส่งเสริมให้สถานศึกษานําผลการทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (N-net) ไปใช้วางแผนพัฒนา ประสทิ ธิภาพในการจดั การเรยี นการสอน และยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาของผเู้ รียน ๒.๙ เร่งดําเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วยกิต เพ่ือ การสรา้ งโอกาสในการศึกษาในชมุ ชน ๒.๑๐ สร้าง อาสาสมคั ร กศน. เพ่ือเปน็ เครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนนุ การจดั การศึกษาตลอดชวี ติ

7 ๒.๑๑ ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ น เพอ่ื สร้างความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการสง่ เสรมิ การเรียนรูต้ ลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ๒.๑๒ สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการอา่ นเพื่อปอ้ งกันโรคสมองเสื่อมและการลืมหนงั สือในผู้สูงอายุ ๒.๑๓ ส่งเสรมิ การนําระบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในมาใชเ้ ปน็ แนวทางในการยกระดับคุณภาพ ให้กับผู้เรยี น และผูร้ ับบริการของสาํ นักงาน กศน. ๓. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทกุ ช่วงวยั ๓.๑ พัฒนาข้อมูลระบบสารสนเทศของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรายบุคคล เพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูล ประกอบการส่งต่อผู้เรียน และการค้นหาเด็กตกหล่นและออกกลางคัน ผ่านโครงการ “พาน้อง กลบั มาเรียน” และ “กศน.ปักหมุด” ๓.๒ พัฒนาข้อมูล และวางแผนทางเลือกทางการศกึ ษาและการเรียนรู้ที่หลากหลายใหก้ ับผู้เรียน กลมุ่ เป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ในการเขา้ ถงึ การศึกษา การเรยี นรู้ และการฝกึ อาชพี อย่างเท่าเทียม ๓.๓ พัฒนาทักษะฝีมือ พัฒนาการทางรา่ งกายและจิตใจกลุ่มผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถดําเนินชีวิตได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการดําเนินกิจกรรมใน ๔ มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้าน สงั คม ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี ๔. การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพและเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ๔.๑ พัฒนาหลกั สูตรอาชพี ทีเ่ น้น New skill Up - skill และ Re - skill ทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐาน อาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของ กลุ่มเป้าหมาย เชน่ ผพู้ กิ าร ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลมุ่ อาชีพใหม่ท่ีรองรับ Disruptive Technology เพอื่ การเข้าสูก่ ารรบั รองสมรรถนะและได้รับคุณวฒุ ติ ามกรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ รวมทัง้ สามารถนํา ผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลมุ่ เป้าหมายมกี ารศึกษา ในระดบั ทีส่ งู ขนึ้ ๔.๒ ประสานการทํางานร่วมกับศูนย์ให้คําปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start-up) ของ อาชวี ศกึ ษา ๔.๓ ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิ ปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทาง การจําหนา่ ย ๕. การพฒั นาบคุ ลากร ๕.๑ ส่งเสริม สนับสนุนการดําเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (Performance Appraisal : PA) โดยใช้ระบบการประเมินตําแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและ บคุ ลากร ทางการศึกษาระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) ๕.๒ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการ เรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผา่ นแพลตฟอรม์ ออนไลน์ต่าง ๆ รวมทั้งใหค้ ําปรึกษาเส้นทางการเรยี นรู้ การประกอบอาชพี และการดาํ เนนิ ชวี ิตของผูเ้ รยี นไดต้ ามความสนใจและความถนัดของแต่ละบคุ คล ๕.๓ พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องและ เหมาะสมกบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและโลกอนาคต ๕.๔ จดั กิจกรรมเสริมสรา้ งความสัมพนั ธ์ของบคุ ลากร กศน.และกิจกรรมเพม่ิ ประสิทธิภาพ ในการ ทํางานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพในการ ทํางาน

8 ๕.๕ เร่งรัดติดตามการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา และจัดตั้งกองทุน สวัสดกิ ารเพื่อชว่ ยเหลอื บคุ ลากรในสงั กดั สาํ นักงาน กศน. ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ๕.๖ บูรณาการการทํางานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด กศน. เพื่อพัฒนา บุคลากรในด้านวิชาการ อาทิ องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ การจัดทําหลักสูตรท้องถิ่นหรือหลักสูตร สถานศกึ ษา ๖. การพัฒนาระบบราชการ การบริหารจดั การ และการบรกิ ารภาครัฐ ๖.๑ ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ข้อมูลการรายงานผลการดําเนินงาน ข้อมูลเด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็ก เรร่ อ่ น ผพู้ ิการ ๖.๒ สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลและนวัตกรรมเป็นเครือ่ งมอื ในการบรหิ ารจดั การ อย่างเต็มรูปแบบ รองรับการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทํางานวิถีใหม่ และนําไปปรับใช้ได้กับ สถานการณ์ ในภาวะปกติและไม่ปกติ อาทิ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยให้ พิจารณาภารกิจและ ลักษณะงาน รูปแบบ ขั้นตอนวิธีการทํางาน รูปแบบการให้บริการประชาชน และ เทคโนโลยที ใี่ ชส้ นับสนนุ การปฏบิ ัติงาน ให้มีความเหมาะสม ๖.๓ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ ๔.๐ และการประเมิน คณุ ภาพและความโปรง่ ใสการดาํ เนนิ งานของภาครัฐ (ITA) ๖.๔ ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คาํ ส่งั และข้อบงั คบั ต่าง ๆ ให้มีความทันสมัย เออ้ื ต่อการบริหาร จัดการ และการจัดการเรียนรู้ ๖.๕ เร่งจดั ทาํ กฎหมายลําดบั รองเพ่อื รองรับพระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การเรียนรู้ พ.ศ. .... ควบคู่กับ การเตรยี มความพร้อมในการสรา้ งการรับรู้ให้กบั ประชาชนไดร้ บั ทราบอยา่ งทว่ั ถงึ การนาํ ไปสกู่ ารปฏบิ ัตแิ ละการตดิ ตามผล ๑. สื่อสาร ถ่ายทอด และสร้างความเข้าใจในแนวนโยบาย จุดเน้น และทิศทางการดําเนินงานให้กับ บุคลากรทุกระดบั ทกุ ประเภทในหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาในสังกัด ๒. วางแผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการ แผนพัฒนา และแผนการใช้จ่าย ของหน่วยงานและสถานศกึ ษา ให้มคี วามชัดเจน ๓. กํากับ และติดตามการปฏิบัติงานในพื้นที่อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการสร้างความร่วมมือกับ เครอื ข่ายในระดับชุมชน ๔. สรุปและรายงานผลการดาํ เนินงานเป็นระยะ และนําผลการดาํ เนินงานมาวิเคราะหเ์ พ่ือวางแผน ปรับปรงุ และแกไ้ ขแผนการดําเนินงาน เพื่อใหก้ ารขับเคลื่อนคุณภาพทางการศึกษาเกิดประสิทธิภาพ

9 บทท่ี 3 วิเคราะหข์ ้อมูล (SWOT) กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ ๓.๑ วิเคราะห์ขอ้ มูลสภาพแวดล้อมชมุ ชนระดบั ตำบล (SWOT Analysis) กศน.ตำบลห้วยเขยง่ ผลการวิเคราะห์ปจั จัยภายในภายนอก ของกศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง(SWOT Analysis) จากสภาพการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ผ่านมาของ กศน. ตำบลห้วยเขย่ง สามารถวิเคราะหป์ ัจจัยภายในภายนอกของกศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ SWOT Analysis ไดด้ ังนี้ S จดุ เด่น มีอาคารเป็นเอกเทศ หอ้ งเรียนธรรมชาติ ปา่ ภูเขา แหลง่ น้ำ สมบรู ณ์ เกษตรกรรม ปลกู ยาง ปลกู มนั เลยี้ งปลา ผลไม้ มีแหลง่ ทอ่ งเท่ียวตามธรรมชาติ เชน่ ปูราชนิ ี มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย W จุดดอ้ ย การคมนาคมไมส่ ะดวกในบ้างพนื้ ท่ี ขาดแหลง่ น้ำในการใชป้ ระโยชนใ์ นครวั เรือนและเกษตร คอมพวิ เตอร์มีน้อยเกินไป บางพน้ื ท่ีไม่มีสญั ญาณโทรศพั ท์ O โอกาส มีหลากหลายชนชาตทิ ีต่ อ้ งการการศึกษา มีแหลง่ เรยี นรูใ้ นชุมชนมีภมู ิปัญญาชาวบ้าน มีโครงการขยายผลโครงการหลวงหว้ ยเขยง่ T อปุ สรรค การย้ายถน่ิ ฐานของผู้เรียน ภาษาทใี่ ชใ้ นการส่ือสาร นักศกึ ษาไปหางานทำทอ่ี ืน่

10 สรุปสภาพปัญหาความต้องการ สาเหตุ และแนวทางแกไ้ ข/พฒั นาระดบั ตำบล จดุ แขง็ จดุ อ่อน 1. มเี ครอื ขา่ ยให้การสนบั สนุน เชน่ อบต., วดั , 1. การมสี ่วนรว่ มของเครือขา่ ยให้ความสำคญั และ โรงเรียน ให้ความรว่ มมือยงั ไมค่ รอบคลุมทุกพนื้ ที่ 2. มีแหล่งเรยี นรู้ และภมู ิปญั ญาในชมุ ชน 2. ประชาชน/ชุมชน ใช้ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม 3. สามารถเข้าไปจัดกิจกรรมถึงในชุมชน ไม่คุ้มค่า ทนุ ทางสังคมถูกละเลย เชน่ ภูมิปัญญา 4. บุคลากรเป็นคนในพื้นที่/ใกล้ชดิ ประชาชน ทอ้ งถ่นิ โอกาส อปุ สรรค 1.หน่วยงาน องค์กร เครือขา่ ยใหก้ ารสนับสนุนงาน 1.การจดั กจิ กรรมยุ่งยากจากกฎระเบียบแต่ละ กศน. หมู่บา้ น 2.ประชาชนใหค้ วามสนใจกบั กศน.เพ่ิมมากขึ้น 2.ผูร้ บั บริการไม่ค่อยมเี วลาและมีเวลาว่างไมต่ รงกนั 3. มแี หลง่ เรยี นรู้ และภูมิปญั ญาในพน้ื ที่ ยากตอ่ การจดั กิจกรรมอยา่ งต่อเนอื่ ง 4. เส้นทางการคมนาคมสะดวก 3.กล่มุ เป้าหมาย /ผู้รบั บรกิ ารมกี ารยา้ ยถน่ิ ฐานบ่อย ทำให้ขาดการประสานงานทีต่ ่อเนอื่ ง 4.พื้นที่ส่วนใหญ่เปน็ สงั คมเกษตรกรรม ท่ีมงุ่ การ ประกอบอาชีพมากกว่าการศึกษาต่อ ปจั จัยดา้ นเทคโนโลยี จดุ แขง็ จดุ ออ่ น 1. กลุ่มเปา้ หมายมชี อ่ งทางการเข้าถงึ เทคโนโลยี 1. ความเจริญทางเทคโนโลยี หลากหลาย เชน่ วทิ ยุ, โทรทศั น,์ อินเตอร์เน็ต, - กลมุ่ เป้าหมายตามไม่ทัน เนื่องจากขาดความรู้ โทรศพั ท์ ขาดการพฒั นาตนเอง, 2. มีสือ่ ทีห่ ลากหลาย เช่น CD, VCD, DVD, CAI - ไมส่ อดคล้องกับวิถชี วี ิต 3. มีการเผยแพรข่ ่าวสารประชาสมั พนั ธ์ทางเวป็ ไซต์ 2. การบรหิ ารจดั การระบบการใชอ้ ปุ กรณ์ใหค้ มุ้ คา่ 3. ระบบขอ้ มลู สารสนเทศยังไม่ดีพอ โอกาส อุปสรรค 1. หน่วยงาน องค์กร มีนโยบายให้การสนับสนุน 1. กล่มุ เป้าหมายบางส่วนยงั ขาดความเขา้ ใจในการ เชน่ การประชาสัมพันธ์ การให้บรกิ าร บริการงาน กศน. 2. การมสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมของภาคเี ครอื ขา่ ย 2. จดุ ให้บรกิ ารดา้ นเทคโนโลยีมีน้อย 3. มีชอ่ งทางการเผยแพรก่ ิจกรรมงาน กศน. สชู่ มุ ชน 3. ขาดระบบเครือข่ายต่อการรองรบั การใหบ้ ริการ 4. งบประมาณไมเ่ พยี งพอต่อการพัฒนาทางดา้ น เทคโนโลยีทเ่ี ปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ปัจจัยด้านเศรษฐกจิ จุดออ่ น จดุ แขง็ 1. ประชาชนมีรายไดไ้ ม่แนน่ อน 2. การบริหารจัดการมกี ฎ/ระเบยี บที่ชดั เจนแตข่ าด 1. ชมุ ชนมกี ารร่วมกลุ่ม เช่น กลมุ่ อาชีพ, กล่มุ มาตรการในการจัดการกบั ผไู้ ม่ปฏบิ ัติตามกฎ/ กลมุ่ ออมทรัพย์ ระเบยี บ 2. รฐั บาล/เอกชน ใหก้ ารสนับสนุนงบประมาณ เช่น กองทุนหมู่บ้าน

11 โอกาส อุปสรรค 1. ขอรับการสนบั สนนุ จากหน่วยงาน เชน่ อปท., 1. งบประมาณไมส่ อดคลอ้ งกับกจิ กรรม /โครงการ สำนกั งาน กศน. , สพท. 2. ไมม่ ีงบประมาณทางการศึกษาให้กับ 2. พืน้ ทสี่ ่วนใหญ่ประชาชนมีอาชีพดา้ นการ กลมุ่ เป้าหมาย เกษตรกรรมได้แก่การเพาะปลูกพชื 3. ภาระทางเศรษฐกิจในครอบครวั ของ กลมุ่ เป้าหมาย ด้านบุคลากร จดุ ออ่ น 1. ครมู ีภาระงานท่ตี ้องรับผิดชอบมากทำให้บางครัง้ จุดแขง็ ประสทิ ธภิ าพงานลดลง 2. จบการศกึ ษาไม่ตรงกบั รายวชิ าท่รี บั ผิดชอบ 1. ครอู ยใู่ นพน้ื ท่ี 3. ครูขาดการวางแผน การนำไปใช้การนิเทศติดตาม 2. ครมู ีความร้ทู หี่ ลากหลาย 7. ครขู าดการจดั ระบบเอกสาร และงาน 3. ครูมีมนุษยสมั พนั ธท์ ี่ดี สารสนเทศอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4. ครูไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง 5. ครูมคี วามสามารถปฏิบตั งิ านได้หลากหลาย อปุ สรรค 6. เปดิ โอกาสใหค้ รไู ด้มโี อกาสเพ่ิมพูนความรู้ 1. ขาดงบประมาณในการพฒั นา 7. ครูมีการบนั ทกึ ผลการปฏิบัติงาน 2. ขาดครทู ม่ี คี วามสามารถเฉพาะทางในพื้นที่ 8. ผูบ้ ริหารเอ้ือต่อการพัฒนางานของบคุ ลากร 3. ขาดความชดั เจนในภาระงานแตล่ ะด้าน ในทางที่ดี ระบบงานบางเรื่องไมส่ ามารถปฏิบัตแิ ทนกนั ได้ 9. ผูบ้ รหิ ารมคี วามรับผิดชอบสูง มีประสบการณ์ ในการบริหารงานอยา่ งมีระบบ โอกาส 1. มคี วามกา้ วหนา้ ทางอาชีพ 2. มกี ารพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง 3. สว่ นใหญ่ครเู ป็นทยี่ อมรบั ของกลุ่มเป้าหมาย

12 บทที่ 4 รายละเอียดแผนปฏบิ ัติการ กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ 4.๑ ตารางบญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ลำดบั ที่ ชอ่ื โครงการ งบประมาณ 1. การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานนอกระบบ 2. การศกึ ษาศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน (กลุม่ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) 10,000 3. การศกึ ษาศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน(อาชพี ระยะสน้ั ๓๑ ชม.ขน้ึ ไป) 4. การศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต 575 5. การศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน 2,000 6. การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1,200 7. การศกึ ษาตามอธั ยาศัย พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ในระดบั ตำบล 2,250 8. โครงการ ส่งเสริมการอา่ น ประจำปี 2566 9. โครงการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล 4 ศนู ย์เรียนรู้ รวม 16,025 รวม ..................8..................... โครงการ งบประมาณทงั้ ส้ิน ...................................................... บาท งบดำเนินงาน ............................................................. บาท งบรายจา่ ยอืน่ ............................................................ บาท งบอดุ หนนุ ................................................................. บาท หมายเหตุ ตารางบญั ชีใชต้ ารางตามแบบ Microsoft Excel

13 โครงการจัดการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง **************************************** 1. ชอื่ โครงการ การจดั การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน กศน. ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยุทธศาสตรด์ า้ นความมั่นคง 1.3 สง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการศกึ ษาเพอื่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาภยั คกุ คามในรูปแบบ ใหม่ท้งั ยาเสพตดิ การคา้ มนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภยั พิบัตจิ ากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ 3. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.3 สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรูท้ ท่ี ันสมัยและมปี ระสิทธภิ าพ เอ้ือต่อการเรียนรูส้ าํ หรับทุกคน สามารถเรียนได้ทุกที่ทกุ เวลา มีกจิ กรรมทห่ี ลากหลายนา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน 3. หลกั การและเหตุผล กศน.ตำบลห้วยเขย่ง มีหน้าที่จัดจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อยกระดับ การศึกษาของประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลชะแลที่ขาดโอกาส พลาดโอกาสและด้อยโอกาสทางการศึกษาให้ ได้รับโอกาสในการเรียนรู้ที่สูงขึ้น โดยใช้กลยุทธ์การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตให้กับประชาชนตามความต้องการ โดยเฉพาะในหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ทง้ั 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย โดยมีเป้าหมายเพื่อตอบสนองการจัดการศึกษาตลอดชีวิต และการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ ตามปรัชญา “คิดเป็น” มีการบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และ วัฒนธรรม เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และพัฒนาความสามารถเพื่อการทำงานอย่างมี คุณภาพ สามารถพง่ึ พาตนเองได้ รู้เทา่ ทันการเปลย่ี นแปลง สามารถปรับตัวอยูใ่ นสังคมปัจจุบนั ได้ กศน.ตำบลห้วยเขยง่ จึงได้จัดทำ โครงการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับ กลุม่ เป้าในเขตพ้ืนท่ีอำเภอทองผาภูมิ ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพอยา่ งท่ัวถึงและเท่าเทยี มเต็มทกุ พ้นื ท่ี 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพื่อประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เปน็ ไปตามสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการของแต่ละ กลมุ่ เปา้ หมาย 4.2 เพ่ือประชาชนไดร้ บั การยกระดับการศึกษา สรา้ งเสริมและปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม และความ เป็นพลเมือง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความ มน่ั คงและยง่ั ยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ (จำนวนนักศึกษาภาคเรยี นท่ี 2/2566 และภาคเรยี นที่ 1/2566) - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เปา้ หมาย 40 คน - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เปา้ หมาย 40 คน รวมทั้งสิน้ 80 คน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของผู้เรียนที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในระดับต่าง ๆ มีความรู้พื้นฐานสำหรับการ ดำรงชีวิตและสามารถศึกษาในระดับท่ีสูงข้นึ

14 6. วิธดี ำเนินการ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้ืนท่ีดำเนนิ การ ระยะเวลา จัดกระบวนการเรียนรู้ตาม 1. เพอ่ื ประชาชนผูด้ ้อย นกั ศกึ ษา 80 คน กศน.ตำบลห้วย 1 ต.ค.66 หลักสูตรการศึกษานอกระบบ พลาด และขาดโอกาส ภาคเรียนที่ เขย่ง ถึง ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ทางการศึกษา รวมทัง้ 2/2565 – 30 ก.ย. - ระดบั ประถมศึกษา ประชาชนทั่วไปได้รับ 1/2566 66 - ระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนต้น โอกาส ทางการศึกษาใน - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รปู แบบการศึกษานอก *จดั หา/ซ้ือหนังสือเรยี น ระบบระดบั การศึกษาขั้น *กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พ้ืนฐาน ทม่ี คี ุณภาพ - ติวเข้มเติมเต็มความรู้เตรียม อยา่ งเทา่ เทียมและทวั่ ถึง ความพรอ้ มสู่การสอบ N – Net เป็นไปตามสภาพ ปญั หา - โครงการคุณธรรมเพื่อสร้าง และความต้องการของ เสรมิ สุขภาวะท่ดี ี แตล่ ะ กลุ่มเปา้ หมาย *กิจกรรมการจัดการเรียนการ เพ่ือประชาชนได้รบั การ สอน ยกระดบั การศึกษา สร้าง - พัฒนาบคุ ลากร เสรมิ และปลกู ฝัง - กจิ กรรมรบั สมคั รนักศึกษา คุณธรรม จริยธรรม และ ปฐมนิเทศ /ไหว้ครู ความเปน็ พลเมือง อัน - กจิ กรรมนิเทศการจดั การ นำไปสู่การยกระดับ เรียนการสอน คณุ ภาพชวี ิตและ - สอบปลายภาค / และ NT เสริมสร้างความเข้มแขง็ -พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ใหช้ ุมชน เพื่อพฒั นาไปสู่ *กิจกรรมสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สือ ความมน่ั คงและยงั่ ยนื *กจิ กรรมประเมนิ เทยี บระดับ ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และ สง่ิ แวดลอ้ ม 7. งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2566 แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการ ศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน งบอุดหนุน

8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ 15 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส4 (ม.ค. - มี.ค. (เม.ย.– มิ.ย. (ก.ค. - ก.ย. กจิ กรรมหลกั (ต.ค. - ธ.ค. 2566) 2566) 2566) 2565) จัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลักสูตร การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน - ระดบั ประถมศึกษา - ระดบั มัธยมศึกษา ตอนต้น - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย *จดั หา/ซื้อหนังสือเรียน *กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน - ตวิ เข้มเติมเต็มความร้เู ตรยี มความ พร้อมสู่การสอบ N – Net - โครงการตามรอยพระปกเกลา้ ฯเจ้า ฟา้ ประชาธปิ ไตย - โครงการคณุ ธรรมเพื่อสร้างเสรมิ สุข ภาวะทีด่ ี *กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน - พฒั นาบุคลากร - กิจกรรมรับสมคั รนักศึกษา ปฐมนิเทศ /ไหวค้ รู - กิจกรรมนเิ ทศการจัดการเรยี น การสอน - สอบปลายภาค / และ NT -พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา 9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ นายองั กูร จำปาทอง ครู กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ 10. เครอื ข่าย ผู้นำทอ้ งถ่ิน องค์การบริหารสว่ นตำบล สถาบันศาสนา องค์กรชุมชน สาธารณสขุ ผนู้ ำชมุ ชน

16 11. โครงการ/กจิ กรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 1. กิจกรรมจดั ซ้ือ/จา้ งหนงั สือเรียน 2. โครงการจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 3. โครงการจดั การเรียนการสอน 4. โครงการสง่ เสริมการรูห้ นงั สอื 12. ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการศึกษา สามารถศึกษาจบหลักสูตร กศน. มีความรู้พื้นฐานสามารถนำความรู้ไป ประยุกตใ์ ช้ในการประกอบอาชพี และศกึ ษาตอ่ ในระดบั ที่สูงข้ึน 13. ดัชนชี ว้ี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1) ตวั ชี้วดั ผลผลติ (Output) - ผู้เข้ารับการศึกษามีความรู้พื้นฐานเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ ประกอบอาชพี และศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทส่ี ูงขึ้น 13.2) ตวั ชวี้ ัดผลลัพธ์ (Outcome) - ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารบั การศึกษามีความรูพ้ ืน้ ฐานท่ีสงู ข้ึน 14. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนผู้ด้อยโอกาสพลาดและขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง การศกึ ษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ท่มี คี ุณภาพ 15. การติดตามและประเมินผลโครงการ 15.1 แตง่ ตงั้ คณะกรรมนิเทศตดิ ตามผล 15.2 ประเมินผล จากการสังเกต การบนั ทึก และแบบสอบถาม

17 โครงการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ กศน.ตำบลห้วยเขย่ง ******************************************* 1. โครงการขับข่ปี ลอดภัย ในการใช้รถใชถ้ นน 2. สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน กศน.การศึกษาต่อเนอ่ื ง ประจำปีงบประมาณ 2566 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สำนักงาน กศน. เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ไดมุงมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบาย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลัก ธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุงเน นผลสัมฤทธ์ิ และปฏบิ ตั กิ ารดานขอมูลขาวสาร การสรางบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู ตลอดจนการ ใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ โดยเนน การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การ จัดการเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบรหิ ารจัดการคุณภาพ อนั จะนำไปสูการสรางโอกาสและลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศึกษาการยกระดับ คณุ ภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการสำหรับทุกกลุม เปาหมาย และสรางความพงึ พอใจ ใหกับผูรบั ริการ 1. ดานการจดั การเรยี นรูคุณภาพ 1.3 สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคง การสรางความเขาใจที่ถูก ตอง ในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูทีป่ ลูกฝงคุณธรรมจรยิ ธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ ความยดึ ม่ันในสถาบันหลักของชาติ รวมถงึ การมจี ติ อาสา ผานกจิ กรรมตางๆ 3. หลักการและเหตผุ ล ปัจจบุ ันตอ้ งยอมรบั ว่าปัญหาจราจร เป็นปญั หาทีต่ อ้ งอาศยั ระยะเวลาในการแก้ไข โดยจะต้อง อาศัย ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป การทำงานต้องมี การ ประสานความร่วมมือและร่วมกันทำงานไปพร้อมๆ กัน เนื่องจากสภาพการใช้รถใช้ถนนในปัจจุบัน มี ปัญหา เกิดขึ้นหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจากการใชร้ ถใช้ถนน ซึ่งเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชน โดยมีสาเหตุสำคัญหลายประการ กล่าวคือ ผู้ใช้รถใช้ถนนส่วนใหญ่ ขาดความรู้ ความ เข้าใจเกีย่ วกบั กฎหมายจราจร ระเบียบขอ้ บงั คับต่างๆ ขาดจติ สำนึกรับผดิ ชอบ ขาดมารยาทและวินัยในการขับ ขี่ ซึ่งการใช้มาตรการทางกฎหมายเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลดอัตราความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้ จึงจำเป็นอย่าง ยิ่ง ที่จะต้องทำการณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ รวมทั้งการอบรม ให้ความรู้ และปลูกฝั งการจราจรแก่ เยาวชน ประชาชนอย่างจริงจังและต่อเนื่องตามนโยบายรัฐบาล กำหนดให้ดำเนินงานตามโครงการถนนสีขาว คำว่า “ถนนสขี าว หมายถึงเส้นทางคมนาคมสำคัญทหี่ นว่ ยงานพฒั นาปรับปรุงใหส้ ัญจรอย่างปลอดภัย รวดเร็ว และสะดวก และรณรงคล์ ดอุบัตเิ หตจุ ราจรในสายทาง (ZERO ACCIDENT)” จากความสำคัญดังกล่าวศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทองผาภูมิจึงได้ จัดทำโครงการขับขี่ปลอดภัย ในการใช้รถใช้ถนนขึ้น เพื่อเสริมสร้างวินัยการจราจรให้กับผูเ้ ข้า รับการอบรมได้ เคารพกฎจราจร ฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ เสริมสร้างวินัย การจราจร

18 ประชาชนได้รับความปลอดภัย รวดเร็ว และสะดวกในการเดินทาง ลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน จาก อุบัติเหตุทางถนน สร้างจิตสำนึกความปลอดภัยแก่ภาคประชาชน เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความ เข้าใจในกฎจราจรดีขึ้นเป็นอย่างดี และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่น (หรือผู้ฝ่าฝืนกฎ จราจร) ให้เห็นความสำคญั ของวนิ ัยจราจรและปฏบิ ัติอย่างถกู ต้อง 4. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ใหผ้ ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมได้รับความรู้และทักษะเกยี่ วกับการขับข่ีรถจกั รยานยนต์อยากถูกต้อง ตามหลกั การขับขีป่ ลอดภยั ถูกกฎจราจร 2. เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมได้รบั ความรู้ในการป้องกนั อบุ ตั เิ หตใุ นท้องถนน และสามารถปฏิบตั ิตน ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเม่อื เกดิ อบุ ตั เิ หตุขึ้น 5. เปา้ หมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนทัว่ ไป จำนวน 18 คน 5.2 เชงิ คุณภาพ กลุ่มเปา้ หมายรอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ ร่วมโครงการขบั ขีป่ ลอดภัย ในการใช้รถใชถ้ นน นำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎจราจรในชีวิตประจำวัน มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถ เผยแพร่ความรู้ให้กับ คนในครอบครัวและประชาชนในชุมชน สร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบต่อสังคม และ ตระหนักถึงการเตรียม ความพร้อมก่อนออกเดนิ ทาง 6.วิธีการดำเนนิ งาน กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้า พื้นท่ี ระยะ งบ เปา้ หมาย หมาย ดำเนนิ การ เวลา ประมาณ 1. ประชาคมหมบู่ ้านเพอื่ ทราบความ 1. เพอ่ื ให้ผูเ้ ข้ารับ ประชาชน 18 ศาลาอเนก วันท่ี 1,288 การฝึกอบรมได้รับความรู้ ตำบลทา่ ขนุน คน ประสงคบ์ า้ น 29 ต้องการของประชาชน หินแหลม หมู่ 5 ตำบล 2. ประชมุ ปรกึ ษาหารือกบั ผูเ้ กย่ี วข้อง และทกั ษะเกยี่ วกบั การขับข่ี ตำบลห้วย ทา่ ขนุน ธ.ค. 3. ประสานงานงานหน่วยงาน รถจักรยานยนต์อยาก เขยง่ อำเภอทอง 65 เครือข่ายเพ่ือจดั ทีมวิทยากรในการให้ ถกู ต้องตามหลักการขบั ขี่ ตำบลปลิ อ๊ ก ความร้กู บั ปลอดภัย ถกู กฎจราจร อ.ทองผาภูมิ ผาภมู ิ 4. เขียนโครงการและขออนุมัติ จังหวัด โครงการ 2. เพอ่ื ให้ผู้เขา้ รับ จ.กาญจนบุรี กาญจนบรุ ี 5. จดั เตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ การฝึกอบรมไดร้ ับความรใู้ น การปอ้ งกนั อุบตั เิ หตใุ นท้อง 6. ดำเนินการจัดกจิ กรรมตาม ถนน และสามารถปฏิบัติตน โครงการฯ ได้อยา่ งถกู ต้องเมื่อเกดิ 7. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน อบุ ตั ิเหตุข้ึน

19 7. งบประมาณปี 2566 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการขับเคลื่อนการ พัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน งบดำเนินงาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 1,288 บาท (หนึง่ พันสองรอ้ ยแปดสิบแปดบาทถ้วน) -ค่าอาหารว่างและเครื่องดม่ื จำนวน 18 คน x 30 บาท x 1 มอื้ เปน็ เงนิ 540 บาท -คา่ วัสดุ เป็นเงิน 748 บาท รวมเปน็ เงินทง้ั สนิ้ 1,288 บาท (หนึง่ พนั สองรอ้ ยแปดสบิ แปดบาทถ้วน) หมายเหตุ (ค่าใชจ้ า่ ยถัวจ่ายตามทจ่ี า่ ยจริง) 8.แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ม.ค.-มี.ค. 65) (เม.ย.-มิ.ย. 65) (ก.ค.-ก.ย. 65) (ต.ค.-ธ.ค. 64) - - - จัดอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ 1,288 9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ - นางสาวอรอนงค์ โพธนิ์ อก ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลทา่ ขนนุ - นายอังกูร จำปาทอง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง - นายอฐั พล กลบี ทอง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลปลิ ๊อก 10. เครอื ขา่ ย 1. ผ้นู ำชุมชน 2. สถานีตำรวจภธู รทองผาภมู ิ 11.โครงการท่เี กยี่ วข้อง 11.1 โครงการการศกึ ษาตอ่ เนื่อง 11.2 โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ผลท่คี าดว่าจะได้รบั 1. กลมุ่ เป้าหมายได้มีความรู้และทักษะเกยี่ วกับการขบั ขร่ี ถจกั รยานยนต์อยากถูกต้องตามหลักการขับ ขี่ปลอดภยั ถกู กฎจราจร 13. ดัชนีชี้วดั ผลสำเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชวี้ ัดผลผลติ - ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายเขา้ รว่ มกจิ กรรมการอบรมใหค้ วามรู้ขบั ขี่ปลอดภัยสร้าง วินัยจราจร 12.2 ตัวช้วี ัดผลลัพธ์

20 - รอ้ ยละ 80 ของกลุม่ เปา้ หมายเขา้ รว่ มกิจกรรมมีความร้ใู นการพัฒนาทักษะชวี ติ ตรงตาม หลักสูตร - รอ้ ยละ 80 ของกลมุ่ เปา้ หมายทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจในระดบั ดขี น้ึ ไป 14. ผลประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั 1. ผ้รู ับการอบรมมีความรู้และทักษะเกีย่ วกบั การขบั ขร่ี ถจักรยานยนต์อยากถูกต้องตามหลักการขบั ข่ี ปลอดภยั ถูกกฎจราจร 2. ผรู้ ับการอบรมมีความรู้ในการปอ้ งกันอุบตั ิเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อยา่ งถูกต้อง เมื่อเกดิ อุบัติเหตขุ น้ึ 15. การตดิ ตามและประเมนิ ผล - แบบประเมินความพงึ พอใจ - การตดิ ตามผล

21 โครงการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง **************************************** 1. ช่ือโครงการ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 2. ตามนโยบายและจุดเนน้ การดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภารกจิ ตอเน่อื ง 1.3 การศกึ ษาตอเนื่อง 3) จดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรูแบบบูรณา การในรูปแบบของการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูการจัดกิจกรรมจิตอาสา การ สรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแตละพื้นที่ เคารพ ความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทั้งสังคมพหุ วฒั นธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพ่ือแลกเปล่ยี นเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิตสาธารณะ การสรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตยการเคารพในสิทธิและเสรภี าพ และรับผดิ ชอบตอหนาท่ีความเปนพล เมืองที่ดีภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมการเปนจิตอาสา การบําเพ็ญประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสาธารณภัยการ อนุรักษพลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การชวยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและ ชุมชนอยางยง่ั ยนื 3. หลกั การและเหตผุ ล ทรัพยากรธรรมชาตนิ ับเป็นปจั จยั ทีส่ ำคัญต่อการดำรงชีพของมนษุ ย์ซึ่งท่ผี ่านมาในอดีตประเทศไทยเ คยมี ทรัพยากรธรรมชาติทีส่ มบรู ณ์ มสี ภาพแวดล้อมท่ีดแี ตป่ จั จุบนั พบว่าทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย และใช้ ประโยชนอ์ ยา่ งส้นิ เปลอื งไม่คุม้ คา่ เกดิ ความสูญเสียทางดลุ ยภาพของระบบนเิ วศ ส่งผลกระทบ ตอ่ มนษุ ย์ในท่สี ุด เพอื่ มิใหท้ รัพยากรธรรมชาตถิ กู ทำลายไปมากกวา่ นีจ้ งึ จำเป็นทเ่ี ราจะต้องร่วมมือกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรร ม ชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะป่าต้นน้ำ ซ่ึงถือเป็นต้นกำเนิดของ“พลังงาน ”และต้นทางของ “ชีวิต”มี หลกั การ ดงั น้ี 1. เป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เข้าร่วมได้มีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม 2. มุ่งใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มมีจิตสำนึกในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 3. ส่งเสรมิ ให้ใชเ้ ทคโนโลยใี นการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม กศน. อำเภอทองผาภูมิเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวและตระหนักดีว่าการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับเยาวชนและประชาชนเป็นหนทางที่จะดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติไว้ได้ยืนยาวที่สุด เพราะเยาวชนและประชาชนจะเป็นกำลังสำคัญในการดูแลรักษา ทรพั ยากรธรรมชาตติ อ่ ไปในอนาคต จงึ ไดจ้ ัดทำ โครงการการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม สร้าง ฝายชะลอน้ำในชุมชน เพอ่ื แกป้ ัญหาสภาวะภยั แลง้ ซึ่งเปน็ แหลง่ นำ้ เดมิ ท่ีขาดการดแู ลโดยร่วมมือระหวา่ ง กศน. อำเภอทองผาภูมิ และชาวบ้านในชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาความแห้งแล้งและ สรา้ งความช่มุ ชื้น พรอ้ มคนื ธรรมชาติให้แกช่ ุมชนรวมทางป้องกนั ภัยพิบัติธรรมชาติอนั เกิดจากปัญหาน้ำป่าไหล หลากและภัยแลง้ ในพ้ืนท่ีต่อไป

22 4. วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้ารว่ มได้มีความรู้ความเขา้ ใจในการใชน้ ้ำและการใช้ประโยชน์จากฝายชะลอน้ำ 2. เพ่อื ให้ผเู้ ข้าร่วมมีทักษะในการทำฝายชะลอนำ้ 5. เปา้ หมาย 5.1 เชงิ ปริมาณ ประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน 5.2 เชงิ คณุ ภาพ รอ้ ยละ 80 ของประชาชนในพนื้ ทีท่ ผี่ า่ นการเขา้ ร่วมโครงการสามารถ นำความรู้และทักษะ ท่ไี ด้รบั มาใช้ในครอบครวั และชวี ิตประจำวนั 6.วธิ ีการดำเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนทด่ี ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ จัดอบรมเชงิ -ความหมาย/ -ประชาชน จำนวน บ้านประจำไม้ 26 16,800 บาท ปฏบิ ัติการ ความสำคญั - ทั่วไป 60 คน หมู่4 ตำบล มกราคม การอนุรักษ์ ความรู้ ทรพั ยากรธรรมชาติ หว้ ยเขย่ง 2566 เกยี่ วกับการ และสงิ่ แวดล้อมโดย อำเภอทองผา อนุรักษ์ ทางตรง ภูมิ ทรพั ยากรธรร -การอนรุ ักษ์ มชาติ และ ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และส่ิงแวดล้อมโดย ทางอ้อม การบรหิ าร ความร้เู บอ้ื งตน้ จดั การ เก่ียวกบั การจัดการ นำ้ ความหมายและ ทรพั ยากรน้ำ ความสำคญั นำ้ / แหลง่ น้ำ - กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง การสร้างฝาย ความหมาย/ ชะลอน้ำ ความสำคญั -ประโยชน์ การสร้าง ฝายชะลอน้ำ

23 7. งบประมาณ ผลผลิตที่ 4 ผรู้ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบกิจกรรมจดั การศกึ ษานอกระบบงบดำเนนิ งานเพ่อื เป็น คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดกจิ กรรมการศึกษา เพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน เปน็ จำนวนเงินทงั้ ส้นิ 16,800 บาท (หนงึ่ หมน่ื หกพันแปดร้อยบาทถว้ น) - คา่ อาหาร (60 คน x 70 บาท x 1 ม้อื ) จำนวน 4,200 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องด่มื (60 คน x 25 บาท x 2 มือ้ ) จำนวน 3,000 บาท - คา่ วิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 200 บาท จำนวน 1,000 บาท - ค่าป้ายโครงการ ขนาด 300 x 150 ซม. จำนวน 675 บาท - ค่าวสั ดุ จำนวน 7,925 บาท (คา่ ใชจ้ ่ายถวั จา่ ยตามท่จี า่ ยจรงิ ) รวมท้งั สน้ิ จำนวน 16,800 บาท (หนง่ึ หม่ืนหกพันแปดร้อย บาทถว้ น) 8.แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ม.ค.-ม.ี ค. 66) (เม.ย.-มิ.ย. 66) (ก.ค.-ก.ย. 66) (ต.ค.-ธ.ค. 65) 16,800 -- จัดอบรมเชิงปฎบิ ัติ - การ 9. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 1. นายอังกูร จำปาทอง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 2. นายศรนารายณ์ กำไร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล 3. นายอัฐพล กลีบทอง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล 4. นายนำชัย แก้วแสนตอ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล 5. นางสาวอรอนงค์ โพธน์ิ อก ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 6. นางสาวชัญญา ป๋อพร้งิ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล 7. นางสาวเวยณ์ ิกา ทองผาภมู ิปฐวี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 8. นางสาวพันสุณี เกรยี งแสนภู 9. นายศรนารายณ์ กำไร 10. เครือขา่ ย 1. ผนู้ ำชุมชน 2. อบต.ห้วยเขยง่

24 11. โครงการท่เี กี่ยวขอ้ ง - 12. ผลลพั ธ์ -ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการมีความรคู้ วามเข้าใจในการใช้นำ้ และการใช้ประโยชน์จากฝายชะลอน้ำในชุมชนของ ตนเอง และมีทักษะในการทำฝายชะลอน้ำ 13. ดชั นีชว้ี ัดความสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ (Output) ร้อยละ 80 ของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการสรา้ งฝายชะลอนำ้ ร้อยละ 80 ของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ รจู้ ักการใช้ประโยชนจ์ ากฝายชะลอนำ้ ในชุมชนของตนเอง 13.2. ตัวชว้ี ดั ผลลพั ธ์ (Outcome) ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ มีทักษะและทราบถึงวิธีการทำฝายชะลอน้ำ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการใช้น้ำและการใช้ประโยชน์จากฝายชะลอนำ้ ในชมุ ชนของตนเอง 14. ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ 1.ผู้เข้ารบั การอบรมไดค้ วามรู้ จากการใช้ประโยชน์จากฝายชะลอนำ้ ในชุมชนของตนเอง 2.ผู้เข้ารับการอบรมมที ักษะในการทำฝายชะลอนำ้ เพื่อไว้ใชใ้ นชมุ ชนของตนเอง 15. การประเมินผล ๑. การสังเกต

25 โครงการจดั การเรยี นรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลห้วยเขยง่ **************************************** ๑. ช่ือโครงการ สง่ เสริมการเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” สู่วถิ ีพอเพียง ๒. ตามนโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายเร่งดว่ น เพ่ือรว่ มขับเคลือ่ น ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ร่วมขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศ ตามโครงการไทยนิยม ยงั่ ยืน - บรู ณาการขับเคลื่อนการทํางานตามแนวทาง ประชารฐั ดําเนินโครงการ/กิจกรรมในพ้ืนที่ทั้งในระดับ ตําบล หมบู่ ้าน - สนบั สนุนกลไกการขับเคล่ือนในพื้นท่ที ุก ระดบั ต้ังแต่จังหวดั อาํ เภอ ตําบล และ หมบู่ า้ น - สรา้ งความเข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียง เสรมิ สรา้ งวินยั การออม ๓. หลกั การและเหตุผล “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นรูปแบบหนึ่งของการแก้ไขปัญหาเรื่องการจัดการน้ำ ที่สถาบันเศรษฐกิจ พอเพยี งและมลู นิธกิ สกิ รรมธรรมชาติ ไดน้ อ้ มนำพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลย เดช รัชกาลที่ ๙ ด้านการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บริหารจัดการน้ำ และพื้นท่ี การเกษตรโดยมีการผสมผสานกับภูมปิ ญั ญาพน้ื บา้ นให้สอดคลอ้ งกนั โคก-หนอง-นา โมเดล คือ การจดั การพ้นื ท่ีซง่ึ เหมาะกับพื้นท่ีการเกษตร ซง่ึ เป็นผสมผสานเกษตรทฤษฎี ใหม่ เข้ากับภูมิปัญญาพื้นบ้านที่อยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพื้นที่นัน้ ๆ โคก-หนอง-นา โมเดล เป็นการที่ ให้ธรรมชาติ จัดการตวั มนั เองโดยมี มนุษยเ์ ปน็ สว่ นส่งเสรมิ ให้มนั สำเร็จเรว็ ขึน้ อย่างเปน็ ระบบ เพื่อให้ความรู้กับ ประชาชนให้ สามารถมีความรู้เกี่ยวการบริการจัดการที่ดินของตนเองและสอดคล้องกับพื้นที่ที่ตนเองมีอยู่ จึง จัดทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้“โคก หนอง นาโมเดล ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมความรู้ให้กับ ประชาชนสามารถนำมาประยุกตใ์ นการบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์และเหมาะสมในการทำการเกษตร และอยอู่ ย่างพอเพียงได้ ๔. วัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื อบรมใหค้ วามรเู้ กีย่ วกับการบริหารจัดการท่ดี ินแบบโคก หนอง นา โมเดล และส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ ชมุ ชนเป็นหมบู่ า้ นท่ีย่งั ยนื ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง นำความร้ไู ปประยุกต์ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ๕. เป้าหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนท่ัวไป จำนวน ๑๘ คน เชิงคณุ ภาพ ผรู้ บั การอบรมได้รับความรู้ ความเขา้ ใจ ในการให้ความรู้เก่ยี วกับการบริหารจัดการที่ดินแบบโคก หนอง นา โมเดล และสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ ชุมชนเป็นหมู่บา้ นท่ียงั่ ยืนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง นำความรู้ ไปประยกุ ตใ์ นชีวติ ประจำวันได้

26 ๖. วิธีดำเนินการ กิจกรรม วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย พืน้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย ๑8 คน ดำเนินการ 8400 บาท ๑.ข้ันดำเนินการ ๑. เพอื่ อบรมให้ ประชาชนท่ัวไป ณ ศนู ย์ ๒5 ธ.ค. 65 ตำบลปลิ อ๊ ก ศกึ ษาและ ๑.๑ ประชมุ สำรวจความ ความรเู้ ก่ียวกับการ ตำบลห้วยเขย่ง พฒั นาตาม ปัญหา/ความต้องการ บรหิ ารจดั การที่ดนิ กศน.ตำบลทา่ ขนนุ หลักปรัชญา แบบโคก หนอง นา เศรษฐกจิ ๑.๒ จัดหาวทิ ยากร/ โมเดล และส่งเสรมิ พอเพยี ง ผเู้ ช่ียวชาญเพอื่ เปน็ ที่ สนับสนนุ ให้ ชุมชน โคก หนอง ปรกึ ษาและเตรียมกลมุ่ ผู้ เปน็ หมบู่ ้านท่ียั่งยืน นา โมเดล เข้าอบรม ตามแนวทาง เข่อื นวชิรา ลงกรณ ๑.๓ จัดเตรยี มอุปกรณ์ เศรษฐกจิ พอเพียง อำเภอทอง และสถานที่ นำความรู้ไป ผาภูมิ จงั หวัด ๒ ข้ันดำเนินการ ประยุกตใ์ น กาญจนบรุ ี ๒.๑ จัดทำแผนงาน ชวี ติ ประจำวนั ได้ โครงการเสนอขออนมุ ัติ งบประมาณตอ่ กศน. อำเภอทองผาภูมิ ๒.๒ ดำเนนิ การอบรม ตามแผนงานโครงการ ๓. ตดิ ตามและ ประเมินผล ๔.สรุปและรายงานผล การอบรมเสริมทกั ษะ การเรียนรู้ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๗. งบประมาณ จากเงินงบประมาณปี ๒๕๖6 แผนงบประมาณ : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลติ ท่ี 4 ผูร้ ับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน กระบวนการจดั การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประมาณการเปน็ ค่าใช้จา่ ยดงั นี้ -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑๘ คน x 70 บาท x 1 มอื้ เป็นเงิน 1,260 บาท

-ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่มื จำนวน ๑๘ คน x 25 บาท x 2 ม้ือ เป็นเงนิ 27 -คา่ วสั ดุ เปน็ เงิน 900 บาท 943 บาท รวมเป็นเงินทงั้ สิ้น 3,103 (สามพันหนึ่งรอ้ ยสามบาทถ้วน) หมายเหตุ ทุกรายการขอถัวจ่ายตามทีจ่ ่ายจรงิ 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส ๔ (ต.ค.-ธ.ค. 64) (ม.ค.-ม.ี ค. 65) (ก.ค.-ก.ย.65) (เม.ย.-ม.ิ ย. สาธิต - ปฏบิ ัติ ๓,103 - 65) - - ๙. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลปลิ อ๊ ก - นายอัฐพล กลบี ทอง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลห้วยเขยง่ - นายอังกูร จำปาทอง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลท่าขนนุ - นางสาวอรอนงค์ โพธิน์ อก ๑๐.เครอื ขา่ ย - เขื่อนวชิราลงกรณ ๑๑.โครงการท่ีเก่ียวข้อง ๑๑.๑ โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๑.๒ โครงการการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ๑๑.๓ โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome) ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั ๑. กลุ่มเปา้ หมายได้มีความรเู้ กี่ยวกับการทำสารชีวภาพปราบศัตรูพชื เพ่อื ลดต้นทุนการผลิตในการทำ การเกษตร สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนเป็นหมบู่ ้านท่ยี ่ังยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง นำความรู้ไปประยุกต์ ใน ชีวติ ประจำวัน ๑๓. ดชั นีช้วี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ ตวั ชี้วัดผลผลติ ( Out put ) ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเปา้ หมาย มีความพึงพอใจในกระบวนการเรียนรู้อยู่ในระดับดีข้นึ ไป

28 ตวั ช้ีวดั ผลลพั ธ์ (Out come) ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนเข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมคี วามพึงพอใจในระดับดีข้นึ ไปต่อการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาพัฒนา สังคมและ ชุมชนสามารถมีความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการท่ดี นิ แบบโคก หนอง นา โมเดล และ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ชุมชนเปน็ หม่บู า้ นทีย่ ั่งยนื ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง นำความรู้ไปประยุกตใ์ น ชวี ติ ประจำวนั 14. ผลประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 1. ผู้รับการอบรมมคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การบรหิ ารจัดการที่ดนิ แบบโคก หนอง นา โมเดล และ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ ชมุ ชนเป็นหมบู่ ้านทย่ี ่ังยนื ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง นำความรู้ไปประยกุ ต์ใน ชวี ิตประจำวันได้ 15. การตดิ ตามและประเมนิ ผล - แบบประเมนิ ความพึงพอใจ - การตดิ ตามผล

29 โครงการสง่ เสริมการอา่ น ประจำปี 2566 กศน.ตำบลห้วยเขย่ง 1. โครงการ สง่ เสริมการอา่ น ประจำปี 2566 2. สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดำเนนิ งาน กศน. ภารกิจตอ่ เน่อื ง 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอานและพัฒนา ศักยภาพ การเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน. ตำบล หองสมุด ประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสร้างเครือขาย สงเสริมการอาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคลื่อนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและ อุปกรณเพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตางๆ อยางทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และ การจัดกิจกรรมเพื่อสงเสรมิ การอาน อยางหลากหลายรูปแบบ 3. หลกั การและเหตผุ ล การอ่านหนังสือเป็นการพัฒนาตนเองและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นมากในการ พัฒนาคนและพัฒนาสังคม การอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้ว โดยเฉพาะการอ่านหนังสือทีด่ ีและมีสาระยิ่งมีนอ้ ยขึน้ ไปอีก สาเหตุมีอยู่หลายประการ นับตั้งแต่การขาดแคลน หนังสือที่ดีและตรงกับความต้องการของผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือที่จะยืมอ่านได้ ไปจนถึ งการดึง ความสนใจและการแย่งเวลาของสื่ออื่นๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียงฯลฯ วิทยุกระจายเสียง รวมทั้งขาด การชักจงู การกระตุ้น และมีนิสัย รกั การอ่านท้งั ในและนอกโรงเรียน เม่อื เทยี บกบั ความเพลดิ เพลินและการได้ ฟังได้รเู้ หน็ เร่อื งต่างๆจากโทรทัศน์ และวทิ ยุกระจายเสียงแล้ว การอ่านหนังสอื เพื่อวตั ถุประสงคด์ ังกล่าวต้องใช้ ความพยายามมากกวา่ และต้องมีทักษะในการอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังเกิดเป็นนิสัยจำเป็นต้องมีการปลูกฝงั และชักชวนใหเ้ กิด ความสนใจการอ่านอยา่ งตอ่ เน่อื งและสมำ่ เสมอ กศน.ตำบลห้วยเขย่ง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เป็นจุดบ่มเพาะ และสร้างนสิ ยั รักการอ่านที่เกิดขึ้นในชุมชนในจงั หวัดกาญจนบรุ ี จึงไดจ้ ดั ทำโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี 2565 เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมการอ่านที่เกิดขึ้นในชุมชน โดยมีห้องสมุดประชาชนและ กศน.ตำบล เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการเสริมสร้างการรักการอ่านในชุมชน ตลอดจนเสริมสร้างภาคีเครือข่ายให้ทกุ ภาค สว่ นมสี ่วนร่วมในการส่งเสรมิ นิสยั รักการอ่านของชุมชนได้อยา่ งยัง่ ยนื 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพือ่ สนับสนนุ ส่งเสริมหอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตำบล และภาคเี ครอื ข่ายในการจัดกจิ กรรมส่งเสริม การเรยี นรใู้ นรูปแบบการศึกษาตามอธั ยาศัยในชุมชน 4.2 เพ่ือสง่ เสริมใหช้ มุ ชนและทุกภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการสนับสนุนการดำเนนิ การจัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย 5. เป้าหมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง 5.2 เชงิ คุณภาพ - ร้อยละ 80 ห้องสมุดประชาชน กศน.ตำบล มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอ่านและสร้าง ชุมชนรักการอ่านเพิ่มข้ึน

6. วิธดี ำเนนิ การ 30 กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนินการ (บาท) ตุลาคม 65 1.จัดสรา้ งแหลง่ - เพ่ือจดั แหง่ เรยี นรู้ในชมุ ชน - เพ่ือวางแผนและ ตำบลหว้ ย ถงึ - กนั ยายน 66 เรียนรชู้ ุมชน กำหนดกจิ กรรมในการ เขย่ง - สรา้ งชุมชนรักการอ่านใน ตำบล 2. ชุมชน/เมอื ง - เพื่อให้เป็นชุมชนแห่งการ - หมุนเวียนสอ่ื จาก ตำบลหว้ ย ตุลาคม 65 แหง่ การเรยี นรู้ เรียนรแู้ ละชมุ ชนแหง่ การ ห้องสมุดประชาชน เขย่ง ถงึ อ่าน และกศน.ตำบลสชู่ มุ ชน กนั ยายน 66 - ขอรบั บรจิ าคส่ือจาก หนว่ ยงานภาคีเครือข่าย 3.กจิ กรรม - จัดกจิ กรรมส่งเสริมการรัก - เพือ่ สร้างนิสัยรักการ -ห้องสมุด ตลุ าคม 65 สง่ เสรมิ การอ่าน การอ่านให้กบั เด็กปฐมวัย อ่านและสนบั สนนุ ให้ ประชาชน ถึง หอ้ งสมุด เยาวชน ตลอดประชาชน ชมุ ชนเหน็ ความสำคัญ ตำบลห้วย กนั ยายน 66 ประชาชน ทว่ั ไป ภายใน กศน.ตำบล ของการอา่ น เขย่ง ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ และ ชมุ ชนในพ้นื ท่ี 7. งบประมาณ แผนงาน : พนื้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบรกิ ารการศึกษาตาม อธั ยาศัย เพื่อจา่ ยเป็นค่าหนังสอื พมิ พ์ 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส4 กิจกรรมหลัก (ต.ค.-ธ.ค.65) (ม.ค.-ม.ี ค.66) (เม.ย-มิ.ย.66) (ก.ค.-ก.ย.66) 1. โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชมุ ชน 590 600 590 600 9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นายอังกูร จำปาทอง ครู กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ 10. เครอื ข่าย 10.1 อบต.ทกุ แหง่ 10.2 ผ้นู ำชุมชน

31 11. โครงการท่เี ก่ยี วข้อง 11.1 โครงการอาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน 11.2 โครงการบา้ นหนงั สือชุมชน 11.3 โครงการหอ้ งสมุดชาวตลาด 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) - รอ้ ยละ 80 หอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตำบล และชมุ ชน มีสว่ นร่วมในการส่งเสริมการอา่ นและสรา้ ง ชมุ ชนรกั การอา่ นเพิม่ ข้นึ 13. ดชั นีช้วี ัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) 1. ห้องสมดุ ประชาชนทกุ แห่งจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 2. กศน.ตำบลทกุ แหง่ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน 3. ชมุ ชนจำนวน 90 ชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านและสรา้ งชุมชนรกั การอ่าน 13.2 ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์ (Outcome) - ร้อยละ 80 ห้องสมุดประชาชน กศน.ตำบล และชุมชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอ่าน และสรา้ งชมุ ชนรักการอ่านเพ่ิมข้ึน 14. ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั ประชาชนในชุมชน มีส่วนรว่ มในการสง่ เสริมการอ่านและสร้างชุมชนรักการอา่ นเพิ่มขนึ้ 15. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ 15.1 การประเมนิ ผลจากการจัดกจิ กรรมท่ีชุมชนต้องการ 15.2 การประเมินผลตามเป้าหมาย โดยประเมินจากแบบสอบถามทแ่ี จกให้ผู้เข้ารว่ มโครงการ

32 โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน กศน.ตำบลห้วยเขย่ง **************************************** 1. ชอื่ โครงการ ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน 2. สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งาน กศน. ภารกจิ ตอ่ เนื่อง การศึกษาตอเนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอยางยั่งยืน โดยใหความสำคัญกับการจัดการศึกษา อาชีพ เพื่อการมีงานทำในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการรวมถึงการเนนอาชีพ ชางพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและ ศักยภาพของแตละพื้นที่ มีคุณภาพไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และ การพัฒนาประเทศ ตลอดจน สรางความเขมแขง็ ใหกบั ศนู ยฝกอาชีพชมุ ชน โดยจดั ใหมีการสงเสรมิ การรวมกลุ่ม วิสาหกิจชมุ ชน การพัฒนา หนึ่งตำบลหนึง่ อาชีพเดน การประกวดสนิ คาดีพรีเมี่ยม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสรมิ และจัดหาชองทางการจำหนายสินคาและผลติ ภณั ฑ และใหมีการกำกับ ติดตาม และรายงาน ผลการจัดการศกึ ษาอาชีพ เพอ่ื การมีงานทำอยางเปนระบบและตอเนื่อง 3. หลกั การและเหตุผล การจดั การศึกษาอาชีพในปจั จบุ ันมคี วามสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพฒั นาประชากรของประเทศให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความ เข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะ พัฒนา5ศักยภาพของพื้นที่ใน 5กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” และได้กำหนดภารกิจจะพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีดความ สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยสำนักงาน กศน.ได้กำหนด หลกั การในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมงี านทำไว้ว่า ต้องเป็นการดำเนินงานที่มคี วามยืดหยุ่น ด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ใน 5กลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมถึงกลุ่มจัดการและการบริการโดยเน้นการบูรณาการ ให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ โดยมุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำ อย่างมคี ณุ ภาพ ท่วั ถงึ และเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ท่ีมนั่ คง กศน.ตำบลห้วยเขย่ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทองผาภูมิ ได้นำ นโยบายและยุทธศาสตร์ข้างต้นไปสู่การปฏิบัติเพื่อจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำตามแนวปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเป็นการจัดการเรียนการสอน การใหบ้ รกิ ารในพืน้ ท่ีตำบลหนองฝ้ายดำเนนิ ตามนโยบาย ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล จึง ดำเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนโดยดำเนินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลหนองปลิงเพื่อดำเนินการในการ ฝึกพัฒนาสาธติ และสร้างอาชีพของผู้เรียนและชุมชนโดยเน้นกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงรวมท้ังเป็นที่จัดเก็บแสดงจำหน่ายและกระจายสินค้าและบริการของชุมชนอย่างเป็นระบบครบวงจร และเปน็ การจดั การศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหมท่ ่สี ร้างความม่ันคงใหแ้ ก่ ประชาชนและประเทศชาติตอ่ ไป 4. วตั ถุประสงค์ เพื่อดำเนินการฝึกอาชีพพัฒนาสาธิตและสรา้ งอาชีพของผู้เรียนและชมุ ชนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งเป็นที่จัดสินค้าผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แสดงจำหน่ายกระจาย สินค้าและบริการของชุมชนอย่างเป็นระบบครบวงจรต่อไป

33 5. เป้าหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 15 คน เชิงคณุ ภาพ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีอาชีพใหม่ พัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มทักษะการเป็น ผู้ประกอบการ มีรายได้ มีงานทำ มีความมั่นคง ยั่งยืน สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เทียบระดับ การศกึ ษา เทียบโอนความรู้และประสบการณเ์ ขา้ สู่หลักสูตรข้ันพืน้ ฐาน กศน. ได้ 6. วิธดี ำเนินงาน กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ 1.สำรวจข้อมูล เพื่อดำเนินก ารฝึ ก ประชาชนที่ไม่มี จำนวน 15 ก ศ น . ต ำ บ ล ไตรมาส 10,000 พน้ื ฐาน/วเิ คราะห์ อาชีพพัฒนาสาธิตและ อ า ช ี พ ห รื อ คน ในตำบล หว้ ยเขยง่ 1 – 4 ความต้องการ สร้างอาชีพของผู้เรียน ประชาชนที่มี ห้วยเขย่ง ชมุ ชน และช ุมช นโดยเน้น อาชีพอยู่แล้ว 2.จัดเวทีเสวนา กระบวนการเรียนรู้ แ ต ่ ต ้ อ ง ก า ร แนะแนวชอ่ งทาง ต า ม แ น ว ท า ง ห ลั ก พ ั ฒ น า อ า ชี พ การประกอบอาชีพ ป ร ั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ด ิ ม แ ล ะ ช ่ า ง 3.เสนอโครงการจัด พอเพียงรวมทั้งเป็นที่ พ้ืนฐาน ใหด้ ขี ้นึ การศกึ ษาอาชพี จัดสินค้าผลิตภัณฑ์ เพ่อื การมีงานทำ ต่างๆ แสดงจำหน่าย 4.แต่งตั้งคำส่ังฯ กระจายสินค้าและ 5.อบรมศกึ ษา บริการของชุมชนอย่าง ชอ่ งทางการ เป็นระบบครบวงจร ประกอบอาชีพ ตอ่ ไป 6. จัดกิจกรรมตาม โครงการ 7. งบประมาณ เงนิ งบประมาณประจำปี 2565 แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื สนบั สนนุ ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพงบรายจ่ายอื่น ค่าใชจ้ ่ายโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส3 ไตรมาส 4 (ต.ค.–ธ.ค.2565) (ม.ค.–ม.ี ค.2566) (เม.ย.–มิ.ย.2566) (ก.ค–ก.ย. 2566) โครงการส่งเสริมการจัดกจิ กรรม โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 1) พฒั นาอาชีพ -- - 2) กลมุ่ สนใจ 6,000 4,000

34 9.ผ้รู ับผิดชอบโครงการ นายอังกรู จำปาทอง ครู กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง 10.เครือข่าย - องคก์ ารปกครองสว่ นท้องถิ่น - ผู้นำชุมชน - ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน 11.โครงการ/กจิ กรรมท่ีเกยี่ วข้อง - โครงการจัดการศึกษาต่อเน่ืองเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ และพัฒนาสงั คมและชุมชน - โครงการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีอาชีพใหม่ มีการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มทักษะการ เปน็ ผูป้ ระกอบการ มรี ายได้ มีงานทำ มีความมั่นคง ย่ังยนื สามารถนำความรแู้ ละประสบการณ์ไปใช้เทยี บระดับ การศกึ ษา เทียบโอนความรู้และประสบการณเ์ ขา้ ส่หู ลกั สตู รขัน้ พน้ื ฐาน กศน.ได้ 13. ดัชนตี วั ช้วี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1) ตัวช้ีวัดผลผลิต ( Output) กลุ่มเป้าหมายที่รว่ มโครงการกิจกรรมศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน ในพ้ืนท่ีตำบลหว้ ยเขย่ง จำนวน 15 คน 13.2) ตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ์ ( Outcome) - รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมีอาชีพ มีงานทำ มีรายได้เสรมิ - รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจต่อการจดั การศึกษา 14. ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีอาชีพใหม่ มีการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการ มีรายได้ มีงานทำ มีความมั่นคง ยั่งยืน สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เทียบระดับการศึกษา เทียบ โอนความรูแ้ ละประสบการณเ์ ข้าสหู่ ลักสตู รขั้นพ้ืนฐาน กศน.ได้ 15. การติดตามประเมนิ ผลโครงการ 15.1 แบบนเิ ทศติดตามผล 15.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

35 การศึกษาตามอัธยาศยั 1. ช่อื โครงการ จดั สร้างแหลง่ เรยี นรู้ตำบล กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ 2. สอดคล้องมาตรฐานคุณภาพด้านการจดั การศกึ ษา 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ข้อ 1) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูเ้ พื่อปลูกฝัง และพัฒนาเพิ่มเติมองค์ความรู้ให้กับผู้เรียน ตลอดจนพัฒนาทักษะจากประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่การทำงานไปจนถึงการใช้ชีวิตมีทั้งแบบลงเรียนและซึมซับ มาดดยไมต่ ั้งใจการรนู้ ั้นบางครง้ั ก็สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ หาศาล ข้อ 2) ส่งเสริมพัฒนาของเด็กและผู้ใหญ่หรือบุคคลทั่วไปได้มีการศึกษาเรียนรู้ตาม ความสามารถเลือกเรียนรู้ได้ตามความสนใจของตัวเอง เรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ เรียนตามความพร้อม และ โอกาส ไม่มีการกำหนดเวลา ไม่มีข้อจำกัดเรื่องมใด ๆ มีหรือไม่มีการรับรองมาตรฐานการศึกษาก็ได้เรียนรู้ได้ ตลอดเวลา ศึกษาเพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง การศึกษาตามอัธยาศัยนี้ยังรวมไปถึงประสบการณ์การทำงานที่สั่งสม จนเกิดเป็นความรู้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การพูดคุย การศึกษาอย่างเป็นทางการ การศึกษาตลอดชีวิต การเรยี นพเิ ศษ เปน็ ตน้ 3. หลักการและเหตผุ ล ตามที่ สำนักงาน กศน.มีนโยบาย ให้จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนทุกช่วงวัย และพัฒนากศน.ตำบลสหกรณ์นิคม ทุกแห่งให้เป็นแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชีวติ ของชมุ ชน มุ่งเน้นการส่งเสริมให้เกิด ชุมชนรักการพัฒนาความรู้ความสามารถ ในรูปแบบต่างๆ เช่น มีมุมเด็กส่งเสริมการเรียนรู้ทุกช่วงวัย กศน. ตำบลสหกรณ์นิคม บ้านหนังสือชุมชน ตู้หนังสือเคลื่อนที่ในตลาดและหนังสือพิมพ์ สื่อ วารสารต่างๆและมุม พัฒนาการเรียนรู้ของเด็กมีของเล่น ตัวต่อ ผลไม้พลาสติก ฯลฯ เป็นต้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน นักศึกษา กศน.และประชาชนทั่วไป ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทักษะ และการเรียนรู้ซึ่งเป็น พื้นฐานของการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อกระตุ้นให้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการ พัฒนา สมอง และการเรยี นรู้ ในยุคที่ข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยีมีการพัฒนาเจริญก้าวหน้าไปเรื่อย ๆ กศน.ตำบลห้วยเขย่ง จึงมี การพัฒนารูปแบบให้มีความทันสมัย และก้าวล้ำทางเทคโนโลยี มีสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายสามารถดึงดูด ความสนใจของผูอ้ ่าน กระตุ้นให้อยากเขา้ ไปใช้บริการมากขึน้ และอีกทั้งยังมบี รรยากาศที่มชี วี ติ ชีวาแปลกใหม่ ไปจากบรรยากาศเดิม ๆ หรือเรียกว่า “กศน.WOW” ซึ่งเป็น แหล่งเรียนรู้ที่สง่ เสริมสนับสนุนใหป้ ระชาชนใน ชุมชนได้ศึกษาค้นคว้าใฝ่หาความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข และเพื่อให้ เพิ่มพูนความรู้ และพัฒนา ความสามารถของตนเอง ในการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบลห้วยเขย่ง มีชีวิตชีวา จึงจัดทำโครงการจัดมุมเด็ก สง่ เสรมิ การเรียนร้ทู กุ ชว่ งวัย ข้ึน

36 ดังนั้น กศน.ตำบลห้วยเขย่ง จึงได้จัดทำโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ตำบล กศน.ตำบลห้วยเขย่ง ข้ึน เพื่อส่งเสริม สนับสนุน สร้างความตระหนัก สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นให้นักศึกษา กศน.และประชาชนทั่วไป เห็นความสำคัญของการพฒั นาสมอง และการเรียนรู้ของทุกช่วงวยั 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นรักการแสวงหาความรู้ พัฒนาการเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ 4.2 เพือ่ เพื่อเสรมิ สรา้ งองค์ความรพู้ ้นื ฐาน อนั จำเป็นในการดำรงชวี ิตให้ผู้เรียน คิดเป็น ทำเป็น มี ทักษะในการวิเคราะห์ แกป้ ัญหาด้วยตนเอง 4.3 เพ่ือสง่ เสริมพฒั นาผเู้ รยี นทางด้าน ร่างกาย จติ ใจ สงั คม ศีลธรรม จริยธรรม ใหผ้ ู้เรียนมีความเจรญิ งอกงามทางคณุ ธรรมประพฤติตนตามกรอบอันดงี าม ต่อตนเองและสงั คม 5. เปา้ หมาย 5.1 เชิงปริมาณ: 1. ผใู้ ชบ้ รกิ ารร้อยละ 80 มนี ิสัยรักการอ่านและรู้จักใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ 2. นกั ศกึ ษา กศน. และประชาชนท่วั ไปร้อยละ 80 ได้เขา้ ใช้บริการ กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ 5.2 เชงิ คุณภาพ: 1. กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง มขี องเลน่ ท่ีช่วยเสริมสรา้ งพฒั นาการ ทกั ษะของเดก็ ให้บริการแก่ นักศึกษา กศน. และประชาชนทัว่ ไปอยา่ งเพยี งพอ 2. กศน.ตำบลห้วยเขยง่ มีบรรยากาศจูงใจน่าเข้าใชบ้ ริการ 3. กศน.ตำบลห้วยเขยง่ เปน็ ศูนย์กลางพักผอ่ น เปน็ แหลง่ นันทนาการระหวา่ งพัก 4. นกั ศกึ ษา กศน. และประชาชนทัว่ ไป สามารถค้นคว้าหาขอ้ มูลสารสนเทศไดด้ ้วยตนเอง และเปน็ ศูนยเ์ รยี นรใู้ ห้กบั นักศกึ ษา กศน. และประชาชนท่ัวไป 6. วิธดี ำเนนิ การและระยะเวลาดำเนนิ การ กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย พืน้ ทด่ี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 1. เขียนและขอ - เพอ่ื อนมุ ัติในการทำ ครู กศน.ตำบล 1 คน กศน.ตำบลห้วยเขยง่ 26 ธ.ค. 65 อนมุ ตั โิ ครงการ โครงการ กศน.ตำบลห้วยเขย่ง 26 ธ.ค. 65 2. ประชมุ กศน.ตำบลห้วยเขยง่ คณะกรรมการ - วางแผนการ พนื้ ทตี่ ำบลห้วยเขยง่ 28 ธ.ค. 65 ดำเนินงานและ นกั ศกึ ษา กศน. เด็ก 3. ประชาสัมพันธ์ มอบหมายหน้าที เยาวชนและประชาชน การจดั กจิ กรรม ทว่ั ไป - เพอ่ื นักศึกษา กศน. เด็ก เยาวชนและ ประชาชนท่ัวไป เข้ารว่ ม กจิ กรรมดงั กล่าว

37 4. ดำเนนิ กจิ กรรม - เพอ่ื ให้ผทู้ ่มี าใช้บริการ นกั ศึกษา กศน. เดก็ 2,250 บาท ดังนี้ ได้รบั บริการท่ี เยาวชนและประชาชน 4.1 จัดทำมุม หลากหลาย ทวั่ ไป กศน.ตำบลห้วยเขย่ง 19 ม.ค. 66 แหล่งเรยี นรู้ - เพื่อเพ่มิ ศักยภาพของ ประชาชนอำเภอทองผา สง่ เสรมิ การพัฒนา อุปกรณ์ในการส่งเสริม กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ ภมู ิ ความรู้ใน กศน. ความรู้ภายใน กศน. ตำบล มมุ เด็ก ตำบลสหกรณน์ ิคม ให้ กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ 24 ม.ค. 66 4.3 จดั ทำบอรด์ เอ้อื ต่อการเรียนรู้ ประชาชนอำเภอทองผา ประชาสมั พนั ธ์ - เพื่อใชเ้ วลาว่างให้เป็น ภมู ิ เผยแพร่กจิ กรรม ประโยชน์ ต่างๆ ให้ ประชาชนไดร้ บั รู้ - เพือ่ สรปุ ผลการ เข้ามาใช้บรกิ าร ดำเนนิ งาน ปัญหาและ 5. สรปุ ผลและ อปุ สรรค ประเมนิ โครงการ 7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ เงนิ งบประมาณปี พ.ศ. 2566 แผนงาน : พื้นฐานการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากร มนษุ ย์ ผลผลิตผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั กิจกรรมจดั สรา้ งแหลง่ เรียนร้ใู นระดับตำบล งบดำเนินงาน รายละเอยี ดดังน้ี ค่าวสั ดุ – อุปกรณ์ 2,250 บาท รวมทั้งสน้ิ 2,250 บาท (รายการทัง้ หมดถัวเฉลีย่ จ่ายตามจรงิ ) 8.ระยะเวลาในการดำเนินงาน วนั ที่ 19 มกราคม 2566 ณ กศน.ตำบลห้วยเขยง่ 9. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค.) (ม.ค.-มี.ค.) (เม.ย.-มิ.ย.) (ก.ค.-ก.ย.) 1.วางแผนทำโครงการ 2.ขออนุมตั ิโครงการ - 2,250 - - 3.ดำเนินโครงการ 4.สรุปโครงการ

38 10.ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ นายองั กรู จำปาทอง ครู กศน.ตำบล 11.เครอื ขา่ ย - 12. ผลผลิต (Output) 1. กศน.ตำบลหว้ ยเขยง่ ประชาชนอำเภอทองผาภมู ิ ไดร้ ับการพฒั นาให้เป็นกศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง มี การพัฒนาความรู้ ทักษะต่าง ๆ ทีส่ ามารถเอ้อื ต่อการให้บริการแกป่ ระชาชนทั่วไป 2. สง่ เสรมิ ใหน้ ักศกึ ษา กศน.และประชาชนทัว่ ไป มีนิสัยรกั การพัฒนา รู้จกั คดิ เปน็ วิเคราะหก์ ารเรียนรู้ การพฒั นาตนเองด้วยการเพิ่มทกั ษะความรู้ความสามารถของตนเองให้ดีมากยิง่ ขึ้น 13.ตวั ชีว้ ัดผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชี้วดั ผลสำเร็จ วธิ กี ารประเมินผล เครอื่ งมอื ชว้ี ดั ผลผลิต (Output) ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ให้ - การสอบถาม - ถ่ายภาพ ความสำคัญต่อการเพิ่มทักษะการเรียนรู้ โดยได้รับแรงจูงใจใฝ่รู้จาก - การสงั เกต แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตามที่กศน.ตำบลห้วยเขย่ง จัดให้ มีการส่งเสริมนิสยั - ถา่ ยภาพ รักการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของตนเอง ในกศน.ตำบลห้วย เขย่ง เพิม่ มากขึ้น ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้รับบริการ นำทกั ษะและประสบการณ์ และได้รับ - การสอบถาม - แบบสงั เกต ความรู้จากการจัดกิจกรรมที่ได้รับไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ใน - การสังเกต - ถ่ายภาพ ชีวิตประจำวัน ผู้รับบริการได้เห็นคุณค่าของการพัฒนาความรู้ นำไป - ถ่ายภาพ พฒั นาและต่อยอดทำใหค้ นในชุมชนมีความรู้รักมีนิสัยรักการพัฒนาเพิ่ม ทกั ษะการเรียนรมู้ ากย่ิงขึ้นไป

39 14. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ นักศกึ ษา กศน.และประชาชนท่ัวไปในอำเภอทองผาภูมิ มคี วามร้แู ละมนี สิ ยั รกั การพฒั นาความรู้ ทกั ษะ ความสามารถของตนเอง และพร้อมจะนำความรู้ทีไ่ ด้รับไปเผยแพรท่ ำใหต้ นเอง และผู้อ่ืนอย่างมีความสุข โดย นำความรูจ้ ากเลน่ และการใชส้ มองความคดิ การวเิ คราะห์ และลองปฏบิ ตั ิเพ่อื นำไปพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ ย่งั ยนื 15. การติดตามประเมินผล - การสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจผู้นำชุมชนประชาชนในพื้นที่ - สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

40 โครงการขบั เคลอ่ื นการดำเนินงาน กศน.ตำบล 4 ศูนย์เรียนรู้ กศน.ตำบลห้วยเขยง่ **************************************** 1. โครงการ ขบั เคลอื่ นการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล 4 ศูนย์เรียนรู้ 2. สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนนิ งาน กศน. 2. สงเสริมการจัดการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตสำหรับประชาชนที่เหมาะสมกับทุกชวงวัย 2.1 สงเสริมการจดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำ ในรปู แบบ Re-Skill& Up-Skill และการ สรางนวัตกรรมและผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของ ประชาชน ผูรบั บริการ และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพื่อนำไปใชในการพัฒนาอาชีพได้ 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบ การ จัดการศกึ ษาและการเรียนรู ในทกุ ระดบั ทุกประเภท 3.2 พัฒนาแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อใหสามารถ “เรยี นรไู ดอยางทั่วถงึ ทุกท่ี ทกุ เวลา” 3. หลกั การและเหตุผล จากนโยบาย สำนักงาน กศน. ที่ประชุมได้รับทราบความก้าวหน้าการดำเนินโครงการสำคัญ ของหนว่ ยงานตา่ งๆ อาทิ ท่ีประชมุ ได้รับทราบแนวทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล ซงึ่ จะมกี ารปรับบทบาท ภารกิจให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนมากขนึ้ ภายใต้การขบั เคลือ่ นการดำเนนิ งาน 4 ศูนยเ์ รียนรู้ ประกอบด้วย 1) ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลเป็น ศูนย์กลางการส่งเสริม จัดกระบวนการเรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงภายในชมุ ชน ดำเนินงานร่วมกบั กองอำนวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) 2) ศนู ยส์ ง่ เสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจำตำบล เพื่อสรา้ งการเรียนรู้และความเข้าใจท่ี ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิ และหน้าที่ในระบอบประชาธิปไตยบูรณาการความร่วมมือกับคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และภาค ประชาสังคม 3) ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ซึ่งบริหารจัดการฐานข้อมูลที่จำเป็นสำหรับ กศน. และชุมชน เพื่อให้มี ความรู้และรับรทู้ เ่ี ทา่ ทัน ปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกับการเปล่ียนแปลงของสงั คมโลกยคุ ดิจิทลั 4) ศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย ใหม้ คี ณุ ภาพท่ีสอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยดึ ชุมชนเป็นฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.ตำบล มบี ทบาทเป็นผ้ปู ระสานงานและอำนวยความสะดวก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทองผาภูมิ เปน็ สถานศึกษาหน่ึงท่ี มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ให้กับกลุ่มเป้าหมายตามบริบทของชุมชนและพื้นที่ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ท้งั 4 ดา้ น เพือ่ ทำให้ชุมชนมีความเขม้ แข็งบนศักยภาพของชุมชนน้นั

41 4. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือส่งเสริมใหก้ ลุ่มเปา้ หมายได้รจู้ ักนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการ ดำเนินชีวิตประจำวนั บนพ้นื ฐานของความพอเพียง 2. เพื่อพัฒนาประชาชนในพื้นที่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น สามารถนำความรูไ้ ปขยายผลเศรษฐกิจดิจิทัล ของชมุ ชนในพ้ืนท่ีได้ 3. เพื่อสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยที่มี พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ พระประมุข โดยเฉพาะสทิ ธิและหน้าที่ในระบอบประชาธิปไตย บูรณาการความรว่ มมือ กบั คณะกรรมการการเลอื กตงั้ (กกต.) และภาคประชาสงั คม 4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบการศึกษาและการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชนเป็นฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.ตำบล มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวก 5. เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ - นักศึกษาและประชาชนตำบลหว้ ยเขยง่ เชงิ คณุ ภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการ ฯ ได้รู้จักนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดำเนินชีวิตประจำวันบนพื้นฐานของความพอเพียง อีกทั้งสามารถนำความรู้ ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศเบ้ืองต้น ความเข้าใจท่ถี ูกตอ้ งเก่ยี วกบั สิทธิและหน้าท่ใี นระบอบประชาธิปไตยของตนเองได้เป็นอย่าง ดี และสามารถศึกษาพัฒนาตนเองเรียนรตู้ ลอดชีวติ 6. วิธดี ำเนินการ กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ 19 คน ดำเนินการ - 1. ประชุมวางแผนชแี้ จง เพือ่ ช้ีแจงรายละเอียด บุคลากร กศน. - คน กศน.อำเภอ ต.ค.65 - อำเภอทองผา ทองผาภูมิ ถงึ เจ้าหนา้ ทีผ่ ู้รบั ผิดชอบ วัตถปุ ระสงค์ของ ภมู ิ 19 คน กศน.อำเภอ - นักศึกษาและ ทองผาภูมิ ก.ย.66 โครงการ 19 คน ต.ค.65 - ประชาชน กศน.อำเภอ 2. วิเคราะห์ ระบุสภาพ เพื่อสรุปปัญหาและ อำเภอทองผา ทองผาภูมิ ถึง ก.ย.66 ปัจจุบันท่เี กีย่ วข้องจาก ความต้องการของ ภมู ิ กศน.ตำบล ทุกแหง่ ต.ค.65 ข้อมลู ท่ีได้ดำเนินการ ประชาชน ครูอาสาสมัคร ถงึ ครู กศน.ตำบล โดยการสำรวจความ ก.ย.66 ครอู าสาสมัคร ต้องการ,การจดั ทำเวที ครู กศน.ตำบล ต.ค.65 ถึง ประชาคม 3. กำหนดกิจกรรมให้ เพื่อกำหนดเป้าหมาย สอดคลอ้ งกบั ความ ให้สอดคล้องกับ ตอ้ งการของ ความต้องการของ กลุม่ เป้าหมายของแต่ละ ชุมชน ตำบล 4. ดำเนนิ การเพือ่ อนุมัติ เพอ่ื ขออนุมตั โิ ครงการ โครงการขับเคลอื่ นการ

42 ดำเนนิ งาน กศน.ตำบล ก.ย.66 ต.ค.65 4 ศูนยเ์ รยี นรู้ ถึง 5.ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ 1. เพอื่ สง่ เสริมให้การนำ 1. วทิ ยากร กศน.ตำบล ก.ย.66 - ห้วยเขย่ง ดำเนินการ ดังน้ี หลักปรัชญาเศรษฐกจิ ผู้สอน ต.ค.65 - กศน.ตำบล ถึง - - ประสานงานวทิ ยากร พอเพียง มาใชใ้ หเ้ กิด 2. ผู้นำชมุ ชน ทุกแหง่ กศน.อำเภอ ก.ย.66 - ประสานงานการขอ ประโยชนใ์ นการดำเนนิ 3. ผเู้ ข้าร่วม ทองผาภมู ิ ต.ค.65 ใชส้ ถานที่ ชวี ิตประจำวนั บน อบรม ถงึ ก.ย.66 - ประชาสัมพันธ์ พื้นฐานของความ ผ้เู ข้าร่วมโครงการ พอเพยี ง - ประสานงานผ้นู ำ 2.เพ่อื พฒั นาประชาชน ชุมชน ในพ้ืนที่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจทางดา้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศ เบอื้ งตน้ 3. เพอ่ื สรา้ งการเรยี นรู้ และความเขา้ ใจที่ ถกู ต้องเก่ียวกับการ ปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย 4. เพื่อสง่ เสริมและ สนับสนนุ การจัด การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษา นอกระบบการศึกษา และการศกึ ษา ตาม อธั ยาศัย ให้มีคณุ ภาพ ท่ีสอดคล้องกบั นโยบายทางการศึกษา โดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน ในการดำเนนิ งาน โดย กศน.ตำบลมีบทบาท เปน็ ผปู้ ระสานงานและ อำนวยความสะดวก 6. น ิ เ ท ศ ต ิ ด ต า ม เพ่ือติดตามผลการ ครูอาสาสมัคร 19 คน 19 คน ประเมนิ ผล ดำเนินงานตาม ครู กศน.ตำบล วตั ถปุ ระสงค์ ทกุ แหง่ 7. สรปุ รายงานผลการ เพื่อเปน็ แนวทางในการ ครู กศน.ตำบล ดำเนินงาน พฒั นาปรับปรงุ ผล การ ทกุ แหง่ ดำเนนิ งาน

43 7. งบประมาณ งบประมาณในการดำเนนิ งานปงี บประมาณ 2566 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค. 65) (ม.ค. - ม.ี ค.66) (เม.ย.- มิ.ย.66) (ก.ค. - ก.ย.66) กจิ กรรมหลกั โครงการโครงการขบั เคลื่อนการ - - - - ดำเนนิ งาน กศน.ตำบล 4 ศูนย์เรียนรู้ จำนวนเงนิ ทั้งสน้ิ ---- 9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ กศน.ตำบลหว้ ยเขย่ง 10. เครอื ข่าย 1.ผ้นู ำชุมชนในตำบลหว้ ยเขย่ง 2.องค์การบริหารสว่ นตำบล 11. โครงการทเ่ี กีย่ วข้อง 1.โครงการจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน 2.โครงการจดั การเรียนรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3.โครงการการจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน 4.โครงการการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 12. ผลลพั ธ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ ฯ ได้รู้จักนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนิน ชวี ิตประจำวนั บนพน้ื ฐานของความพอเพียง อีกท้ังสามารถนำความรู้ ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เบื้องต้น ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ในระบอบประชาธิปไตยของตนเองได้เป็นอย่างดี และ สามารถศกึ ษาพัฒนาตนเองเรียนร้ตู ลอดชีวติ 13. ดัชนวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชีว้ ดั ผลผลิต - นกั ศึกษาและประชาชนอำเภอทองผาภูมิ ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ จำนวน 780 คน 13.2 ตัวชวี้ ัดผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ได้รู้จักนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวันบนพื้นฐานของความพอเพียง อีกทั้งสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ในระบอบประชาธิปไตย ของตนเองไดเ้ ป็นอยา่ งดี และสามารถศึกษาพัฒนาตนเองเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 14. การตดิ ตามประเมินผลโครงการ 15.1 ประเมินผลระหวา่ งดำเนินการ และหลังดำเนินการ 15.2 แบบสอบถามความคิดเหน็ และความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผ้รู ับบรกิ าร

44 Best Practice ประจำปีงบประมาณ 2566 ส่งเสรมิ ผลติ ภัณฑศ์ นู ยฝ์ กึ อาชพี 1. ชื่อผลงาน : “สง่ เสริมผลิตภัณฑ์ศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน” 2. ชื่อเจา้ ของผลงาน : นายองั กูร จำปาทอง ครู กศน.ตำบลห้วยเขย่ง 3. เกรน่ิ นำความเป็นมา เนื่องจากการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการ พัฒนาประชากรของประเทศให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหา การว่างงานและส่งเสรมิ ความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้อง กับศักยภาพ ดา้ นต่างๆ โดยมุง่ พฒั นาคนไทยให้ไดร้ บั การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ท่ัวถึง และ เทา่ เทยี มกัน สามารถสรา้ งรายได้ท่ีม่นั คงจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพ และความเหมาะสมกับสภาพ พนื้ ท่ีและความพร้อมของชุมชนตำบลหว้ ยเขย่ง แลว้ น้นั ประชาชนส่วนใหญ่ มีความตอ้ งการที่จะมีอาชีพและมี งานทำ ดังนั้น กศน.ตำบลห้วยเขย่ง ในฐานะที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ที่ต้องจัดกิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ในทุกด้านของประชาชนในตำบลตำบลห้วยเขย่ง จึงได้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ข้างต้น ไปสู่การปฏบิ ัติเพื่อจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำ โดยสำรวจความต้องการในดา้ นการฝึกทักษะอาชีพของ คนในชุมชนตำบลห้วยเขย่ง ซึ่งประชาชนมีความต้องการที่ศึกษาทักษะอาชีพ กศน.ตำบลห้วยเขย่ง จึงจัด กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่สำรวจ และเป็นการ ใหบ้ รกิ ารฝกึ อาชีพ พัฒนา สาธิต และสรา้ งอาชพี ใหก้ ับประชาชนในพื้นท่ีตำบลห้วยเขยง่ และพืน้ ที่ใกล้เคียง และเป็นการจดั การศึกษาตลอดชวี ิต ในรูปแบบใหมท่ ่ีสร้างความม่ันคงให้แกป่ ระชาชนใน ตำบลหว้ ยเขย่ง 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพื่อสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายได้ฝึกทักษะอาชีพทห่ี ลากหลาย 4.2 เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และนำความรู้ไปประกอบอาชพี เพื่อพัฒนาตนเอง 5.กิจกรรม / วิธกี าร /ขน้ั ตอนสำคัญ /ระยะเวลาดำเนินการ กจิ กรรม วธิ กี าร ขั้นตอนสำคญั ระยะเวลา 1. โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพ 1. รบั สมคั รผเู้ รียน 1.ส่งเสรมิ อาชีพที่หลากหลายตามความ ตลุ าคม ชุมชนมกี ารฝึกอาชพี โดยเนน้ กลุ่ม ต้องการของผู้เรยี น 2565 หลากหลาย ประชาชนท่ัวไปใน 2. ผู้เรียนสามารถนำความรทู้ ี่ไดไ้ ปประกอบ ตำบล เปน็ อาชพี เสรมิ และสรา้ งอาชีพหลักของตนเอง 2. ผู้เรยี นบอกตอ่ ๆ ได้ กนั 3. ผู้เรียนสามารถนำความรทู้ ี่ได้ไปเผยแพร่ 3. ออกเสียงตาม ความร้ใู ห้ผ้อู น่ื ได้โดยการไปเป็นวทิ ยากรตอ่ ไป สาย/เครอื ขา่ ยชว่ ย 4. ศนู ยฝ์ กึ อาชีพเปน็ สถานทีแ่ สดงของชุมชน ประชาสัมพันธ์

45 กิจกรรม วธิ กี าร ขัน้ ตอนสำคัญ ระยะเวลา 2. มกี ารประชาสมั พันธ์ 1. ออกเสียงตามสาย 1. วางแผนการอบรมแตล่ ะวิชาตามความ 1 ตุลาคม ต้องการของผเู้ รยี น 2565 เสยี งตามสาย และเครอื ขา่ ย 2.เครอื ข่ายชว่ ย - ใหป้ ระชาสมั พนั ธ์การรบั ประชาสัมพันธ์ 30 กนั ยายน สมัครผเู้ รยี นและสถานท่ี 2566 สำหรบั แสดงสินค้าและ จำหนา่ ยสินคา้ ของชมุ ชน 6. ผลท่คี าดว่าจะได้รับ 1. ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลหว้ ยเขย่งเปน็ สถานทีส่ ง่ เสรมิ ดา้ นการเรียนรู้ และฝึกอาชีพท่ีหลากหลาย ตามความต้องการของประชาชนในชมุ ชน 2. ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชนตำบลหว้ ยเขยง่ เป็นสถานทฝี่ กึ ผเู้ รียนใหม้ ีความรสู้ ามารถนำความรทู้ ี่ได้ไปต่อ ยอดอาชีพได้ 3. ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชนตำบลห้วยเขย่งเป็นสถานทฝี่ กึ ผูเ้ รยี นใหม้ ีความรสู้ ามารถนำความรู้ท่ีได้ไป พฒั นาตนเองและนำไปสอนผูอ้ น่ื ได้ 4. ศูนยฝ์ ึกอาชีพเป็นสถานทีแ่ สดงสินคา้ ของชุมชน แนวทางการพัฒนา 1. จำหน่ายสนิ ค้าทาง Online 2. จัดหลกั สูตร เรอ่ื ง การวเิ คราะหต์ ้นทนุ ในการจัดทำสนิ คา้ หรอื เพิ่มเติมในหลักสูตรท่ีมีการเปดิ สอน 3. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมีใบรับรอง/ใบประกาศ โดยการสอบถามผรู้ ู้ หรือศึกษาใน Website

46 เอกสารอา้ งองิ สำนกั งาน กศน. ยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารและการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔. สำนกั งาน กศน. คู่มือการจัดการศึกษาตอ่ เนือ่ ง. กลุ่มสง่ เสรมิ ปฏบิ ตั กิ าร สำนกั งาน กศน. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๖๑. สำนักงาน กศน. คูม่ ือการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน. สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. ๒๕๕๙.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook