Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิจัย NA

บทความวิจัย NA

Published by เกศรินทร์ ฟองน้อย, 2020-12-11 13:33:22

Description: บทความวิจัย NA

Search

Read the Text Version

84 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 การพัฒนาทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นระดับช้ันประถมศกึ ษา ปีท่ี 1 ทจี่ ดั การเรียนรโู้ ดยใชแ้ นวคดิ วธิ ีธรรมชาติ The Development of English Speaking Skills of Grade 1 Students through the Natural Approach สวุ รรณา ดไี พบูลย1์ * ทวศี ักดิ์ ขนั ยศ2 วริ าพร พงศอ์ าจารย3์ Suwanna Deepaiboon1*, Taweesak Khanyot2, Viraporn Pongajarn3 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ 2) เพ่ือ เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติและ 3) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการทดลอง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนผดุงราษฎร์ อาเภอเมือง จงั หวดั พษิ ณุโลก จานวน 40 คน ไดผ้ ลการวเิ คราะห์ คือ 1. ระดบั ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการ เรยี นรู้โดยใชแ้ นวคดิ วิธธี รรมชาติ พบวา่ ในภาพรวมระดบั ทกั ษะการพูดภาษาองั กฤษของนักเรียนอยู่ ในระดับดี คดิ เป็นร้อยละ 75.63 2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลงั การจดั การเรียนรโู้ ดยใช้แนวคดิ วิธธี รรมชาติ พบว่ามคี ะแนนก่อนเรียนเท่ากับ ร้อยละ 41.48 และมีคะแนนหลังเรียนเท่ากับร้อยละ 90.75 ตามลาดับ และเม่ือเปรียบเทียบคะแนนก่อน และหลังเรียน พบว่าคะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ทร่ี ะดับ .01 1* นักศกึ ษาสาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยกุ ต์การสอนภาษาองั กฤษ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม e-mail: [email protected] 2 อาจารย์ ดร. ประจาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 3 รองศาสตราจารย์ ประจาคณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม

วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม | 85 ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม–มถิ ุนายน 2559 3. ผลการวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมีต่อการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษ ท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ พบว่าระดับความพึงพอใจมากท่ีสุดอยู่ ร้อยละ 100 ทข่ี ้อ 10 นักเรียนพอใจในวิธกี ารทดสอบที่ครูนามาใช้ และน้อยท่ีสุดอยู่ที่ร้อยละ 82.5 ข้อที่ 9 นักเรียนพอใจในการฝกึ สนทนาเปน็ ภาษาองั กฤษ คาสาคัญ: ทักษะการพูดภาษาองั กฤษ การจัดการเรยี นร้โู ดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ Abstract The purposes of this research were to study the level of speaking skills of Grade 1 students after learning through the natural approach, compare the speaking skills before and after the learning activities, and examine the level of students’ satisfaction towards learning activities. The subjects were 40 Grade 1 students of Padoongrat School, Muang, Phitsanulok in the first semester of the 2015 academic year. The results showed that the level of speaking skills of the students after learning through the natural approach was good, with the percentage of 75.63. As for the comparison the speaking skills before and after the learning activities, it was found that the average pretest score was 41.48 and the average posttest score was 90.75 respectively, indicating that the posttest score was significantly higher than that of the pretest at the .01 level. In addition, the students’ highest levels of satisfaction towards the learning activities were on the test towards techniques used in the learning activities and the lowest level was on the conversation activity practice. Keywords: Level of speaking ability skills, Learning through the natural approach บทนา ในสังคมโลกปัจจุบันการมีความรู้ด้านภาษาอังกฤษถือเป็นส่ิงจาเป็นท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้ เพราะภาษาอังกฤษมิใช่เป็นเพียงเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลท่ีต้องการ หรือเพื่อการ ประกอบอาชีพเท่าน้ัน แต่ภาษาอังกฤษยังสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสาร เจรจา ต่อรองเพ่ือการแข่งขัน หรือแสวงหาความร่วมมือทั้งด้านเศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ อกี ทัง้ ยงั ชว่ ยสรา้ งสมั พันธภาพท่ีดีระหว่างผู้คน ให้มีความเข้าใจวัฒนธรรมท่ีแตกต่าง

86 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 กันของแต่ละเช้อื ชาติ ทาให้สามารถปฏิบตั ติ นตอ่ กันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม (กรมวิชาการ, 2548) การเรียนภาษาอังกฤษแตกต่างจากการเรียนสาระเรียนรู้อ่ืน เนื่องจากผู้เรียนไม่ได้เรียน ภาษาอังกฤษเพื่อความรู้เกี่ยวกับภาษาเท่าน้ัน แต่เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือให้สามารถใช้ภาษาเป็น เครอ่ื งมือในการติดต่อส่อื สารกับผอู้ น่ื ได้ตามความตอ้ งการในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในชีวิตประจาวัน และการงานอาชีพ การทผี่ ู้เรยี นจะใชภ้ าษาได้ถกู ตอ้ ง คล่องแคล่ว และเหมาะสม จึงขนึ้ อยู่กับทักษะ การใช้ภาษา ดังน้ันผู้เรียนจะต้องมีโอกาสได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ให้มากท่ีสุด ท้ังใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียน การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ และ ลักษณะเฉพาะของภาษาจงึ ควรประกอบไปดว้ ยกิจกรรมที่หลากหลาย ท้งั กจิ กรรมการฝึกทกั ษะทาง ภาษาและกิจกรรมการฝึกผู้เรียนให้รู้วิธีการเรียนภาษาด้วยตนเองควบคู่ไปด้วย อันจะนาไปสู่ การเป็นผู้เรียนที่พึ่งพาตนเองได้ (learner independence) และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (lifelong learning) ท้ังด้านการพูดภาษาอังกฤษและการใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือใน การค้นคว้าหาความรู้ในการเรียนวิชาอ่ืนๆ ในการศึกษาต่อรวมถึงการประกอบอาชีพ ซ่ึงเป็น จดุ หมายสาคัญประการหนึ่งของการปฏิรูปการเรยี นรู้ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551) ปจั จุบันประเทศไทยกาลังมกี ารพฒั นาเศรษฐกจิ ไปในทศิ ทางที่ดีข้ึน อันเน่ืองมาจากความ ได้เปรียบของต้นทุนทางวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และจุดท่ีตั้งของประเทศมุ่งไปที่การสร้าง ประเทศให้เป็นศูนย์กลางของภูมิภาคด้านต่างๆ เช่น การท่องเที่ยว การคมนาคม การเงินและ การศึกษา (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2549) ดังนั้นปัจจัย สาคญั ที่จะทาให้ประเทศไทยสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก คือ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ของบคุ ลากรในสาขาอาชพี ตา่ งๆ ซ่ึงจาเป็นตอ้ งพฒั นามาตรฐานสาหรับอาชีพข้ึน โดยมีเป้าหมายให้ ผเู้ รียนทสี่ าเร็จการศกึ ษาในแต่ละสาขาวิชาสามารถใชท้ กั ษะภาษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสารได้และเพ่ือ เป็นหนทางในการนาพาประเทศไทยไปสกู่ ารพฒั นาทีด่ ีข้นึ โดยเปา้ หมายดงั กล่าวถอื ว่าสอดคลอ้ งกบั ฟินอคคอิ าโร (Finocchiaro & Christopher, 1983). ที่ไดเ้ สนอไวว้ ่าวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษ คือ เพื่อพัฒนาความสามารถทางการส่ือสารของผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียน สามารถใช้ภาษาเป้าหมายในการสือ่ สารไดอ้ ยา่ งแท้จริง ดว้ ยเหตนุ ี้ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารซ่งึ เล็งเห็นความสาคัญและความจาเป็นของภาษาอังกฤษ จึงกาหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศที่เปน็ สาระการเรยี นรูพ้ ืน้ ฐานในหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งกาหนดไว้ว่านักเรียนทุกคนต้องเรียน (กระทรวงศึกษาธิการ , 2551) นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการยังเน้นความสาคัญเก่ียวกับการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือ การสื่อสารโดยได้กาหนดให้ภาษาเพื่อการส่ือสารเป็นสาระที่ 1 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศและกาหนดคุณภาพของผู้เรียนไว้ว่า เม่ือผู้เรียนสาเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 แลว้ ผู้เรยี นจะต้องสามารถใช้ภาษาอังกฤษส่ือสารได้ตามหัวข้อเร่ืองต่างๆ ทั้งใน

วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | 87 ปที ี่ 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม–มถิ นุ ายน 2559 สถานการณ์จริงและสถานการณ์จาลองท่ีเกิดข้ึนในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเน่ือง และเหมาะสม ถงึ แมว้ า่ กระทรวงศึกษาธกิ ารจะให้ความสาคญั กบั การเรยี นการสอนวชิ าภาษาอังกฤษมาก เพียงใด แตห่ ากตัวผเู้ รยี นเองไมเ่ ลง็ เหน็ ความสาคัญของการเรียนภาษาอังกฤษ การจัดการศึกษาท่ีมี คุณภาพก็จะไม่เกิดผลใดๆ จากการศึกษาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในระดับ ประถมศึกษา ในประเทศไทยพบว่ายังไม่ประสบความสาเร็จเท่าท่ีควร เห็นได้จากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนยังอยู่ในระดับท่ีไม่น่าพึงพอใจ โดยการศึกษาข้อมูลจาก สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) ซึ่งไดร้ ายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษา ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2557 พบว่าผลการสอบวิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉล่ียระดับประเทศท่ีร้อยละ 36.99 คะแนนสูงสุด คือ 100.00 คะแนน และคะแนนต่าสุด คือ 0.00 คะแนน (สถาบันการ ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2556) เช่นเดียวกับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขน้ั พ้นื ฐาน (O-Net) วชิ าภาษาอังกฤษของนกั เรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นผดงุ ราษฎร์ ปีการศึกษา 2557 พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนที่ร้อยละ 19.45 จากผลคะแนนดังกล่าวจะ เห็นได้ว่าคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่ถึง 50% (สถาบันการทดสอบทางการศึกษา แห่งชาติ, 2556) ดว้ ยผลคะแนนดงั กลา่ วยิ่งทาให้เห็นความชดั เจนของปัญหาด้านการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษของนกั เรียนในระดบั ชนั้ ประถมศึกษาชดั เจนมากย่ิงข้ึน ท้ังน้ี ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษน้ัน ทักษะการพูดนับได้ว่าเป็นทักษะ ท่ีสาคญั และจาเป็นมาก ภัทราวดี ยวนชื่น (2553) กล่าวไว้ว่าทักษะการพูดเป็นทักษะเบื้องต้นท่ีใช้ ในการส่ือสาร การพูดเป็นวิธีการส่ือสารชนิดหน่ึงของทักษะการสื่อสาร (expressive skill) ซึ่ง สามารถฝกึ หดั ให้มีประสทิ ธภิ าพได้ โดยผู้พูดสามารถส่งรหสั ของสาร (encode) โดยใช้ภาษาถ้อยคา และภาษาท่าทางเป็นสื่อส่งสารไปให้ผู้ฟังสามารถถอดรหัส (decode) จนเข้าใจในความหมายของ สาร (message) ได้ การพูดถือเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการส่ือสารยิ่งกว่าการอ่านและการเขียน ในการเรียนภาษาอังกฤษ ทักษะการพูดจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งควบคู่ไปกับความเข้าใจในการฟัง การเรียนการสอนในสมัยกอ่ น จะเห็นไดว้ ่านักเรียนไทยล้มเหลวในทักษะการพูดมากที่สุด นักเรียน สามารถฟังภาษาอังกฤษเข้าใจ อ่านออกและเขียนได้ แต่ตลอดระยะเวลาท่ีเรียนอยู่ นักเรียนอาจ ไม่เคยได้พูดภาษาอังกฤษเลยแม้แต่ประโยคเดียว เม่ือถึงเวลาจาเป็นก็จะรู้สึกอึดอัด พูดไม่ออก บางคนเม่ือพบชาวต่างชาติก็พยายามหลบ ไมก่ ลา้ พูดดว้ ย เพราะไมม่ น่ั ใจในตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับ กุลชนก ทิพฤาชา และคณะ (2550) ที่สรุปไว้ว่าอุปสรรคในการพัฒนาความสามารถด้านการพูด ภาษาองั กฤษท่สี าคญั อยา่ งหนึง่ ได้แก่ นักเรียนไทย อยู่ในสงิ่ แวดล้อมทีไ่ ม่ไดใ้ ชภ้ าษาองั กฤษ หากจะ พจิ ารณาตามสภาพความเป็นจรงิ แลว้ นกั เรียนไทยอยู่ในส่ิงแวดล้อมแบบไทยๆ แทบจะไม่มีโอกาส

88 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 ได้พูดภาษาอังกฤษ นอกจากเวลาเรยี นภาษาองั กฤษในหอ้ งเรยี นเท่านนั้ นอกจากน้ีทักษะการพูดยัง เป็นทักษะท่เี น้นการสอ่ื ความหมายมากกว่ารูปแบบของภาษา ผู้เรียนควรไดร้ บั การฝึกฝนทักษะทาง ภาษาอย่างสม่าเสมอ และควรมีโอกาสได้ใช้ภาษาในสถานการณ์จริงท่ีคล้ายกับสถานการณ์ ในชวี ติ ประจาวันให้ได้มากท่ีสุด ภาษาอังกฤษเป็นลักษณะวิชาท่ีต้องใช้ทักษะ ต้องอาศัยการฝึกฝน อยู่อย่างสม่าเสมอ มีความอดทน มานะพยายาม จนกลายเป็นนิสัย การเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่าง ถกู ตอ้ งมหี ลายข้อท่ีต้องปฏบิ ัตอิ ยา่ งสมา่ เสมอ แตท่ ีส่ าคัญที่สุด คือ การพูด (speaking) ซ่ึงส่งผลต่อ การอ่าน การฟัง และการเขียนด้วย แต่การสอนทักษะการพูดท่ีผ่านมายังไม่บรรลุจุดมุ่งหมาย เท่าท่ีควร ท้ังน้ีเพราะการจัดการเรียนการสอนยังมุ่งเน้นความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ฝึกให้ นักเรียน ใช้ภาษาตามรูปแบบในเนื้อหาเป็นหลัก ทาให้นักเรียนฝึกการพูดแบบท่องจา โดยไม่ส่ือ ความหมายท่ีแท้จริง ในด้านการสอนของครูก็จะมุ่งเน้นแก้ไขข้อผิดพลาดตามโครงสร้างของภาษา และรปู แบบในเนอ้ื หาเป็นหลัก ทกั ษะการพดู ภาษาอังกฤษ จึงไม่เป็นไปตามธรรมชาติและไม่ใช่การ พดู เพ่ือการสอ่ื สารอยา่ งแทจ้ ริง ดงั นั้นการจดั การเรียนการสอนควรจะมีการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา ดังกล่าว จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยพบว่า นวัตกรรมทางการสอนภาษาที่น่าสนใจและจะ สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้ คือ การสอนโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ (The Natural Approach) ที่คราสเชนและเทอร์เรล (Krashen & Terrell, 1983) ได้พัฒนาข้ึนโดยยึดทฤษฎีการ เรียนรู้ภาษาที่สอง (second language acquisition theory) ของคราสเชน (Krashen, 1987: 26-39) นนั้ เป็นวิธีที่ใช้สาหรับพัฒนาทักษะสื่อสารเบื้องต้นเป็นรายบุคคลในด้านทักษะการพูด ซึ่ง เป็นวธิ ีที่ชว่ ยให้ผ้เู รยี นใชภ้ าษาสื่อสารไดต้ ามธรรมชาติทีม่ หี ลกั การทสี่ าคญั ดังต่อไปน้ี คอื ผูเ้ รียนต้อง มีความเข้าใจ (comprehension) ก่อนท่ีจะสามารถแสดงออก (production) จากการที่ผู้เรียนมี ความเขา้ ใจในสง่ิ ทไี่ ด้ฟงั อย่างเพียงพอทจ่ี ะนาไปสู่การพูดได้อย่างดีแล้ว ผู้เรียนจะต้องได้รับตัวป้อน หรือข้อมูลที่เข้าใจได้ (comprehensible input) โดยที่ผู้สอนจะต้องเป็นผู้ช่วยให้ผู้เรียนมีความ เข้าใจตลอดเวลา อีกท้ังการแสดงออกของผู้เรียนจะค่อยๆเกิดข้ึน ผู้เรียนจะไม่ถูกบังคับให้พูด จนกว่าจะพร้อม ซ่ึงผู้เรียนสามารถใช้ท่าทางในการตอบสนองคาถามของผู้สอนในขั้นแรก จากนั้น อาจตอบสนองโดยใช้คาคาเดียวหรือวลีสั้นๆ จนกระทั่งใช้คาพูดที่ซับซ้อนตามลาดับ นอกจากน้ีใน การแสดงออกของผูเ้ รยี นจะไม่ได้รบั การแก้ไขคาพูดทีผ่ ดิ หากสามารถส่อื สารได้และในหลกั สูตรท่ีใช้ จะมีจดุ ประสงคเ์ พอ่ื การสอ่ื สารการสอนจะไม่เน้นการสอนโครงสร้าง แต่จะเป็นการสอนตามหัวข้อ หรอื สถานการณ์ทเี่ ป็นการใชภ้ าษาตามหนา้ ท่ี กิจกรรมที่ใช้ในช้ันเรียนจะต้องเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งเน้น ให้ผเู้ รยี นไดร้ บั รแู้ ละชว่ ยลดแรงต้านทางความรู้สึก (lowering affective filter) ต้องเป็นเรื่องท่ีอยู่ ในความสนใจของผู้เรยี น อีกทั้งชว่ ยกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนแสดงความคดิ เหน็ ความต้องการ อารมณ์ และ

วารสารมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม | 89 ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม–มถิ นุ ายน 2559 ความรสู้ กึ โดยท่ีผู้สอนต้องจดั สภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนลดความวติ กกงั วลและยังช่วยให้ผู้เรียนมี ความสมั พันธ์ทด่ี ตี ่อกนั อกี ด้วย จากหลักการของแนวคดิ วธิ ีธรรมชาติดังกล่าว มีลักษณะหลายประการท่ีเอื้อประโยชน์ใน การสอนภาษาอังกฤษเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ สอดคล้องกับ อนงค์กร ศรีเจริญ (2548) ซึ่งได้กล่าวไว้ว่าในการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติน้ัน ส่วนใหญ่ จะจัดการสอนเปน็ สถานการณ์ บรรยากาศของชั้นเรยี นอยู่ในลักษณะของสถานการณ์จริงที่จะทาให้ ผ้เู รยี นได้ใช้ภาษาในสถานการณ์นั้นๆ ซ่ึงเป็นการทาให้ผู้เรียนไม่รู้สึกว่ากาลังเรียนกฎเกณฑ์ อีกทั้ง ในสถานการณ์จริงเหล่าน้ันจะมีตัวป้อนท่ีเข้าใจได้ให้แก่ผู้เรียน นอกจากน้ียังช่วยลดแรงต้านทาน ความรู้สึก เพราะผู้เรียนจะไม่ถูกบังคับให้พูดภาษาที่สอง หากผู้สอนและผู้เรียนมีภาษาท่ีหนึ่ง เหมือนกนั ผเู้ รยี นจะได้รบั การยินยอมใหต้ อบสนองหรือพูดเป็นภาษาท่ีหนึ่งหรือใช้ทั้งสองภาษาปน กันได้ ยิ่งกว่านั้นวัสดุหรือสื่อที่ใช้ในการสอน เป็นสิ่งท่ีช่วยให้เกิดความเข้าใจและส่ือสารได้มากข้ึน อีกดว้ ย การสอนภาษาโดยใช้แนวคิดวธิ ีธรรมชาติ ยังเปน็ วธิ กี ารสอนที่สามารถใช้ได้กับผู้เรียนทุกวัย เด็กหรอื ผ้ใู หญ่ก็ได้ ทัง้ นเี้ พราะวา่ เป็นวธิ ีการสอนที่มุ่งเนน้ การให้ตวั ปอ้ นทเ่ี หมาะสมท่ผี เู้ รยี นเข้าใจได้ และเป็นการให้ตัวป้อนที่มีระดับความยาก ที่ค่อยๆ สูงขึ้นกว่าระดับความสามารถของผู้เรียนทีละ น้อย อีกทั้งยังเป็นวิธีที่สามารถสร้างความม่ันใจให้กับผู้เรียนและเป็นการลดความวิตกกังวลของ ผูเ้ รียนไดเ้ ปน็ อย่างดี จากเหตผุ ลดงั กลา่ ว ผู้วจิ ยั จึงมคี วามสนใจท่ีจะศึกษาปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน วิชาภาษาอังกฤษ และจากการที่ได้พูดคุยสอบถามปัญหาจากครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนผดงุ ราษฎร์ จงั หวัดพิษณุโลก พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาเก่ียวกับ ทักษะพื้นฐานด้านการพูดภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก กล่าวคือนักเรียนสามารถฟังคาศัพท์และ ประโยคที่ครูสื่อสารด้วยได้ แต่นักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถโต้ตอบหรือมีส่วนร่วมกับกิจกรรมการ จัดการเรียนการสอนของครูได้ นอกจากน้ีนักเรียนยังไม่สามารถพูดตอบคาถามท่ีใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ไดเ้ หมาะสมกบั ระดบั ชน้ั นักเรยี นบางคนเรยี นช้า มีทักษะ การฟัง และการพูด ยังไม่ ดีพอ ไม่สามารถฟังแล้วพูดตอบคาถามง่ายๆ หรือทากิจกรรมต่างๆ ได้ทันเพื่อน ไม่เข้าใจบทเรียน และมีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ท่ีค่อนข้างต่า เพราะยังขาดส่ิงเร้าท่ีจะช่วยทาให้นักเรียนเข้าใจ บทเรียนได้ง่ายข้ึน (ปดิวรัดา ล้ีตระกูล, 2556) ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะนาทฤษฎีการสอน ภาษาอังกฤษโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ ซ่ึงเป็นแนวคิดของคราสเชนและเทอร์เรล มาใช้ในการ แก้ไขปัญหาและพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ให้ สามารถพดู ภาษาอังกฤษไดถ้ ูกต้องและเหมาะสมกบั ระดับชัน้ ไดต้ ่อไป

90 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาระดับทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 หลัง การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ 2. เพ่ือเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ก่อน และหลังการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ นวคดิ วิธีธรรมชาติ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการเรียนวิชา ภาษาองั กฤษ ท่จี ดั การเรียนรโู้ ดยใช้แนวคดิ วิธีธรรมชาติ ขอบเขตการวิจยั ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนผดุงราษฎร์ อาเภอเมือง จังหวดั พษิ ณุโลก กล่มุ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนผดุงราษฎร์ อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จานวน 40 คน ซ่ึงได้มาโดยใช้การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จาก 5 หอ้ ง สุม่ มา 1 หอ้ ง ตวั แปรในการวจิ ยั 1. ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ การจัดการเรียนรู้โดยใชแ้ นวคิดวธิ ีธรรมชาติ 2. ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ 2.1 ทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษ 2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการเรียนวิชา ภาษาองั กฤษ (อ 11101) โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ เนื้อหาท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย เนื้อหาที่ใช้ในการทดลองคร้ังนี้ ผู้วิจัยใช้เนื้อหาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรของโรงเรียนผดุงราษฎร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) แบง่ ออกเป็นเรือ่ งตา่ งๆ ดงั น้ี Topics 1. Body 2. Color 3. Number

วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม | 91 ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม–มถิ นุ ายน 2559 4. Animal ระยะเวลาในการทดลอง ดาเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 ใช้เวลาทดลอง 4 สัปดาห์ๆ ละ 3 ชว่ั โมง รวม 12 ชวั่ โมง กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ในการวจิ ัยครง้ั น้ี ผูว้ ิจยั ตอ้ งการศึกษาระดับทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษเปรยี บเทียบทักษะ การพูดภาษาอังกฤษก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติและศึกษาความ พึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษซึ่งมีกรอบ แนวคิดในการวิจยั ดงั นี้ ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม การจดั การเรียนร้โู ดยใชแ้ นวคดิ วธิ ี 1. ทกั ษะการพูดภาษาองั กฤษ ธรรมชาติ  2. ความพงึ พอใจของนกั เรยี นทม่ี ตี อ่ การ เรียนวิชาภาษาอังกฤษ โดยใชแ้ นวคิดวิธี ธรรมชาติ วธิ ดี าเนนิ การวิจัย การวจิ ัยเร่อื ง การพฒั นาทักษะการพดู ภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ี จดั การเรยี นร้โู ดยใช้แนวคดิ วธิ ีธรรมชาติ ผู้วจิ ัยดาเนินการตามขัน้ ตอน ดังน้ี 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. แบบแผนการวจิ ยั 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวจิ ยั 4. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย 5. การดาเนินการทดลอง 6. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถิตทิ ี่ใช้ในการวิจัย ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนผดุงราษฎร์ อาเภอเมือง จังหวดั พิษณุโลก

92 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 กลมุ่ ตัวอย่างทใ่ี ช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนผดุงราษฎร์ อาเภอเมือง พษิ ณโุ ลก จังหวัดพษิ ณุโลก จานวน 40 คน ซึง่ ได้มาโดยใช้การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (cluster random sampling) จาก 5 หอ้ ง สุ่มมา 1 หอ้ ง แบบแผนการวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้รูปแบบกลุ่มตัวอย่างเดียววัดผล 2 ครั้ง คือ ก่อนและหลัง การทดลอง (The Single Group Pretest-Posttest Design) (อรุณี อ่อนสวัสด์ิ, 2551) ซึ่งมี การทดลอง ดังนี้ ตาราง 1 แบบแผนการวิจยั การทดสอบก่อนเรียน การจดั กระทา การทดสอบหลังเรียน O1 X O2 สัญลักษณ์ทีใ่ ช้ในแบบแผนการวจิ ัย มคี วามหมาย ดงั ต่อไปน้ี X หมายถึง การจัดกระทา (Treatment) ด้วยวิธีการสอนโดยใช้แนวคิดวิธี ธรรมชาติ O1 หมายถงึ การทดสอบทักษะการพดู ภาษาอังกฤษก่อนเรียน (Pretest) O2 หมายถงึ การทดสอบทักษะการพดู ภาษาองั กฤษหลังเรียน (Posttest) เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั 1. แผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ แนวคิดวิธีธรรมชาติ เป็นแผนการเรียนรู้ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น มีเนื้อหาครอบคลุมตามผลการเรียนรู้ท่ี คาดหวงั รายวิชาภาษาองั กฤษ (อ 11101) 2. แบบทดสอบภาคปฏบิ ตั วิ ดั ทกั ษะการพดู ภาษาอังกฤษ คือ แบบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน โดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติเป็นรายบุคคล ซึ่งใช้วิธีการถาม-ตอบ ระหว่างครูผู้สอนและ นักเรียนเกี่ยวกับเร่ือง Body, Color, Number และ Animal โดยคาถามมี ท้ังหมด 10 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน คะแนนเต็ม 200 คะแนน 3. แบบบันทกึ การวดั ทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 หลัง การจัดการเรยี นรู้โดยใชแ้ นวคดิ วิธธี รรมชาติ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีต่อการเรียนวิชา ภาษาองั กฤษ ทีจ่ ัดการเรียนรโู้ ดยใช้แนวคดิ วิธธี รรมชาติ

วารสารมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม | 93 ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม–มถิ ุนายน 2559 การสรา้ งและหาคุณภาพเคร่ืองมือ 1. แผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้ แนวคิดวิธีธรรมชาติ ผู้วิจัยดาเนินการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมฝึกทักษะการพูด จานวน 4 แผน ตามขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 และหลักสตู รสถานศึกษาของ โรงเรียนผดุงราษฎร์ จุดมุ่งหมายและเน้ือหาท่ีกาหนดในสาระและมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 1.2 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 1.3 ศึกษาขอบเขตรายวิชาและวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังของรายวิชา ภาษาองั กฤษ (อ11101) 1.4 คดั เลอื กเนื้อหาการพูดท่ตี รงตามผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง 1.5 กาหนดกรอบเนื้อหาของรายวิชา ได้แก่ การกาหนดหัวเรื่อง กิจกรรมและ แนวทางการประเมินผล 1.6 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับแนวคิดวิธีธรรมชาติ โดย แผนการสอนที่ผู้สอนพัฒนาข้ึนเพื่อใช้ในการปฏิบัติการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษ (อ 11101) สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 มี 3 ข้ันตอน ตามแนวคิดวิธีธรรมชาติของ คราสเชน และเทอรเ์ รล (Krashen & Terrell, 1983) ดังน้ี 1. ขัน้ นาเสนอ (Presentation) เปน็ ขน้ั ตอนของการนาเขา้ สบู่ ทเรียน ครูผสู้ อนจะมบี ทบาทมากในขัน้ ตอนน้ี โดยครูผู้สอนจะเป็นผู้สร้างบรรยากาศภายในห้องเรียน เพ่ือ ไม่ให้นักเรียนเกิดความวิตกกังวล จากนั้นครูผู้สอนเป็นผู้ให้ตัวป้อนเข้าท่ีมีความหมายกับนักเรียน เพ่ือเป็นการให้เน้ือหา โครงสร้างของภาษา คาศัพท์ และการส่ือความหมายเพ่ือแสดงจุดมุ่งหมาย ของครผู ู้สอนใหน้ ักเรียนไดท้ ราบวา่ นกั เรยี นกาลงั จะได้เรียนเก่ยี วกับอะไร 2. ข้ันการฝึกฝน (Practice) ในข้ันตอนนี้ นักเรียนจะเข้ามามีบทบาท มากข้นึ หลังจากที่ไดร้ ับตัวป้อนเข้าท่เี ข้าใจจากครูผู้สอนในปริมาณท่ีเพียงพอต่อการสร้างภาษาพูด แล้ว โดยครูผู้สอนจะใช้อุปกรณ์หรือกิจกรรมต่างๆ เพื่อช่วยในการฝึกทักษะการพูด เช่น เกม รูปภาพ บัตรคา การ์ตนู เครอ่ื งเลน่ เทป เป็นต้น เพ่ือช่วยส่งเสริมการสอนและเพ่ือสร้างความเข้าใจ ใหก้ บั นักเรียนเพ่มิ มากขึ้น 3. ข้ันการใชภ้ าษา (Production) ในข้ันตอนนี้เป็นข้ันตอนท่ีนักเรียน ร่วมกันทากิจกรรมที่ต้องอาศัยการตอบคาถามต่างๆ โดยท่ีคาถามเหล่านั้นเกี่ยวข้องกับสิ่งท่ีได้

94 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 เรยี นมา หรอื อาจจะมีการจดั กจิ กรรมท่ีมีการพดู เข้ามาเก่ียวข้อง ซงึ่ กิจกรรมตา่ งๆ น้ีมุ่งเนน้ ท่จี ะช่วย สรา้ งความเข้าใจในการเรียนรู้ภาษา เพอ่ื ที่นักเรียนจะสามารถนาความร้ทู ่ีได้ไปพัฒนาความสามารถ ในการพูดภาษาเป้าหมายตอ่ ไป 1.7 ผูว้ จิ ยั หาคณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรูท้ ใ่ี ชแ้ นวคดิ วธิ ีธรรมชาติดงั น้ี 1.7.1 นาแผนการจัดการเรยี นรู้เสนอต่ออาจารยท์ ปี่ รึกษาวิทยานพิ นธ์ ตรวจสอบด้านความเหมาะสมของเน้ือหา เวลา กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการวดั ผลประเมนิ ผล 1.7.2 นาแผนการจัดการเรยี นรู้มาปรับปรุงแก้ไข ตามคาแนะนาและ ขอ้ เสนอแนะของอาจารยท์ ่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ 1.7.3 นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างข้ึน จานวน 4 แผน เสนอต่อ ผู้เช่ียวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ จานวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและ ความสอดคลอ้ งของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ด้าน การใชภ้ าษาและการสรา้ งเคร่ืองมอื ผู้เชีย่ วชาญ 5 ท่าน ประกอบด้วย อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการ สอนภาษาองั กฤษ 2 ทา่ น และครูชานาญการพเิ ศษ (ภาษาอังกฤษ) 3 ทา่ น โดยมีเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพแผนการจดั กิจกรรมการเรียนร้ขู องผ้เู ชยี่ วชาญแต่ละทา่ น ดงั นี้ 5 คะแนน หมายถงึ รายการนัน้ มคี วามเหมาะสมในระดบั มากท่สี ุด 4 คะแนน หมายถึง รายการนนั้ มคี วามเหมาะสมในระดับมาก 3 คะแนน หมายถงึ รายการนั้นมคี วามเหมาะสมในระดับปานกลาง 2 คะแนน หมายถงึ รายการนน้ั มีความเหมาะสมในระดบั น้อย 1 คะแนน หมายถงึ รายการน้นั มีความเหมาะสมในระดับน้อยท่ีสุด 1.7.4 ผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 4 แผน เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาความสอดคล้องของผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง และประเมิน คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านการใช้ภาษาและการสร้างเครื่องมือ ผลปรากฏว่า ได้ คา่ เฉลยี่ ( x ) มคี า่ ตงั้ แต่ 4.46 ถึง 4.56 ซ่ึงหมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ถึง มากท่ีสุด ตามเกณฑ์แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ของลิเคอร์ท (Likert) 1.7.5 นาผลการประเมินแผนการจดั การเรียนรมู้ าปรับปรงุ แกไ้ ข ตาม คาแนะนาและข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญ ได้แก่ ตรวจสอบเร่ืองของการใช้ภาษาให้ถูกต้อง เช่น การใช้ Agreement และการเว้นวรรคระหว่างคาใหช้ ดั เจน

วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม | 95 ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม–มถิ ุนายน 2559 1.8 นาแผนการจดั การเรียนรู้ที่ปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว ไปทดลองใช้ (Try Out) กบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ที่ไม่ใช่นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 40 คน ซ่ึงมีความสามารถ ใกลเ้ คยี งกับกลมุ่ ตัวอย่าง เพื่อหาข้อบกพร่องและเวลาทเี่ หมาะสมของข้ันตอนและกจิ กรรมตา่ งๆ 1.9 นาผลการทดลองใช้ มาปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้เป็นแผนการ จัดการเรียนร้ทู สี่ มบูรณย์ ง่ิ ข้ึน เพื่อนาไปใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ งต่อไป 2. แบบทดสอบวดั ทกั ษะการพูดภาษาองั กฤษ ผู้วิจัยดาเนินการสร้างเครื่องมือท่ีใช้ในการ วิจยั ดงั น้ี 2.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการ เรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และหลักสูตรสถานศึกษาของโรงผดุงราษฎร์ จุดมุ่งหมาย และเนื้อหาท่กี าหนดในสาระและมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 1 2.2 ศึกษาเอกสารตาราเก่ียวกับการวัดทักษะการพูดจากหนังสือ แนวทางการ สรา้ งข้อสอบทกั ษะการพูด ของ อัจฉรา วงศ์โสธร (2538) และหนังสือการทดสอบและประเมินผล การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษของ อจั ฉรา วงศโ์ สธร (2544) 2.3 สร้างแบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ให้ครอบคลุมเน้ือหาและ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง โดยเป็นแบบทดสอบเชิงปฏิบัติ ดังน้ี ให้นักเรียนสอบกับครูผู้สอนเป็น รายบุคคล โดยใช้วิธีการถาม-ตอบระหว่างครูผู้สอนและนักเรียนเกี่ยวกับเร่ือง Body, Color, Number และ Animal โดยคาถามมีทั้งหมด 10 ขอ้ ข้อละ 20 คะแนน คะแนนเต็ม 200 คะแนน 2.4 นาแบบทดสอบวัดทกั ษะการพูดทผ่ี ูว้ จิ ยั สร้างขนึ้ เสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์ ตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของรายการประเมินด้านทักษะการพูด ภาษาอังกฤษของแบบทดสอบ รวมทง้ั ความถูกต้องเหมาะสมของการใช้ภาษา 2.5 นาแบบทดสอบวัดทักษะการพูดเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา ผู้เช่ียวชาญประกอบด้วย อาจารย์ผู้เช่ียวชาญด้านการสอน ภาษาองั กฤษ 2 ทา่ น และครชู านาญการพิเศษ (ภาษาอังกฤษ) 3 ทา่ น 2.6 นาผลการประเมินของผู้เช่ียวชาญมาวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่างข้อคาถามของแบบทดสอบวัดทักษะการพูดกับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง โดยใช้สูตรดัชนี ความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) (อรุณี อ่อนสวัสดิ์, 2551: 102) แล้วคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป และปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมของผเู้ ชยี่ วชาญ 2.6.1 ผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามของแบบ ทดสอบวัดทักษะการพูดกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (IOC) ของแบบทดสอบวัดทักษะการพูด

96 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 ภาษาอังกฤษพบว่าได้ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.6 – 1.00 แสดงว่าแบบทดสอบวัดทักษะการพูด ภาษาอังกฤษ วดั ไดส้ อดคล้องกับผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง 2.6.2 ปรับปรุงแบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษในบาง ขอ้ ตามคาแนะนาของผูเ้ ชยี่ วชาญ 2.7 นาแบบทดสอบวัดทักษะการพูดท่ีคัดเลือกและปรับปรุงแก้ไขแล้วไป ทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนผดุงราษฎร์ ท่ีไม่ใช่นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 40 คน 2.8 นาแบบทดสอบวัดทักษะการพูดท่ีคัดเลือกและปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไป ทดลองใช้ (Try out) กบั นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1/2 โรงเรียนผดงุ ราษฎร์ ที่ไม่ใช่นักเรียนกลุ่ม ตัวอยา่ งจานวน 40 คน 2.9 นาแบบทดสอบท่ีทาการทดสอบกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/2 โรงเรียนผดุงราษฎร์ท่ีไม่ใช่นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจานวน 40 คน แล้วมาตรวจให้คะแนน เพ่ือ วเิ คราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach alpha coefficient) ค่าสมั ประสิทธ์คิ วามเชื่อมัน่ อยู่ที่ 0.8517 2.10 จัดเตรยี มแบบทดสอบท่ผี า่ นการตรวจคณุ ภาพแล้ว เพ่ือเตรียมนาไปใช้ใน การเก็บรวบรวมขอ้ มูลกบั กลุ่มตวั อย่างตอ่ ไป 3. แบบบนั ทกึ การวัดทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 หลัง การจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้แนวคิดวิธธี รรมชาติ เป็นแบบบนั ทึกที่ผู้วิจยั สรา้ งและพัฒนาข้นึ ตามข้ันตอน ดงั น้ี 3.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการ เรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 และหลักสูตรสถานศึกษาของ โรงเรยี นผดุงราษฎร์ โดยศึกษาจุดมุ่งหมายและเนื้อหาท่ีกาหนดในการวัดและประเมินผลการเรียน วชิ าภาษาองั กฤษของกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 3.2 ศึกษาเอกสารตาราเกี่ยวกับการวัดทักษะการพูดจากหนังสือ การทดสอบ และประเมินผลการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษของ อัจฉรา วงศโ์ สธร (2544) 3.3 สร้างแบบบันทึกการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ โดยยึดหลักเกณฑ์การ ประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษของ แฮริส (Harris, 1990: 98-101 อ้างถึงใน สุวรรณ์ธัช สวาสดี, 2555) ซึ่งผู้วิจัยนาเกณฑ์มาปรับปรุงเพ่ือให้เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยมีหัวข้อการประเมินแบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านการออกเสียง 2) ดา้ นคาศพั ท์ 3) ด้านความคลอ่ งแคล่ว 4) ดา้ นความเขา้ ใจ

วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | 97 ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม–มิถนุ ายน 2559 3.4 ผู้วิจัยดาเนินการหาคุณภาพของแบบบันทึกการวัดทักษะการพูด ภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ ดังนี้ 3.4.1 นาแบบบันทึกการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานพิ นธ์ ตรวจสอบด้านความเหมาะสมของหวั ขอ้ ทีใ่ ช้ในการวดั และประเมนิ ผล 3.4.2 นาแบบบันทึกการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษมาปรับปรุง แกไ้ ขตามคาแนะนาและขอ้ เสนอแนะของอาจารย์ท่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ 3.4.3 นาแบบบันทึกการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 หลงั การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ นวคดิ วิธีธรรมชาติเสนอตอ่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการ สอนภาษาอังกฤษ จานวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา และการสร้างเคร่ืองมือ ผู้เช่ียวชาญ 5 ท่าน ประกอบด้วย อาจารย์ผู้เช่ียวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ 2 ท่าน และครู ชานาญการพเิ ศษ (ภาษาอังกฤษ) 3 ท่าน โดยมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพของแบบบันทึกการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติของผู้เช่ียวชาญ แต่ละท่าน ดังนี้ 5 คะแนน หมายถงึ รายการน้นั มคี วามเหมาะสมในระดับมากทสี่ ุด 4 คะแนน หมายถึง รายการนน้ั มคี วามเหมาะสมในระดับมาก 3 คะแนน หมายถงึ รายการน้ันมีความเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 คะแนน หมายถงึ รายการนน้ั มีความเหมาะสมในระดบั น้อย 1 คะแนน หมายถึง รายการน้นั มีความเหมาะสมในระดับนอ้ ยท่สี ดุ 3.5 ผลการประเมินแบบบันทึกการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 หลังการจดั การเรยี นรู้โดยใช้แนวคดิ วิธีธรรมชาติ เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้อง ของเนื้อหา ผลปรากฏว่า ได้ค่าเฉลี่ย ( x ) มีค่าตั้งแต่ 4.48 ถึง 4.56 ซ่ึงหมายถึง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ถึงมากที่สุด ตามเกณฑ์แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ที่เป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ของลเิ คอร์ท (Likert) ดงั น้ี 3.6 นาผลการประเมินแบบบันทึกการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติมาปรับปรุงแก้ไข ตามคาแนะนาและขอ้ เสนอแนะของผูเ้ ชยี่ วชาญ กล่าวคือ

98 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 3.6.1 ปรบั ปรงุ รูปแบบของตารางให้สามารถดูได้เขา้ ใจง่ายย่งิ ข้ึน 3.6.2 ให้แนบเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนไวก้ ับแบบบันทึกการวัดทักษะการ พูดภาษาอังกฤษเพ่ือให้สะดวกต่อการประเมินของครูผสู้ อน 4. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมีต่อการ เรียนวิชาภาษาอังกฤษ (อ 11101) ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ เป็นแบบสอบถามท่ี ผูว้ จิ ยั สร้างและพัฒนาขึ้นตามข้นั ตอน ดงั นี้ 4.1 ศึกษาเอกสารเก่ียวกับการสร้างแบบทดสอบวัดความพึงพอใจจากหนังสือ การวจิ ยั เบ้ืองตน้ ของ บญุ ชม ศรสี ะอาด (2553: 74 - 84) 4.2 สร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ท่ีมีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (อ 11101) ท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ โดย แบ่งเปน็ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการสอน ด้านเนื้อหา และด้านกิจกรรม จานวน 10 ข้อ โดยแบ่งระดับ ความพึงพอใจเป็น 2 ระดับ คือ ใช่ และไม่ใช่ ทั้งน้ีเพ่ือให้นักเรียนเข้าใจง่ายข้ึน แบบสอบถาม วัดความพึงพอใจจะใช้รูปภาพเพื่อช่วยในการตอบคาถาม โดยตอบ ใช่ จะใช้สัญลักษณ์ “  ” และตอบ ไม่ใช่ จะใช้สญั ลกั ษณ์ “  ” 4.3 นาแบบสอบถามวัดความพงึ พอใจของนกั เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่มี ีตอ่ การเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ (อ 11101) ท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ ที่สร้างขึ้น ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของรายการประเมิน ความถูกตอ้ งเหมาะสมของการใช้ภาษา 4.4 นาแบบวัดความพึงพอใจมาแก้ไข ปรับปรุง ตามคาแนะนาและ ข้อเสนอแนะ จากน้ันจึงนาแบบทดสอบให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความตรงเชิง เนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญประกอบด้วย อาจารย์ผู้เช่ียวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ 2 ท่าน และครู ชานาญการพิเศษ (ภาษาอังกฤษ) 3 ท่าน โดยมีเกณฑก์ ารพิจารณาการใหค้ ะแนนของผเู้ ชี่ยวชาญแต่ละท่าน ดังนี้ ให้คะแนน +1 คะแนน เมือ่ แน่ใจว่าข้อคาถามสอดคล้องกบั จุดประสงค์ ให้คะแนน 0 คะแนน เมอื่ ไมแ่ น่ใจวา่ ข้อคาถามสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ ให้คะแนน -1 คะแนน เม่อื แนใ่ จว่าขอ้ คาถามไม่สอดคล้องกบั จุดประสงค์ 4.5 นาผลการประเมินของผู้เช่ียวชาญมาวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่างข้อคาถามของแบบสอบถามกับจุดประสงค์ โดยใช้สูตรดัชนีความสอดคล้อง (IOC) (อรุณี อ่อนสวัสด์ิ, 2551: 266) และปรับปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะเพิม่ เติมของผ้เู ชย่ี วชาญ

วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม | 99 ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 มกราคม–มถิ นุ ายน 2559 4.5.1 ผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามของ แบบสอบถามกับจดุ ประสงค์ (IOC) ของแบบสอบถามวัดความพงึ พอใจพบว่าไดค้ ่า IOC อยู่ระหว่าง 0.8 – 1.00 4.6 ปรับปรุงแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ แล้วนาไปทดลองใช้ (Try Out) กับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 40 คน เพ่ือหาหาค่าความเช่ือม่ัน ตามวิธีของครอนบาค ค่าสัมประสิทธ์ิความเชื่อม่ันอยทู่ ่ี 0.975 4.7 ปรับปรุงและจัดพิมพ์แบบสอบถามวัดความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์เพ่ือนา ไปใชใ้ นการเก็บขอ้ มลู กับกลมุ่ ตวั อยา่ งตอ่ ไป 5. การดาเนนิ การทดลอง ผู้วิจัยดาเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 ใช้เวลาทดลอง 4 สัปดาห์ๆ ละ 3 ช่วั โมง รวม 12 ชั่วโมง โดยมีวธิ ดี าเนนิ การ ดังนี้ 5.1 ชี้แจงเพื่อทาความเข้าใจกับนักเรียนเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอนและวิธีการประเมนิ ผลการเรยี น 5.2 ทาการทดสอบก่อนเรียน (pretest) ด้วยแบบทดสอบวัดทักษะการพูด ภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบจากผู้เช่ียวชาญแล้ว เพื่อวัดทักษะการพูด ภาษาอังกฤษของนกั เรียน 5.3 ดาเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา ทักษะการพดู ภาษาอังกฤษที่จัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการ ตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชย่ี วชาญแล้ว จานวน 4 แผนๆ ละ 3 ชวั่ โมง รวมเวลา 12 คาบเรียนๆ ละ 1 ช่วั โมง 5.4 หลังจากที่ได้รับการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการ พูดภาษาอังกฤษท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ กลุ่มตัวอย่างทาการทดสอบหลังเรียน ด้วยแบบทดสอบวดั ทกั ษะการพดู ซึง่ เปน็ ฉบับเดยี วกนั กับทีท่ ดสอบก่อนเรียน 5.5 ผู้สอนทาการประเมินระดบั ทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียน หลังการ จัดการเรียนรโู้ ดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ โดยใช้แบบบันทึกทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน หลงั การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ นวคิดวิธธี รรมชาติ ที่ผวู้ จิ ัยสรา้ งข้ึน 5.6 หลงั จากทาการทดสอบวัดทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษแล้ว กลุ่มตัวอย่างทา แบบสอบถามวัดความพึงพอใจทม่ี ีต่อการเรียนวชิ าภาษาอังกฤษ (อ 11101) ท่ีจัดการเรียนรู้ โดยใช้ แนวคดิ วธิ ีธรรมชาติ

100 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 6. การวิเคราะห์ข้อมลู และสถติ ิท่ีใช้ในการวจิ ัย 6.1 ตรวจแบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยการให้คะแนนหา ค่าเฉลย่ี ( x ) และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 6.2 เปรียบเทียบความแตกต่างของทักษะการพูดภาษาอังกฤษก่อนและหลัง การเรียนโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ โดยใช้ค่าร้อยละ และสถิติการทดสอบค่าที (t-test dependent samples) โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ SPSS 6.3 วิเคราะห์แบบบันทึกทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน หลังการ จัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ โดยใช้ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนาผลที่ได้มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละที่ผู้วิจัยปรับปรุงข้ึนตามเกณฑ์ของ กรมวิชาการ (2544 อ้างถงึ ใน อนงคก์ ร ศรเี จริญ, 2548) ดงั นี้ ร้อยละระหว่าง 81 – 100 หมายถงึ ทกั ษะการพูดอยใู่ นระดับดีมาก ร้อยละระหว่าง 61 – 80 หมายถงึ ทักษะการพดู อยูใ่ นระดับดี ร้อยละระหวา่ ง 41 – 60 หมายถงึ ทักษะการพูดอยูใ่ นระดบั พอใช้ ร้อยละระหว่าง 21 – 40 หมายถงึ ทักษะการพดู อยใู่ นระดับควรปรับปรงุ ร้อยละต่ากว่า 20 หมายถึง ทักษะการพูดอยู่ในระดับควรปรับปรุง เป็นอยา่ งย่งิ 6.4 วเิ คราะห์แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ี มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( x ) และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย 1. ผลการศกึ ษาระดบั ทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 หลัง การจัดการเรียนรู้โดยใชแ้ นวคิดวธิ ธี รรมชาติ ได้ผลการศึกษาดงั ตาราง 2

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม | 101 ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม–มถิ นุ ายน 2559 ตาราง 2 แสดงผลการศึกษาระดับทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หลงั การจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธธี รรมชาติ ด้าน ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ คา่ สว่ นเบย่ี งเบน ระดับ มาตรฐาน (S.D.) ดา้ นการออกเสียง 77.50 ดี ดา้ นคาศพั ท์ 62.00 21.81 ดี ด้านความคลอ่ งแคล่ว 73.50 16.20 ดี ดา้ นความเข้าใจ 89.50 17.77 ดีมาก 75.63 10.11 ดี รวมเฉลีย่ 11.35 จากตาราง 2 พบว่าผลการศึกษาระดับทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติโดยใช้แบบบันทึกการวัด ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ พบว่าระดับทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนอยู่ในระดับดี โดย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.63 2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ก่อนและหลังการจัดการเรยี นรู้โดยใชแ้ นวคดิ วิธีธรรมชาติ ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างจานวน 40 คน ไดค้ ะแนนทดสอบและผลการเปรยี บเทยี บดงั ตาราง 3 ตาราง 3 ผลการเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ก่อน และหลังการจัดการเรยี นรู้โดยใชแ้ นวคิดวธิ ีธรรมชาติ การทดสอบ n ร้อยละ S.D. t Sig. กอ่ นเรียน 40 41.48 13.01 27.21** .000 หลังเรียน 40 90.75 10.34 **มนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 จากตาราง 3 พบว่าการเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ มีคะแนนก่อน เรียนเท่ากับร้อยละ 41.48 และมีคะแนนหลังเรียนเท่ากับร้อยละ 90.75 ตามลาดับ และเม่ือ เปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลงั เรียน พบว่า คะแนนสอบหลงั เรียนของนักเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีต่อการ เรียนวิชาภาษาองั กฤษท่ีจดั การเรียนรู้โดยใชแ้ นวคิดวธิ ีธรรมชาติ

102 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 ตาราง 4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการเรียนวิชา ภาษาองั กฤษทีจ่ ัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวธิ ีธรรมชาติ รายการ ระดบั ความพึงพอใจ ใช่ ไมใ่ ช่ 1. นักเรียนรู้สึกพอใจในสภาพแวดล้อมการเรียน เช่น 92.5 7.5 บรรยากาศการเรยี นในหอ้ งเรยี น 92.5 7.5 2. นักเรียนรู้สึกพอใจในกิจกรรมการสอนของครูผู้สอนวิชา ภาษาองั กฤษ 90.0 10.0 87.5 12.5 3. นักเรียนสนุกกบั กิจกรรมการเรยี นภาษาองั กฤษ 4. นักเรียนชอบมีส่วนร่วมในการตอบคาถามกับเพ่ือนๆ 90.0 10.0 97.5 2.5 ในชัน้ เรียน 92.5 7.5 5. นกั เรยี นชอบทากิจกรรมเป็นค/ู่ กลุ่มร่วมกับเพ่อื น 6. นกั เรยี นชอบสอื่ ทค่ี รูใชป้ ระกอบการสอนเพราะน่าสนใจ 90.0 10.0 7. กิจกรรมท่ีครูใช้ช่วยให้นักเรียนเรียนภาษาอังกฤษ 82.5 17.5 100 0.0 ไมน่ า่ เบ่อื เข้าใจง่ายข้ึน 8. นักเรียนพอใจท่ไี ดร้ ว่ มรับผดิ ชอบในการเรียนมากข้นึ 9. นกั เรียนพอใจในการฝกึ สนทนาเปน็ ภาษาอังกฤษ 10. นกั เรียนพอใจในวิธีการทดสอบท่คี รนู ามาใช้ จากตาราง 4 พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ โดยมีระดับความพึงพอใจตั้งแต่ร้อยละ 90 ข้ึนไป คือ ข้อท่ี 10 นักเรียนจานวนร้อยละ 100 พอใจในวิธีการทดสอบที่ครูนามาใช้ รองลงมา คือ ร้อยละ 97.5 ที่ข้อ 6 นักเรียนชอบส่ือที่ครูใช้ประกอบการสอนเพราะน่าสนใจ และร้อยละ 92.5 ตามราย ประเด็นความพึงพอใจมี 3 ข้อ ได้แก่ ข้อ 1 นักเรียนรู้สึกพอใจในสภาพแวดล้อมการเรียน เช่น บรรยากาศการเรียนในห้องเรียน ข้อ 2 นักเรียนรู้สึกพอใจในกิจกรรมการสอนของครูผู้สอนวิชา ภาษาอังกฤษ และข้อ 7 กิจกรรมที่ครูใช้ช่วยให้นักเรียนเรียนภาษาอังกฤษไม่น่าเบ่ือ เข้าใจง่ายข้ึน มเี พยี ง 2 ขอ้ ทมี่ รี ะดับความพึงพอใจน้อยกว่าร้อยละ 90 คือ ร้อยละ 87.5 ที่ข้อ 4 นักเรียนชอบมี ส่วนร่วมในการตอบคาถามกับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน และร้อยละ 82.5 ท่ีข้อ 9 นักเรียนพอใจใน การฝกึ สนทนาเป็นภาษาอังกฤษ

วารสารมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม | 103 ปที ี่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถุนายน 2559 สรปุ และอภิปรายผล ผลการวจิ ยั ดงั กลา่ วมีประเด็นสาคญั ที่น่าสนใจ และควรนามาอภปิ ราย ดังนี้ 1. ผลการศกึ ษาระดบั ทักษะการพดู ภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หลัง การจดั การเรียนรู้โดยใชแ้ นวคิดวธิ ีธรรมชาติ พบว่าระดบั ทักษะการพดู ภาษาอังกฤษของนักเรียนอยู่ ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 75.63 จากผลของระดับทักษะการพูดท่ีออกมาเป็นท่ีน่าพอใจ ทั้งน้ี เน่อื งมาจากปัจจยั สาคัญ ดังนี้ ประการแรก ผู้สอนทาการสอนโดยเร่ิมจากการสอนเรื่องที่ง่ายก่อนและใช้ส่ือการสอน ต่างๆ เชน่ รปู ภาพ เพลง เกม และสิ่งของตา่ งๆ เพ่ือชว่ ยเพ่ิมความเขา้ ใจใหก้ บั นกั เรียน ในขั้นตอนน้ี ผสู้ อนมีการพูดออกเสียงซา้ ๆ เพอ่ื ให้นักเรียนเกิดความเคยชินและสามารถจดจาภาษาและสาเนียง ได้ จึงทาให้นักเรียนสามารถออกเสียงและเกิดความคล่องแคล่วในด้านทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หลงั จากน้ันจึงเพ่ิมความยากของตัวป้อนเข้าให้สูงกว่าความรู้ปัจจุบันของนักเรียนอยู่เล็กน้อย ผ่าน การสอนคาศัพท์ วลี และประโยคอยา่ งงา่ ย โดยใหน้ ักเรียนสามารถนาความรู้ด้านคาศัพท์ที่เรียนไป แ ล้ ว ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ก า ร เ รี ย น โ ค ร ง ส ร้ า ง ท่ี ย า ก ข้ึ น เ พื่ อ ช่ ว ย ใ ห้ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้ ง่ายขึ้น กิจกรรมการเรียนการสอนข้างต้นสอดคล้องกับสมมติฐานด้านตัวป้อนเข้า (the input hypothesis) ของแนวคิดวิธีธรรมชาติ (Krashen & Terrell, 1983) ซึ่งเป็นหลักการท่ีสาคัญท่ีสุด ในการเรียนรู้ภาษาที่สอง โดยอาศัยหลัก i+1 ซ่ึงเน้นความสาคัญของตัวป้อนเข้าท่ีต้องมีความยาก มากกว่าความสามารถของนกั เรียนปจั จุบนั เล็กนอ้ ย ประการที่สอง ผู้สอนได้นาภาพ เกม นิทาน เพลง และกิจกรรมต่างๆ มาช่วยให้นักเรียน เกดิ ความสนกุ สนาน ไม่ก่อให้เกิดความเครียด และก่อให้เกิดแรงจูงใจในการเรียน เช่น การนาเกม “Simon Says” มาช่วยสอนในเรื่อง Body นักเรียนจะได้เรียนคาศัพท์ที่เกี่ยวกับร่างกายผ่านการ เล่นเกม นอกจากน้ันครูผู้สอนยังได้ประยุกต์เอาประโยคคาสั่งอย่างง่ายมาใช้ในเกม เช่น Simon Says “Touch your Nose” ซ่ึงเป็นการสอนประโยคคาสั่งให้แก่นักเรียนทางอ้อม โดยที่ผู้สอนไม่ ต้องอธิบายในเรื่องของโครงสร้างประโยค แต่ทว่าการเล่นเกมจะช่วยให้นักเรียนเกิดความคุ้นเคย ทางด้านการสร้างประโยคไปดว้ ย โดยท่ีนักเรียนไม่รูส้ ึกว่าตนเองกาลงั เรียนอยู่ ยิง่ ไปกว่านั้นการเล่น เกมอย่างง่ายที่เด็กสามารถทาได้ จะช่วยเพิ่มความมั่นใจของนักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับ สมมติฐาน การกล่นั กรองทางจติ ใจ (the affective filter hypothesis) ที่ไดก้ ลา่ วถงึ ความสาคญั ของจิตใจซึ่งมี ความสัมพันธ์ต่อกระบวนการรับรู้ภาษาท่ีสอง ว่านักเรียนจะสามารถเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้านกั เรยี นมแี รงจงู ใจในการเรียน มีความม่ันใจในตนเองและปราศจากความวิตกกังวล (Krashen & Terrell, 1983)

104 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 กล่าวโดยสรปุ ไดว้ า่ การจดั การเรียนการสอนตามแนวคิดวิธีธรรมชาติ ถือเป็นวิธีการสอน ทช่ี ่วยพฒั นาระดับทกั ษะการพูดให้กับนักเรียนได้เป็นอย่างดี โดยการสอนตามแนวคิดวิธีธรรมชาติ น้นั เป็นการสอนท่ีมีการเรียงลาดับจากง่ายไปยาก ผู้สอนจะเร่ิมจากการสอนหน่วยเล็กๆ ทางด้าน คาศัพท์ก่อนแลว้ จงึ เพิ่มความยากมากขน้ึ ทลี ะน้อยตามความสามารถของนกั เรยี น เพอ่ื ไมใ่ หน้ ักเรยี น เกิดแรงต้านในการเรียน ย่ิงไปกว่าน้ันการเรียนในรูปแบบน้ี ถือเป็นการเรียนท่ีนักเรียนจะไม่ถูก บังคับให้สร้างภาษา แต่ทว่านักเรียนจะได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาขึ้นทีละน้อย จน สามารถใชภ้ าษาได้ดใี นท่ีสุด ซึ่งสอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ อนงค์กร ศรีเจริญ (2548: 56-68) ที่ได้ ทาการศึกษา การใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติเพ่ือศึกษาความสามารถในการฟัง พูด ภาษาอังกฤษ และ ความสามารถในการรู้คาศัพท์ของผู้เรียนในระดับเตรียมความพร้อม โดยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน การวิจัย คือ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนพิงครัตน์ อาเภอเมือง จังหวัด เชยี งใหม่ จานวน 30 คน ผลการทดลองปรากฏว่า 1) นักเรียนมีความสามารถทางด้านการฟัง พูด ภาษาอังกฤษ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 หลังจากการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ 2) นักเรยี นมคี วามรู้ทางด้านคาศพั ทภ์ าษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 หลังการเรียนการสอนโดย ใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ เช่นเดียวกับ นุรอานี โตะโยะ (2554: 98) ได้ทาการศึกษาเร่ือง ผลของการ สอนตามแนวคิดวิธีธรรมชาติต่อความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับเตรียมความ พร้อม โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2554 โรงเรยี นบ้าน ปลุ ากง อาเภอยะหร่ิง จังหวัดปัตตานี จานวน 26 คน ผลการวิจัย พบว่า คะแนนความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักเรียนท่ีเรียนตามแนวคิดวิธีธรรมชาติอยู่ใน ระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 53.07 คิดเป็นร้อยละ 53.07 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทา่ กบั 1.18 2. ผลการการเปรยี บเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ พบว่าคะแนนก่อนเรียนเท่ากับร้อยละ 41.48 และคะแนนหลังเรียนเท่ากับร้อยละ 90.75 ตามลาดับ และเม่ือเปรียบเทียบคะแนนก่อน และหลังเรียน พบว่าคะแนนสอบหลังเรยี นของนกั เรยี น สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดบั .01 ซ่งึ เป็นไปตามสมมติฐานทีต่ ง้ั ไว้ แสดงให้เห็นวา่ นกั เรยี นทไ่ี ด้รับการสอนภาษาอังกฤษโดย ใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ มีทักษะการพูดภาษาอังกฤษที่ดีข้ึน ทั้งน้ี จากการสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียน พบว่านักเรียนมีความกล้าแสดงออกในชั้นเรียนเพ่ิมมากขึ้น และมีความกระตือรือร้นใน การทากิจกรรมร่วมกับครูผู้สอน โดยไม่รู้สึกว่าถูกบังคับให้เรียนกฎเกณฑ์ใดๆ ซ่ึงสอดคล้องกับ อนงค์กร ศรีเจริญ (2548) ท่ีได้กล่าวไว้ว่า ในการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาตินั้น ส่วนใหญ่จะจัดการสอนเปน็ สถานการณ์ บรรยากาศของช้ันเรียนอยู่ในลักษณะของสถานการณ์จริง ที่จะทาให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาในสถานการณ์นั้นๆ ซ่ึงเป็นการทาให้ผู้เรียนไม่รู้สึกว่ากาลังเรียน

วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม | 105 ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม–มถิ นุ ายน 2559 กฎเกณฑ์ อีกทัง้ ในสถานการณจ์ ริงเหล่าน้นั จะมีตัวป้อนที่เข้าใจได้ให้แกผ่ ู้เรียน นอกจากน้ียังช่วยลด แรงตา้ นทานความรสู้ กึ เพราะผเู้ รยี นจะไมถ่ ูกบังคับให้พดู ภาษาทส่ี อง หากผสู้ อนและผู้เรียนมีภาษา ที่หนึ่งเหมือนกัน ผู้เรียนจะได้รับการยินยอมให้ตอบสนองหรือพูดเป็นภาษาที่หน่ึงหรือใช้ท้ังสอง ภาษาปนกันได้ การสอนภาษาโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ ยังเป็นวิธีการสอนท่ีสามารถใช้ได้กับ ผเู้ รยี นทกุ วัย เดก็ หรอื ผู้ใหญ่กไ็ ด้ ทั้งนี้เพราะว่าเป็นวิธีการสอนที่มุ่งเน้นการให้ตัวป้อนที่เหมาะสมท่ี ผู้เรียนเข้าใจได้ และเป็นการให้ตัวป้อนท่ีมีระดับความยาก ท่ีค่อยๆสูงข้ึนกว่าระดับความสามารถ ของผู้เรียนทีละน้อย อีกทั้งยังเป็นวิธีที่สามารถสร้างความม่ันใจให้กับผู้เรียนและเป็นการลดความ วติ กกังวลของผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ฐณมน สมชนะ (2549: 85-92) ซ่ึง ได้ทาการศึกษาเร่ือง ผลการสอนวิชาภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฎีธรรมชาติโดยใช้การ์ตูนสาหรับ นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียน กอ่ นและหลงั ไดร้ ับการสอนตามแนวทฤษฎีธรรมชาตโิ ดยใชก้ าร์ตูน ผลการวจิ ยั พบว่า ความสามารถ ด้านการฟังภาษาอังกฤษสูงกว่าก่อนได้รับการสอนตามแนวทฤษฎีธรรมชาติโดยใช้การ์ตูนอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ เอกพันธ์ กลมพุก (2556: 98-105) ได้ทาการศึกษาเร่ือง การ พัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฎีธรรมชาติร่วมกับสื่อการ์ตูนวอลท์ ดิสนีย์ สาหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 โดยผลการวิจัย พบว่าความสามารถด้านการฟังและการพูด ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 หลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรยี น อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 3. ผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีต่อการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษ ท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ พบว่า มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ ร้อยละ 100 ที่ข้อ 10 นักเรียนพอใจในวิธีการทดสอบท่ีครูนามาใช้ รองลงมา คือ ร้อยละ 97.5 ที่ข้อ 6 นักเรียนชอบสื่อที่ครูใช้ประกอบการสอนเพราะน่าสนใจ ท้ังนี้เนื่องจากการสอนทักษะ การพูดภาษาอังกฤษโดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติเป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้เรี ยนใช้ภาษาส่ือสารได้ตาม ธรรมชาติที่มีหลักการท่ีสาคัญ คือ ผู้เรียนต้องมีความเข้าใจก่อนที่จะสามารถแสดงออก จากการท่ี ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจในสง่ิ ท่ีไดฟ้ งั อยา่ งเพียงพอที่จะนาไปส่กู ารพดู ได้อยา่ งดแี ล้ว ผู้เรียนจะต้องได้รับ ตวั ป้อนหรอื ขอ้ มลู ทเี่ ขา้ ใจได้ โดยที่ผูส้ อนจะตอ้ งเป็นผู้ช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตลอดเวลา อีกท้ัง การแสดงออกของผู้เรียนจะค่อยๆ เกิดขึ้น ผู้เรียนจะไม่ถูกบังคับให้พูดจนกว่าจะพร้อม ซ่ึงผู้เรียน สามารถใช้ภาษาท่าทางในการตอบสนองคาถามของผู้สอนในข้ันแรก จากน้ันอาจตอบสนองโดยใช้ คาๆ เดียว หรือวลีสั้นๆ จนกระท่ังใช้คาพูดท่ีซับซ้อนตามลาดับ นอกจากน้ีในการแสดงออกของ ผู้เรยี นจะไมไ่ ด้รบั การแก้ไขคาพูดทผ่ี ิด หากสามารถสื่อสารได้สอดคลอ้ งกบั นรุ อานี โตะโยะ (2554) ทไี่ ด้ทาการศึกษาเรื่อง ผลของการสอนตามแนวคิดวิธีธรรมชาติต่อความสามารถทางภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับเตรียมความพร้อม ผลการวิจัยพบว่าเจตคติท่ีมีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับ เอกพันธ์ กลมพุก (2556) ท่ีพบว่าความ

106 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 พึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเรียนวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้การจัดการเรียนรู้ตาม แนวทฤษฎีธรรมชาติรว่ มกบั สื่อการต์ ูน วอลท์ ดสิ นีย์ โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมากทีส่ ุด ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัย ผู้วิจัยขอเสนอแนวคิดซึ่งเป็นประโยชน์ในด้านการจัดการเรียนรู้และใน การวิจยั ครงั้ ตอ่ ไป ดังน้ี ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ผู้สอนควรเชิญบุคคลภายนอกมาร่วมประเมินการทดสอบทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นรว่ มดว้ ย ซ่งึ จะสง่ ผลต่อความเท่ียงตรงของผลการประเมินเพมิ่ ยิง่ ข้นึ 2. ผสู้ อนควรรว่ มมือกับครูผ้สู อนวชิ าอืน่ ๆ จดั บรู ณาการการสอนรว่ มกัน โดยใช้แนวคิดวิธี ธรรมชาติ เพอื่ ช่วยให้ผเู้ รียนเขา้ ใจเนอ้ื หาในทุกสาขาวชิ าเพม่ิ ยงิ่ ข้นึ 3. ผู้สอนควรเตรียมกิจกรรมให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียน ไม่รสู้ ึกเบอื่ หนา่ ยในขณะเรียน ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครัง้ ต่อไป 1. ควรทาวิจัยเรอ่ื งนีก้ บั นกั เรยี นระดับชน้ั อน่ื ๆ เพอื่ เปรียบเทียบผลกับการวิจัยคร้ังน้ี และ เพื่อเป็นการส่งเสริมวิธีการสอนโดยใชแ้ นวคิดวิธธี รรมชาติอกี ด้วย 2. ควรทาการวิจัยหรือทดลองสอน เพ่ือพัฒนาทักษะด้านอื่นๆ เช่น ทักษะด้านการฟัง อ่าน และเขียน โดยใช้วิธกี ารสอนตามแนวคดิ วิธธี รรมชาติ เอกสารอ้างองิ กรมวิชาการ. (2548). การศึกษาสภาพการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษทีม่ ุ่งเน้นทักษะการ ส่อื สารตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่มอื การจัดการเรยี นรู้กลมุ่ สาระภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว. กุลชนก ทพิ ฤาชา และคณะ. (2550). การพัฒนาทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษของนักเรยี น ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2. (วิทยานพิ นธศ์ ึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม. ฐณมน สมชนะ. (2549). ผลการสอนวิชาภาษาองั กฤษตามแนวทฤษฏีธรรมชาติโดยใชก้ าร์ตูน สาหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1. (วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตร,ี ลพบรุ .ี

วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม | 107 ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม–มิถุนายน 2559 นรุ อานี โตะโยะ. (2554). ผลของการสอนตามแนวคดิ วิธธี รรมชาตติ อ่ ความสามารถทาง ภาษาอังกฤษของนกั เรียนระดบั เตรยี มความพร้อม. (วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาศกึ ษาศาสตร มหาบัณฑติ ) มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี, ปตั ตานี. บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2553). การวิจยั เบอ้ื งต้น. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 8). มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ปดิวรัดา ลีต้ ระกลู . (2556, 15 สงิ หาคม). ครผู ู้สอนวิชาภาษาองั กฤษ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนผดงุ ราษฎร์ จังหวัดพิษณโุ ลก. [บทสัมภาษณ]์ . ภทั ราวดี ยวนช่ืน. (2553). การเปรยี บเทียบความสามารถด้านการฟงั การพูดภาษาองั กฤษและ ความสนใจในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ทไี่ ดร้ บั การสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรียนตามแนวทฤษฎธี รรมชาตกิ บั แนว การสอนแบบเดมิ . (วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร, กรุงเทพมหานคร. สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาต.ิ (2556). รายงานผลการทดสอบระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O - NET) ชว่ งชนั้ ที่ 2 (ประถมศกึ ษาปีที่ 6) ปีการศกึ ษา 2555. คน้ เม่ือ 8 ตลุ าคม 2556, จาก http://www.niets.or.th/ สวุ รรณธ์ ชั สวาสดี. (2555). การเปรียบเทยี บความสามารถดา้ นการพูดภาษาอังกฤษของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ระหว่างกลมุ่ ที่ได้รบั การสอนโดยใชส้ อื่ วีดีทัศนแ์ ละการสอนปกติ. (การ คน้ คว้าอิสระการศกึ ษามหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, พิษณโุ ลก. สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. (2549). ยุทธศาสตรก์ ารเพม่ิ สมรรถนะและขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ. คน้ เม่ือ 21 ตุลาคม 2556, จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=91 อนงคก์ ร ศรีเจรญิ . (2548). การใชแ้ นวคดิ วิธีธรรมชาตเิ พ่อื พฒั นาความสามารถในการฟัง พูด ภาษาองั กฤษและความสามารถในการร้คู าศพั ท์ของผเู้ รียนในระดบั เตรยี มความพร้อม. (วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั เชยี งใหม,่ เชยี งใหม.่ อรุณี ออ่ นสวสั ดิ์. (2551). ระเบยี บวธิ วี ิจยั . (พมิ พค์ ร้ังที่ 3). พษิ ณโุ ลก: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. อัจฉรา วงศ์โสธร. (2538). แนวทางการสร้างข้อสอบภาษา. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย . (2544). การทดสอบและประเมนิ ผลการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ. (พมิ พค์ ร้งั ที่ 3) กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

108 | Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University Volume 10 No.1 January-June 2016 เอกพันธ์ กลมพุก. (2556). การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้วิชาภาษาองั กฤษตามแนวทฤษฎีธรรมชาติ รว่ มกบั สอื่ การ์ตนู วอลท์ ดสิ นยี ์ สาหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3. (การค้นคว้าอสิ ระ การศกึ ษามหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั นเรศวร, พษิ ณโุ ลก. Finocchiaro, M., & Christopher, B. (1983). Foreign Language Testing: a Practical Approach. New York: Regents. Krashen, S. (1987). Theoretical Research and Second Language Acquisition Theory. In Methodology in TESOL: A Book of Readings. New York: New Bury House. Krashen, S. & Terrell, T. (1983). Principle and Practice in Second Language Acquisition. Oxford: Pergamon Press.

สรปุ และอภิปรายผล (ต่อ) -ผสู้ อนได้นําภาพ เกม นิทาน เพลง และกิจกรรมต่างๆ มาชว่ ยใหน้ ักเรยี นเกิดความ สนุกสนานไมก่ ่อใหเ้ กิดความเครยี ด และก่อใหเ้ กิดแรงจูงใจในการเรยี น ซงึ เปนการสอน ประโยคคําสงั ใหแ้ ก่นักเรยี นทางอ้อมจะชว่ ยเพมิ ความมนั ใจของนักเรยี น ซงึ สอดคล้องกับ สมมติฐาน การกลันกรองทางจติ ใจ ทีได้กล่าวถึงความสาํ คัญของจติ ใจซงึ มคี วามสมั พนั ธต์ ่อ กระบวนการรบั รูภ้ าษาทีสอง วา่ นักเรยี นจะสามารถเรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook