Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Speech

Speech

Published by Stampman Sukhachit, 2021-07-18 04:59:59

Description: Speech

Search

Read the Text Version

คู่มือการฝึกพูดเบ้ืองต้น ท่ีปรกึ ษา : นายแพทยอ์ ุดม เพชรสังหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ : สชุ ยั ทำมาหากิน ภาวิณี อ่อนนาค เน้อื หาวชิ าการ : ชตุ วิ รรณ แก้วไสย ปราโมทย์ บญุ ทวงศ ์ ธนพล พรหมสวา่ งศิลป์ พมิ พค์ รง้ั ที่ 1 : กนั ยายน 2546 5,000 เล่ม พิมพ์ครั้งท่ี 2 : มีนาคม 2552 3,390 เลม่ จดั พิมพ์โดย : สถาบันราชานกุ ลู กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ 4737 ถ.ดนิ แดน เขตดนิ แดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2245-4601-5 โทรสาร 0-2248-2944 www.rajanukul.com พมิ พท์ ี่ : โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย ISBN 974-0148-56-5

คคำนำำ นำ ปัญหาพูดช้าเป็นปัญหาทางการพูดท่ีพบได้บ่อย หากสามารถให้การวินิจฉัยความผิดปกติ และได้รับการ ฝึกพูดเร็วมากเท่าไร จะเป็นผลดีต่อการพัฒนาความสามารถทางภาษาและการพูด และลดความรุนแรงของการพูด ผิดปกติได้ ในปัจจุบันมีเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการทางภาษาและการพูดล่าช้าจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้ารับบริการ ฝึกพูดตามสถานบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้านได้ เน่ืองจากข้อจำกัดด้านบุคลากรท่ีมีความรู้ด้านการแก้ไขการพูด และถึงแม้สามารถเข้ารับบริการในสถานบริการสาธารณสุขที่มีบุคลากรด้านน้ีแต่การให้บริการยังไม่สามารถตอบ สนองความต้องการในด้านความรวดเร็ว และความถี่ของการฝึก ส่งผลให้เด็กกลุ่มนี้ขาดโอกาสในการพัฒนาความ สามารถทางภาษาและการพูดตัง้ แตใ่ นระยะตน้ ๆ การจัดทำหนังสือคู่มือการฝีกพูดเบื้องต้น เป็นแนวทางหนึ่งในการช่วยเหลือ และสนับสนุนให้บุคลากร สาธารณสุข รวมถึงผู้ปกครอง หรือผู้เกี่ยวข้อง สามารถฝึกพูดเบ้ืองต้นให้กับเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการทางภาษาและ การพูดล่าช้า เพ่ือช่วยส่งเสริมพัฒนาการ และเตรียมเด็กให้พร้อมในการที่จะเรียนรู้การพูดในระดับที่ซับซ้อนต่อไป ได้ ขอขอบพระคุณ คุณสุชัย ทำมาหากิน และคุณภาวิณี อ่อนนาค ท่ีได้ให้คำแนะนำในการจัดทำหนังสือคู่มือ รวมถึงผู้ปกครอง และเด็กทุกคน ท่ีได้สละเวลามาเป็นแบบในการถ่ายภาพประกอบ จนสามารถผลิตหนังสือคู่มือ เล่มนี้สำเรจ็ ลลุ ว่ งไปได้ดดี ว้ ย คณะทำงาน กนั ยายน 2546



สสาารรบญับ ัญ หนา้ คำนำ รายละเอยี ดในคู่มือ................................................................................................................................................ 1 ข้อแนะนำการใชค้ ู่มือ............................................................................................................................................ 3 สว่ นที่ 1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกีย่ วกับการฝึกพดู - พฒั นาการทางภาษาและการพูด................................................................................................ 7 - ปัญหาพูดช้า.............................................................................................................................. 10 - สาเหตุทท่ี ำใหเ้ ดก็ พูดชา้ ............................................................................................................ 10 - เกณฑ์พจิ ารณาความล่าชา้ ทางภาษาและการพูด........................................................................ 11 - การฝกึ พูด.................................................................................................................................. 12 - หลกั ในการสอนพดู .................................................................................................................. 13 - เทคนคิ การช่วยเหลอื ในการฝกึ ................................................................................................. 14 ส่วนที่ 2 วธิ ีการฝกึ พูด 1. การเตรียมความพรอ้ ม 1.1 การเตรียมความพร้อมทกั ษะพืน้ ฐาน.................................................................................. 19 1.1.1 การมอง................................................................................................................... 19 1.1.2 การฟังเข้าใจภาษา................................................................................................... 20 1.2 การเตรยี มความพร้อมก่อนสอนพดู ................................................................................... 21 1.2.1 การเปา่ ลม............................................................................................................... 21 1.2.2 การบรหิ ารอวยั วะทีใ่ ช้ในการพดู ............................................................................ 22 1.2.3 การเล่นเสยี งท่ีไมม่ ีความหมาย............................................................................... 24 1.2.4 การเลียนเสยี งท่ไี ม่ใชค่ ำพูด.................................................................................... 25 1.2.5 การเลยี นเสยี งพดู .................................................................................................... 26

2. การสอนภาษา หนา้ 2.1 การรจู้ ักคำนาม 2.1.1 หมวดอวยั วะ........................................................................................................ 27 2.1.2 หมวดบคุ คล......................................................................................................... 28 2.1.3 หมวดสตั ว.์ ........................................................................................................... 29 2.1.4 หมวดสงิ่ ของ........................................................................................................ 31 2.1.5 หมวดผลไม.้ ......................................................................................................... 33 2.2 การรูจ้ กั คำกิริยา............................................................................................................... 35 3. การสอนพูด 3.1 การพูดคำนาม 3.1.1 หมวดอวยั วะ........................................................................................................ 37 3.1.2 หมวดบุคคล......................................................................................................... 38 3.1.3 หมวดสัตว.์ ........................................................................................................... 39 3.1.4 หมวดสิง่ ของ........................................................................................................ 40 3.1.5 หมวดผลไม้.......................................................................................................... 41 3.2 การพดู คำกริ ิยา................................................................................................................. 42 3.3 การพดู เปน็ วลหี รือประโยค............................................................................................. 43 ภาคผนวก - บัญชคี ำศพั ท์........................................................................................................................... 47 - รายชื่อโรงพยาบาล................................................................................................................. 48 - เอกสารอา้ งองิ ......................................................................................................................... 50

1การฝึกพดู เบอื้ งตน้ รายละเอยี ดในคู่มือฝึกพดู เบอ้ื งตน้ เน้ือหาแบ่งออกเปน็ 2 สว่ น สว่ นท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับการฝึกพดู เนื้อหาประกอบดว้ ย - พฒั นาการทางภาษาและการพดู - ปัญหาพูดชา้ - สาเหตุทำใหเ้ ดก็ พดู ชา้ - เกณฑ์พจิ ารณาความลา่ ชา้ ทางภาษาและการพูด - การฝึกพูด - หลักในการสอนพูด - เทคนคิ การชว่ ยเหลอื ในการฝึก สว่ นที่ 2 วธิ กี ารฝกึ พูด เนื้อหาประกอบด้วย 1. การเตรยี มความพร้อม  การเตรียมความพร้อมทักษะพ้ืนฐาน - การมอง - การฟังเข้าใจภาษา  การเตรียมความพร้อมก่อนสอนพดู - การเป่าลม - การบริหารอวยั วะท่ใี ช้ในการพูด - การเล่นเสียงทีไ่ ม่มีความหมาย - การเลยี นเสียงท่ีไม่ใชค่ ำพดู - การเลยี นเสียงพดู

2 การฝึกพูดเบือ้ งตน้ 2. การสอนภาษา  การร้จู ักคำนาม - หมวดอวยั วะ - หมวดบุคคล - หมวดสตั ว์ - หมวดส่งิ ของ - หมวดอาหาร  การรจู้ กั คำกริ ยิ า 3. การสอนพดู  การสอนพดู คำนาม - หมวดอวัยวะ - หมวดบคุ คล - หมวดสัตว์ - หมวดสง่ิ ของ - หมวดอาหาร  การพูดคำกิริยา  การพูดเปน็ วลีหรอื ประโยค

3การฝกึ พูดเบอื้ งตน้ ขอ้ แนะนำการใช้ค่มู อื คู่มือการฝึกพูดเบ้ืองตน้ เลม่ นี้ เรียบเรยี งข้ึน เพือ่ ใช้สอนพดู ในเด็กพดู ช้าทม่ี สี าเหตุ จากขาดการกระตุ้นพัฒนาการทางภาษาและการพูดท่ีเหมาะสม และไม่มีความ ผิดปกติด้านโครงสร้างของอวัยวะที่ใช้ในการพูด เม่ือนำไปใช้เป็นระยะเวลา 3 เดือนแล้ว เด็กยังไม่มีความก้าวหน้า ควรปรึกษานักแก้ไขการพูดเพื่อหาวิธีใน การช่วยเหลือเดก็ ต่อไป  ผู้ใช้ควรอ่านเน้ือหาในส่วนที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการฝึกพูดก่อน เพื่อ เปน็ ความรู้พ้ืนฐานกอ่ นสอนพูด  วิธีการสอนในคู่มือ จะใช้การสอนจากของจริง และตุ๊กตาจำลอง เม่ือเด็กเรียนรู้ได้ ควรเปลี่ยนการสอนเป็นการเรียนรู้จากรูปภาพ และการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง ตอ่ ไป

4 การฝึกพดู เบ้อื งตน้

5การฝึกพดู เบื้องตน้

6 การฝึกพดู เบ้อื งตน้

7การฝึกพูดเบือ้ งต้น ส่วนท่ี 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับการฝึกพูด  พฒั นาการทางภาษาและการพูด เป็นการเรียนรู้การเข้าใจคำพูดของผู้อ่ืน โดยเริ่มจากการเข้าใจคำศัพท์ประเภทต่างๆ เด็กจะสะสมความเข้าใจคำศัพท์อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนท่ีจะใช้คำศัพท์เหล่าน้ีในการพูดสื่อภาษา กับผู้อื่น คำศพั ท์ท่เี ดก็ เรยี นรปู้ ระกอบด้วย คำนาม ทใี่ ช้เรยี กชอ่ื คน สตั ว์ สิ่งของ อวยั วะร่างกาย ช่ือพชื ผกั ผลไม้ และอาหาร ช่อื สี คำบอกความรสู้ ึก สัมผสั บอกสถานที่ ทิศทาง เวลา ขนาด จำนวน ระยะทาง กิริยาอาการ คำวิเศษณ์ คำบุพบท และคำสันธาน เด็กปกติเรียนรู้คำนามได้ ก่อนคำประเภทอ่ืน แต่เมื่ออายุมากข้ึน อัตราการเรียนรู้คำนามลดลง จะเรียนรู้คำประเภทอื่น แทน ได้แก่ คำกิรยิ า คำบพุ บท คำวเิ ศษณ์ และคำสนั ธาน ดา้ นจำนวนคำศพั ทท์ ่เี ด็กรู้กม็ จี ำนวน เพ่มิ ขึน้ จากจำนวนท่รี จู้ กั เพยี งแค่สิบคำเม่ืออายุ 1 ปี กลายเป็นเกือบ 2,000 คำ เม่ืออายุ 4 ปี ใน ช่วงอายุ 2-4 ปีเด็กจะมีพัฒนาการด้านการเรียนรู้คำศัพท์ท่ีรวดเร็วมาก และมีอัตราการ พฒั นาการสูงกวา่ ในช่วงอายอุ ื่นๆ การพัฒนาภาษาและการพดู เป็นไปตามลำดับข้นั ดงั แสดงใน ตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 พฒั นาการทางภาษาและการพูดในด้านความเขา้ ใจและการใช้ภาษา อาย ุ ความเข้าใจภาษา การใช้ภาษา 1 เดอื น - เม่ือได้ยินเสยี งดังเด็กจะสะดงุ้ ขยบั ตัว - เดก็ รอ้ งไห้เมิอ่ื หวิ เปยี ก หรอื ไมส่ บาย ขยบิ ตา หรอื ร้องไห ้ 3 เดือน - เม่ือไดย้ ินเสียงแมอ่ ยใู่ กล้ๆ เดก็ จะยมิ้ หรือ - ทำเสยี งออ้ แอเ้ มือ่ มีความพงึ พอใจ นง่ิ ฟัง 6 เดอื น - หนั ไปมองยงั ท่มี าของเสยี งทไ่ี มด่ ังนกั - เลน่ เสียงทีละพยางคห์ รือสองพยางค์ เชน่ กา-กา อา-คา เป็นตน้ เริ่มเลน่ เสยี งตา่ ง ๆ 9 เดอื น - ทำตามคำสงั่ ได้ เชน่ บา๊ ยบาย - ทำเสียงโตต้ อบไมเ่ ปน็ ภาษาเมอื่ มีคนมา - หยดุ เล่นเม่ือถกู ดุ หรอื เมอื่ บอกวา่ “อย่า” พูดดว้ ย - เลียนแบบการเลน่ เสียงของผู้อน่ื - ทำเสียงเพ่อื เรยี กร้องความสนใจ - เลยี นเสียงแปลก ๆ เช่น สนุ ขั เหา่ เสียงจ้งิ จก

8 การฝึกพูดเบือ้ งต้น ตารางท่ี 1 พฒั นาการทางภาษาและการพูดในด้านความเขา้ ใจและการใชภ้ าษา (ต่อ) อาย ุ ความเข้าใจภาษา การใช้ภาษา 12 เดอื น 18 เดอื น - หันไปหาเม่อื ถกู เรียกชอื่ - การเล่นเสียงไม่เป็นภาษายังมีอยู่ แต่เพ่ิม - เข้าใจคำพดู ท่ีได้ยินบ่อยๆ เช่น “เอา” จำนวนพยางคม์ ากขึ้น และพูดเสียงดังขึน้ 2 ปี “ไม่เอา” 3 ป ี - เขา้ ใจคำศพั ทไ์ ด้ 10 คำ - เริ่มพูดคำทม่ี ีความหมายได้ 2-3 คำ เช่น พ่อ แม่ หม่ำ ไป เปน็ ต้น - ตอบสนองต่อคำพูดโดยใช้ท่าทางง่ายๆ เช่น พยักหน้า หรือส่ันหัว - เข้าใจ และทำตามคำส่งั งา่ ยๆ ได้เชน่ - ยังพูดไม่เป็นภาษา บางคร้ังอาจพูดคำที่มี “ไปเอารถมา” “น่ังลง” “ยนื ข้ึน” เป็นต้น ความหมาย และไมม่ ีความหมายปนกัน โดย - ชส้ี ว่ นตา่ งๆ ของร่างกายได้ 1-3 อยา่ ง มีน้ำเสยี งแบบผู้ใหญ่ - ช้ีสิ่งของหรือบุคคลท่ีคุ้นเคยได้เม่ือบอกให้ช้ี - พดู เป็นคำที่มีความหมายได้ประมาณ เชน่ “แมอ่ ยไู่ หน” “พอ่ อยู่ไหน” 10-20 คำ โดยมากจะใชค้ ำพดู เม่อื เรียกช่ือ “นาฬิกาอยู่ไหน” ส่งิ ต่างๆ ที่เดก็ เห็นบอ่ ยๆ เช่น หมา แมว - เขา้ ใจคำศพั ทไ์ ด้ 50 คำ - บอกความตอ้ งการงา่ ยๆ ได้ เช่น “เอา” “ไป” - พูดโต้ตอบโดยพูดซ้ำหรือพูดเลียนแบบ คำพดู ผู้อ่ืน - ชอบออกคำสงั่ โดยใชค้ ำพดู รว่ มกับท่าทาง - ช้ีส่วนตา่ งๆ ของร่างกายได้ 5 อยา่ ง - พูดคำท่ีมีความหมายได้ 50-400 คำ - เขา้ ใจคำถามไดม้ ากข้ึน เช่น “น่อี ะไร” - พดู เปน็ ประโยคท่ยี าว 2-3 คำได้ เช่น “...อยู่ไหน” “เอามา” “ไปเทย่ี ว” - ชี้รปู สิ่งของต่างๆ เมอ่ื บอกใหช้ ้ไี ด ้ - ยังคงชอบเลียนคำพูดผูอ้ ื่น - เขา้ ใจคำศัพท์ 1,200 คำ - พดู เสยี งวรรณยุกต์ไดถ้ กู ตอ้ งทุกเสียง - พูดแบบไม่เป็นภาษาลดลงอยา่ งมากจนแทบ ไมม่ เี ลย - แสดงความสนใจทจ่ี ะฟังคำพดู เมอ่ื แม่อธิบาย - บอกช่อื ตนเองได ้ ใหเ้ ดก็ ฟัง - ชอบพดู คนดยี วในขณะท่ที ำสง่ิ ต่างๆ - ชอบฟังนิทาน - ชอบถามคำถามมากขนึ้ เช่น “สอี ะไร” - ชส้ี ่วนต่างๆ ของร่างกายได้ไมต่ ำ่ กวา่ 7 อย่าง “แม่อยู่ไหน” “นั่นใคร” - พดู คำศพั ทไ์ ด้ 900-1,200 คำ

9การฝึกพดู เบอื้ งต้น ตารางที่ 1 พฒั นาการทางภาษาและการพดู ในดา้ นความเข้าใจและการใช้ภาษา (ต่อ) อาย ุ ความเข้าใจภาษา การใชภ้ าษา 3 ปี - เขา้ ใจคำกิริยาง่ายๆ ได้ - พูดเป็นประโยคไดป้ ระมาณ 3 คำ แตอ่ าจพูด - เขา้ ใจคำศพั ท์ 2,400-3,600 คำ ไม่ชัด - เข้าใจคำสง่ั ทเ่ี ปน็ ประโยคยาวๆ ได้ เช่น - ชอบเล่าเหตกุ ารณท์ ่ีกำลังประสบอยู ่ “หนูกนิ ข้าวให้เสร็จกอ่ นแล้วแมจ่ ะพาไป - มกี ารพดู ไม่คล่องได้ นัง่ รถ” - พูดเสยี งสระไดช้ ดั เจนทุกเสียง - เข้าใจคำบุพบท เช่น บน ใต้ ขนึ้ ลง เป็นตน้ - เสยี งที่พดู ไดช้ ัดเจน คือ [ม น ห ย ค อ ว บ ป - เข้าใจคำวิเศษณ์ เช่น เก่ง ดี สวย ใหญ่ ก] เปน็ ต้น 4 ป ี - เข้าใจคำศพั ท์ 4,200-5,600 คำ - พูดใหค้ นอน่ื เข้าใจไดด้ แี ต่พดู ไมช่ ดั - มีทักษะในการฟงั ดขี ึ้น และตัง้ ใจฟังได ้ - พูดเป็นประโยคยาวๆ 4 คำ โดยเฉลีย่ นานข้ึน - เลา่ เร่อื งไดโ้ ดยมเี นอื้ หาทีต่ ่อเนือ่ งกนั - พูดโออ้ วดและวจิ ารณ์ผ้อู น่ื - ชอบถาม “ทำไม” “เมอ่ื ไร” - พูดได้ตั้งแต่ 1,500-1,800 คำ - ใช้ประโยคที่ซับซ้อนได้มากขึ้น มีลักษณะ ทางไวยากรณ์เกือบสมบูรณ์ - สามารถบอกคำตรงกันข้ามได้ เช่น “ช้างตัว ใหญ”่ “กระต่ายตวั เลก็ ” - เสียงพยัญชนะที่พูดได้เพ่ิมเติมคือ [ท ต ล จ พ ง ด] 5 ป ี - เขา้ ใจคำศัพท์ 6,500-9,600 คำ - พดู คำศพั ทป์ ระมาณ 2,000 คำขน้ึ ไป - พดู ได้เปน็ ประโยคไดป้ ระมาณ 4-5 คำ - ใช้ไวยากรณไ์ ดถ้ ูกต้องเกอื บเทา่ ผูใ้ หญ ่ - สามารถบอกได้ว่าของส่ิงน้ันทำด้วยอะไร เชน่ “บ้านทำมาจากอะไร” - เสียงพยัญชนะที่ออกได้ชัดเพ่มิ ขนึ้ คอื [ฟ ช] 6 ปี - เขา้ ใจคำศพั ทไ์ ดป้ ระมาณ 13,500-15,000 คำ - พดู ได้ประมาณ 2,500 คำข้ึนไป - พดู เปน็ ประโยคไดย้ าว 6 คำ โดยเฉลย่ี - รูจ้ ักใชค้ ำเปรียบเทียบขนาดรูปรา่ ง - เสียงพยัญชนะท่ีออกได้เพ่ิมข้ึนคือ [ส] ส่วน เสียง [ร] เด็กจะพูดชดั เจนเมอ่ื อายุ 7 ปขี ึน้ ไป

10 การฝึกพูดเบอื้ งตน้  ปัญหาพูดชา้ เด็กพูดชา้ เป็นเด็กที่มีพัฒนาการด้านภาษาและการพูดไม่เป็นไป ตามอาย ุ ลักษณะของเด็กพดู ช้า มักไม่ค่อยเข้าใจคำพูดของผู้อื่น เร่ิมพูดคำแรกได ้ ช้ากวา่ เดก็ ในวัยเดยี วกนั เมือ่ พูดได้มักพดู ไมส่ มอาย ุ สงั เกตจาก - อายุ 1 ขวบ แล้วยังพูดเปน็ คำๆ ไมไ่ ด้ - อายุ 2 ขวบ แล้วยังไม่รู้จักฟังคำส่ัง และทำตาม คำสั่งไม่ได้ พดู เปน็ คำๆ ได้ไม่ถึง 10 คำ คำท่ีพูดได้ เป็นคำพยางค์เดยี ว - อายุ 3 ขวบ แล้วยังพูดเป็นประโยคไม่ได้ ไม่รู้จัก ถามคำถามหรอื ตอบคำถามไม่ได ้  สาเหตุท่ที ำใหเ้ ด็กพดู ช้า 1. การได้ยินผิดปกติ เช่น หูตึง หูหนวก เด็กจะมีปัญหาด้านการรับรู้ และเลียนแบบ การพูด เน่ืองจากหูไม่ได้ยินคำของผู้อื่นอย่างชัดเจน และทำให้เรียนรู้คำศัพท์ได้ จำกัด 2. สมองพิการ เป็นเด็กท่ีมีความผิดปกติในสมองส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับ การพูด 3. ปัญหาอ่อน เป็นเด็กที่มีพัฒนาการทุกด้านล่าช้า รวมทั้งด้านภาษาและการพูดด้วย เดก็ ปญั ญาอ่อนเริ่มพูดช้าเพยี งใดขึน้ กับระดบั สตปิ ญั ญาของเดก็ ถา้ สติปญั ญาต่ำมาก อาจจะพูดไมไ่ ด้ 4. ปัญหาทางอารมณ์และจิตใจ พบในเด็กท่ีขาดความอบอุ่นจากครอบครัว เช่นเด็กท่ี อยู่ตามสถานเลี้ยงเด็กกำพร้า เด็กที่เจ็บป่วยและต้องอยู่โรงพยาบาลนานๆ เด็กที่ ได้รบั การตามใจมากจนเกินไป นอกจากนีย้ งั รวมถึงเด็กทเี่ ป็นโรคจติ 5. สภาพแวดล้อมไม่ส่งเสริมการพูด พบได้ในเด็กที่พ่ีเลี้ยงไม่ช่างพูด ไม่สอนให้เด็ก พดู เด็กทถ่ี กู ปลอ่ ยใหด้ ูโทรทศั นน์ านจนเกนิ ไป เด็กทีพ่ อ่ แมพ่ ูดกันหลายภาษา 6. เด็กออทิสติก เป็นเด็กท่ีมีปัญหาทางด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน เหมือนอยู่ในโลก ส่วนตัวของตนเอง ไม่สบตากบั ผูอ้ ่นื มปี ัญหาทางดา้ นภาษา เชน่ ไมพ่ ูดเลย หรือพูด ภาษาทผี่ ู้อื่นฟงั ไม่เขา้ ใจ

11การฝกึ พดู เบื้องตน้  เกณฑพ์ จิ ารณาความลา่ ช้าทางภาษาและการพูด 1. อายุที่เรม่ิ ตน้ พดู เด็กอายรุ ะหว่าง 1 ขวบถึง 1 ขวบคร่งึ ยงั ไมเ่ ปลง่ เสยี งเป็นคำ เปน็ เด็กที่มีความโน้นเอียงที่จะพูดช้า ถ้า 2 ขวบแล้วยังไม่พูดถือว่าพูดช้าผิดปกติอย่าง แนน่ อน 2. จำนวนคำศพั ทท์ ีเ่ ด็กรจู้ ัก อาย ุ 1 ปี เข้าใจคำพดู ได้ไมถ่ ึง 10 คำ อายุ 2 ป ี ร้จู กั และพูด ได้ประมาณ 200 คำ และอายุ 3 ปี คำศพั ท์ท่ีรจู้ ักและพดู ได้เพมิ่ ขน้ึ เปน็ 900 คำ ถ้ารู้ จำนวนคำศัพทน์ อ้ ยกวา่ นี้เป็นขอ้ บ่งชีว้ ่าเด็กพูดชา้ อยา่ งผิดปกติ 3. ประเภทของคำศัพท์ที่เด็กรู้จัก ต้ังแต่ 1 ขวบข้ึนไป เด็กเริ่มรู้จักคำนามท่ีเรียกชื่อ สิ่งต่างๆ รอบตัว แต่เมื่ออายุมากข้ึนเป็น 2-3 ขวบ เด็กก็เข้าใจและพูดคำศัพท์ หลากหลาย ได้แก่ ชื่อคน สัตว ์ ส่ิงของ อวัยวะของร่างกาย ชื่อพืชผัก ผลไม ้ และ อาหาร ช่ือสี คำท่ีบอกความรู้สึกสัมผัส สถานท่ ี ทิศทาง เวลา ขนาด จำนวน ระยะทาง ดังน้ันถ้าเด็กรายใดเข้าใจและพูดคำศัพท ์ ได้เฉพาะบางประเภท และรู้จัก คำศพั ทน์ ้อย แสดงวา่ เด็กมกี ารพดู ชา้ ผิดปกติ ในการพจิ ารณาว่าเด็กพดู ช้าผิดปกต ิ อาจพจิ ารณาจากข้อใดข้อหน่งึ ซง่ึ เป็น ข้อบ่งช้ีได้ว่าเด็กมีความผิดปกติ แต่เด็กพูดช้าส่วนใหญ่จะมีการพัฒนาการ ด้านภาษาและการพูดไม่ถึงเกณฑ์ของเด็กปกติทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้าน อายทุ ี่เริ่มตน้ พดู จำนวนคำศพั ท์ หรือประเภทคำศพั ทท์ ีร่ ูจ้ กั และพูดได ้

12 การฝกึ พดู เบอื้ งตน้  การฝึกพดู การฝึกพูดในเด็กที่พูดช้า ดำเนินไปร่วมกับการรักษาสาเหตุท่ีทำให้เด็กพูดช้า เช่น เด็กที่พูดช้าเน่ืองจากมีการได้ยินผิดปกติ ก็ต้องได้รับการใส่เคร่ืองช่วยฟังเพ่ือให้เด็ก ได้ยินดีข้ึน แล้วจึงสอนพูด ถ้าเด็กมีความผิดปกติทางระบบประสาทก็ต้องได้รับการ รักษาทางระบบประสาทร่วมด้วย ส่วนพวกท่ีมีปัญหาทางอารมณ์บางรายต้องการการ รักษาจากทางจิตเวชกุมารร่วมด้วย มีเด็กพูดช้าจำนวนไม่น้อยท่ีมีสาเหตุหลายอย่าง ร่วมกัน เช่น สมองพิการ หูตึง ปัญญาอ่อน ฯลฯ ซึ่งในเด็กกลุ่มน้ีการฝึกพูดมักจะทำได้ ลำบากและไดผ้ ลนอ้ ย วิธีการแก้ไขทางด้านการพูดเน้นในเร่ืองการส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาและ การพูดให้เร็วท่ีสุด โดยใช้หลักการเรียนรู้และพัฒนาการทางการพูดของเด็กปกติเป็น แนวทาง บิดา มารดา และผทู้ ่อี ยู่ใกล้ชิดกับเด็กเปน็ บุคคลทมี่ ีความสำคัญอย่างมากในการ สอนพูดเด็กเหล่าน้ี ต้องแสดงให้เด็กเห็นความสำคัญของการพูดกระตุ้นให้เด็กสนใจการ พูด โดยใช้กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้การพูด ได้แก่ การกระตุ้นด้วยของเล่น ทมี่ ีเสยี ง การพูดคุยกับเด็กเก่ยี วกับสงิ่ ต่างๆ ในชีวิตประจำวนั สอนให้เด็กเรียกช่ือส่งิ ของ ที่คุ้นเคย ช่ืออวัยวะของร่างกาย ร้องเพลงกล่อมเด็ก ทำท่าประกอบเพลง เล่านิทานจาก ภาพ ฯลฯ เด็กที่พูดช้าต้องไดร้ ับการกระตุ้นอย่างต่อเน่อื ง และกระทำอย่างสมำ่ เสมอเพอ่ื ใหก้ ารฝึกพดู ไดผ้ ลดี คำแนะนำในการส่งเสริมการสอื่ ความหมาย 1. ใช้วิธีการเป็นแบบอย่าง คือ เม่ือเด็กพูดไม่ถูกต้อง ผู้ใหญ่จะพูดในส่ิงท่ีถูกเพื่อ เป็นการนำโดยเน้นในเรอ่ื งเนอื้ หาทพี่ ดู วิธกี ารทใ่ี ช้ ไดแ้ ก่ - วิธีพดู ไปทำไป คอื เวลาทำอะไรกพ็ ดู ประกอบไปด้วย - วธิ ถี ามเองตอบเอง คอื เมอื่ ผใู้ หญถ่ ามแลว้ เดก็ ตอบไมไ่ ด้ ผใู้ หญก่ เ็ ปน็ ผตู้ อบเอง 2. ใช้คำพูดท่ีมีความหมาย โดยเฉพาะคำถามที่ใช้ถามเด็ก เช่น ถามว่า “หนูเป็น คนดหี รือเปลา่ ” เด็กตอบไม่ได้ควรถามให้มีคำตอบเฉพาะ เช่น “หนูจะไปไหน” 3. ต้องใช้ประสบการณ์ของเด็กเป็นพื้นฐานในการสร้างสถานการณ์ในการส่ือ ความหมาย เช่น สอบถามเรื่องของเด็กจากพ่อแม่ก่อนเพ่ือให้ทราบว่าเด็กสนใจ อะไร แลว้ พดู คุยกับเด็กในเรอื่ งนั้นๆ 4. ตอ้ งมปี ฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งเด็กกับผู้ใหญ่

13การฝกึ พูดเบ้อื งตน้  หลกั ในการสอนพูด 1. คำนึงถึงอารมณ์ และความพร้อมของเด็ก ในการสอนพูด อารมณ์และ ความพร้อมของเด็กเป็นส่ิงสำคัญท่ีต้องคำนึงถึงเป็นอย่างมาก ถ้าเด็กหงุดหงิด อารมณ์เสีย หรือรอ้ งไห้ เดก็ ก็ไมพ่ ร้อมทจี่ ะรับการเรยี นร้ใู นเรื่องใดๆ 2. สอนความเข้าใจ ก่อนสอนการพูด ในการสอนคำศัพท์ต่างๆ พึงระลึกไว้ว่า ความเข้าใจต้องมาก่อนเสมอ ซ่ึงจะทราบว่าเด็กเข้าใจคำศัพท์ที่เราสอนได้จาก การสังเกตว่า เด็กมองดู ชี้ หยิบ หรือแสดงท่าทางตามท่ีบอกได้จากนั้นจึงสอน ใหพ้ ดู คำศพั ทน์ นั้ ๆ 3. ให้โอกาสเด็กได้เปล่งเสียงออกมาบ้าง ขณะที่พูดกับเด็ก ผู้สอนควรเว้นระยะให้ เด็กตอบบ้าง เพ่ือให้เด็กได้มีโอกาสคิดท่ีจะออกเสียง อย่ารีบแย่งเด็กพูด และ แม้ว้่าเด็กจะออกเสียงไม่เป็นคำ พยายามเดาว่าเด็กพูดอะไร และพูดตอบใน เรื่องน้ัน เพ่ือให้เด็กเกิดความมั่นใจในการเปล่งเสียง ในกรณีท่ีเด็กเร่ิมแสดงการ เบ่ือหน่าย ควรหยุดการฝึกไว้ก่อน เพราะถ้าเร้าให้เด็กออกเสียงมากเกินไป จะ ทำใหเ้ ด็กไมต่ ้องการสง่ เสยี งกับเราในคร้งั ตอ่ ไป 4. สอนพูดคำเดี่ยว และเลือกคำท่ีออกเสียงได้ง่ายก่อน ในการสอนพูดควรเร่ิมจาก การสอนคำเดี่ยวๆ และมองเห็นรูปปากได้ชัดเจน เพื่อให้เด็กสามารถมองเห็น และเลียนแบบได้ จะช่วยให้ออกเสียงได้ง่ายข้ึน เช่น คำที่ข้ึนต้นด้วยเสียง พยัญชนะ ม ได้แก่ แม่ ม้า หมา เสียงพยัญชนะ ป ได้แก่ ปู ปลา ปาก เสียง พยญั ชนะ ว ได้แก่ ววั หวี เป็นต้น 5. สอนเด็กให้พูดโดยใช้คำนามท่ีมองเห็นเป็นรูปธรรม จดจำได้ง่าย คุ้นเคยและ อยู่ใกล้ตัวเด็ก จะทำให้เด็กรับรู้ เข้าใจ และเรียนรู้ได้ดี ต่อมาจึงสอนให้พูด คำกิริยาง่ายๆ พร้อมท้ังสอนให้เดก็ ปฏบิ ตั ติ ามไปด้วยรวมทัง้ สอนรว่ มไปกบั การ ทำกิจวัตรในชีวิตประจำวัน เพ่ือให้เด็กสามารถเชื่อมโยงคำกับประสบการณ์ และนำไปใช้ในเหตุการณจ์ รงิ ได้ต่อไป

14 การฝกึ พดู เบอื้ งต้น 6. ผู้ฝึกเป็นแบบอย่างในการพูดท่ีดี เนื่องจากขณะที่เด็กพูด เด็กจะลอกเลียนแบบ จากผู้ที่พูด ผู้ฝึกจะต้องพูดให้ชัดเจน และถูกต้อง ถ้าพบว่าเด็กพูดไม่ชัดไม่ควร แสดงความเอ็นดูหรือพูดไม่ชัดตามเด็ก เพราะจะทำให้เด็กพูดไม่ชัดและติดไป จนโต แต่ไม่จำเป็นต้องเค่ียวเข็ญให้เด็กพูดชัดในขณะน้ัน เพราะเด็กไม่สามารถ พดู ใหช้ ัดได้ในทนั ที เนือ่ งจากยงั ขาดทกั ษะการเคลอ่ื นไหวของ ปาก ลนิ้ ในการ ออกเสียง ควรรอให้เด็กสามารถพูดสื่อสารให้ได้มากพอก่อน เพราะการรีบ แก้ไขให้เด็กพูดชัด หรือตำหนิเด็กบ่อยๆ จะทำให้เด็กโกรธและอาจหยุดพูดไป ได ้  เทคนคิ การช่วยเหลือในการฝึก เทคนิคการชว่ ยเหลือในการฝึก มขี ้นั ตอนเรียงลำดับจากง่ายไปยาก ดังน้ ี 1. ชว่ ยจบั ทำ เม่ือส่ังให้เด็กทำกิจกรรมใดๆ ก็ตาม ถ้าเด็กไม่แสดงการรับรู้ หรือปฏิบัติ ตามคำสั่งไม่ได้ ให้จับมือเด็กทำกิจกรรมนั้นซ้ำๆ พร้อมท้ังพูดบอกเป็นระยะๆ เพื่อเป็นการช่วยให้เด็กเกิดการเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจ สามารถทำตามคำสง่ั หรือคำพูด ได้ 2. แตะนำ เป็นการลดความช่วยเหลือจากการช่วยจับทำลง โดยแตะหลังมือ ข้อมือ หรือข้อศอก เพ่ือใหเ้ ดก็ ได้มโี อกาสทำกิจกรรมดว้ ยตนเองในขั้นตอนสดุ ทา้ ย 3. เลยี นแบบ เป็นการลดความช่วยเหลือลงจากการแตะนำ โดยทำให้เด็กดู แล้วให้เด็ก ทำตาม เพ่ือสอนให้เด็กเรียนรู้ถึงการเลียนแบบตั้งแต่การเคล่ือนไหวร่างกายท่ี เหน็ ได้ชดั เจน ไปจนถงึ การเลยี นแบบการพดู ต่อไป 4. ทำตามคำสง่ั เป็นความสามารถของเด็กในการเข้าใจ และปฏิบัติตามคำส่ังได้โดย ไม่ต้องใช้การช่วยเหลือใดๆ ซ่ึงแสดงว่าเด็กเข้าใจความหมายของคำพูดและ พร้อมที่จะฝึกการเปล่งเสยี งพูดทีม่ ีความหมายต่อไป เมื่อเด็กมีความเข้าใจ จึงเริ่มสอนพูด โดยใช้เทคนิคช่วยให้เด็กสามารถนึก คำตอบได้ ดังน้ี 1. การพูดตาม โดยในระยะแรกผู้สอนจะเป็นผู้ถามตอบเอง หลังจากน้ันจึงเป็น ผ้สู อน ถามเด็ก แลว้ ตอบนำใหเ้ ดก็ ตอบตาม

15การฝกึ พูดเบ้ืองตน้ ตวั อย่าง ข้ันท่ ี 1 ผสู้ อนถาม “น่ีอะไร” ผู้สอนตอบ “หมา” ขัน้ ท่ี 2 ผ้สู อนถาม “นอี่ ะไร” ผูส้ อนตอบ “หมา” เด็กดตู าม “หมา” 2. การพูดต่อคำ โดยผู้สอนถามแล้วตอบนำทั้งคำ แล้วกระตุ้นให้เด็กตอบตาม หลงั จากน้นั จงึ ถามซำ้ แลว้ ตอบคำแรกนำ เวน้ ชว่ งใหเ้ ดก็ พูดต่อคำใหส้ มบูรณ์ ตัวอยา่ ง ข้ันท่ี 1 ผสู้ อนถาม “น่อี ะไร” ผสู้ อนตอบนำ “แตงโม” เด็กพดู ตาม “แตงโม” ข้ันท ี่ 2 ผู้สอนถาม “นี่อะไร” ผู้สอนตอบนำคำแรก “แตง…” เว้น ระยะให้เด็กตอบ “…โม” (หมายเหตุ เทคนคิ นใ้ี ชไ้ ดเ้ ฉพาะกบั การพดู คำทีม่ ี 2 พยางค์ขน้ึ ไป) 3. การพูดต่อเสียง โดยผู้สอนถามแล้วตอบนำทั้งคำ แล้วกระตุ้นให้เด็กตอบตาม หลงั จากนน้ั จงึ ถามซ้ำแลว้ ทำเสยี งของคำตอบนำ เวน้ ระยะใหเ้ ดก็ ตอ่ เสยี งให้เป็น คำที่สมบรู ณ์ ตัวอยา่ ง ขน้ั ท ่ี 1 ผ้สู อนถาม “น่ีอะไร” ผู้สอนตอบนำ “หมา” เดก็ พดู ตาม “หมา” ขน้ั ท ี่ 2 ผู้สอนถาม “น่ีอะไร” ผู้สอนทำเสียงตอบนำเสียง “อึม” (ลากเสียง) เวน้ ระยะให้เดก็ ตอ่ เสียงเปน็ คำ“หมา” (หมายเหต ุ เทคนิคน้ีใช้ได้เฉพาะคำที่สามารถลากเสียงพยัญชนะต้นของคำแรก ได)้ 4. การเดาจากรูปปาก โดยผู้สอนถามแล้วตอบนำในขณะท่ีเด็กมองปากผู้สอน หลังจากนั้นจึงถามซ้ำแล้วทำรูปปากให้เด็กด ู โดยไม่ออกเสียง เว้นระยะให้เด็ก ตอบ ตวั อยา่ ง ขั้นที ่ 1 ผู้สอนถาม “นอ่ี ะไร” ผสู้ อนตอบนำ “ววั ” เด็กพดู ตาม “วัว” ข้ันที ่ 2 ผู้สอนถาม “นี่อะไร” ผู้สอนทำปากจูขณะที่เด็กมองปาก เว้นระยะให้เด็กตอบ “ววั ” ลำดับขั้นตอนของการกระตุ้นให้เด็กพูดตอบได้เอง จะเริ่มต้นจากข้อ 1 ไป จนถึงขอ้ 4 ตามลำดบั การสอนขึ้นกบั ระดับความสามารถของเดก็ ถา้ เดก็ ไม่ สามารถทำได้ในข้อใด ให้ย้อนกลับไปสอนยังข้อก่อนหน้าท่ีเด็กสามารถ ทำได้ จนเด็กสามารถพูดตอบได้เองโดยไม่ต้องมีการนำใดๆ

16 การฝกึ พูดเบ้อื งตน้

17การฝึกพดู เบอื้ งตน้

18 การฝกึ พูดเบ้อื งตน้

19การฝึกพูดเบื้องตน้ 1. การเตรยี มความพรอ้ ม 1.1 การเตรียมความพร้อมทกั ษะพืน้ ฐาน 1.1.1 การมอง วัตถุประสงค ์ เพื่อฝึกการมองอยา่ งมีเป้าหมาย และการมองสบตา อุปกรณ์ ของเลน่ สีสดใส วธิ ฝี ึก 1. ผ้สู อนใชข้ องเล่นกระต้นุ ใหเ้ ด็กมองตาม 2. ผู้สอนเคลอ่ื นไหวของเล่นไปมาให้เดก็ มองตาม 3. ผู้สอนหยุดของเล่นที่ระดับสายตา ให้เด็กมองสบตากับ ผู้สอน 4. ผู้สอนสง่ ของเลน่ ให้เดก็ เม่ือเดก็ มองสบตา คำแนะนำเพิ่มเติม - การกระตุ้นให้เด็กมองของเล่นควรใช้ของเล่นท่ีเด็กสนใจ หรือใช้ ของเลน่ สัมผัสตวั เด็กเพ่ือนำสายตาให้เดก็ มอง - เพ่ิมระยะเวลาขณะมองสบตากับผู้สอนจาก 1 วินาที เป็น 3 วินาท ี 5 วินาที ตามลำดับ ผู้สอนใชข้ องเลน่ กระตุน้ ให้เดก็ มอง ผู้สอนเคลอ่ื นไหวของเลน่ ไปมาใหเ้ ด็กมอง ผสู้ อนหยุดของเลน่ ทีร่ ะดับสายตาใหเ้ ด็กมอง ผู้สอนสง่ ของเลน่ ให้เดก็ เมอ่ื เด็กมองสบตากบั ผู้สอน

20 การฝึกพูดเบ้ืองตน้ 1.1.2 การฟงั เขา้ ใจภาษา วัตถุประสงค์ เพอื่ ฝกึ การฟังเขา้ ใจภาษาและทำตามคำส่งั ง่ายๆ อุปกรณ ์ รางวลั เช่น ของเล่น ขนม คำชมเชย วธิ ฝี ึก 1. ผสู้ อนพูด “สวัสด”ี พร้อมทั้งจบั มอื เดก็ ทำ 2. ผู้สอนสั่งให้เด็ก สวัสดี ให้การช่วยเหลือโดยการแตะ นำบรเิ วณข้อศอก 3. ผู้สอนสั่งให้เด็ก สวัสดี พร้อมท้ังทำเป็นแบบให้เด็ก ทำตาม 4. ผสู้ อนสัง่ ให้เด็ก สวัสดี เอง คำแนะนำเพมิ่ เตมิ - คำสง่ั ง่ายๆ ท่ใี ช้ ได้แก่ ยกมือ ตบมอื โบกมือ ขอ - ในข้ันตอนของการจับมือเด็กทำ อาจต้องทำซ้ำๆ เพื่อให้เด็กเกิดการ เรยี นรู้ แล้วจึงลดการช่วยเหลอื ลงจนสามารถทำได้เอง - ให้รางวัลทันทีหลังจากจับมือให้ทำตาม หรือเมื่อเด็กสามารถทำตาม คำสงั่ ไดเ้ อง ผู้สอนจับมอื เดก็ สวัสดี ผสู้ อนชว่ ยแนะนำให้เดก็ สวสั ด ี ผู้สอนสวสั ดใี หเ้ ด็กดแู ละใหเ้ ด็กทำตาม เดก็ สวสั ดตี ามคำส่งั

21การฝึกพูดเบื้องตน้ 1.2 การเตรยี มความพรอ้ มก่อนสอนพดู 1.2.1 การเปา่ ลม วตั ถุประสงค ์ เพือ่ ให้รู้จกั การกกั และเป่าลมออกจากปาก อปุ กรณ์ วตั ถทุ มี่ นี ำ้ หนกั เบา เชน่ เศษกระดาษชนิ้ เลก็ ๆ สำลขี นนก วิธีฝึก 1. ผู้สอนเป่าลมบริเวณฝ่ามือของตนเอง สลับกับฝ่ามือของ เด็ก 2. ผู้สอนวางวัตถุที่มีน้ำหนักเบาไว้บนฝ่ามือของตนเอง และ กักลมทำแกม้ ป่องพร้อมทง้ั เปา่ วตั ถบุ นฝ่ามอื ให้ปลวิ 3. ผ้สู อนวางวัตถไุ วบ้ นฝา่ มอื ของเด็ก และสง่ั ใหเ้ ดก็ เปา่ ลม คำแนะนำเพิ่มเตมิ - เม่ือเด็กสามารถเป่าวัตถุน้ำหนักเบาได้ เปลี่ยนเป็นการเป่าฟองสบู่ เป่ากบ หรือ เป่านกหวดี ซงึ่ ตอ้ งใช้แรงดนั ลมที่มากกวา่ ผู้สอนเป่าลมบรเิ วณฝ่ามือตนเองสลับกับฝ่ามอื ของเดก็ ผสู้ อนวางวัตถบุ นฝ่ามือของตนเองและเป่าให้เด็กด ู ผ้สู อนวางวตั ถบุ นฝา่ มอื ของเด็กและให้เด็กเป่า

22 การฝกึ พูดเบื้องต้น 1.2.2 การบริหารอวยั วะท่ใี ช้ในการพูด 1.2.2.1 การเคลอ่ื นไหวริมฝีปาก วตั ถุประสงค์ เพื่อให้กล้ามเน้ือบริเวณริมฝีปาก เกิดการคลายตัวและ รจู้ กั การเคล่อื นไหวในลักษณะตา่ งๆ อปุ กรณ์ รางวัล เชน่ ของเล่น ขนม วิธีฝึก 1. ผู้สอนออกคำสั่ง “อ้าปาก” พร้อมทั้งเคล่ือนไหวปากให้ เดก็ ดู 2. ผสู้ อนออกคำสั่ง “อ้าปาก” อีกคร้ัง พรอ้ มท้งั ใชน้ วิ้ มือแตะ ที่ใต้ริมฝีปากล่างของเด็ก กด และดึงลงเบาๆ เพ่ือช่วยให้ เดก็ อ้าปากออก 3. ผูส้ อนส่งั ใหเ้ ด็กอ้าปากตามคำสั่ง คำแนะนำเพิม่ เติม - สอนโดยใช้วิธีเดียวกันนี้กับรูปแบบการเคล่ือนไหวริมฝีปากอื่นๆ ได้แก่ หอ่ ปาก (อ)ู เหยียดปาก (อ)ี - การเคล่ือนไหวรูปปากแบบต่างๆ อาจทำร่วมกับการเปล่งเสียงสระ อา อู อ ี - ให้รางวัลทนั ทีเม่อื เดก็ สามารถทำตามคำส่ังได ้ ผู้สอน อ้าปากให้เดก็ ด ู ผู้สอนใชน้ ้ิวแตะใตร้ ิมฝีปากลา่ งชว่ ยเด็กให้อ้าปาก เดก็ อ้าปากตามคำสง่ั

23การฝึกพูดเบ้ืองต้น 1.2.2.2 การเคล่ือนไหวลน้ิ วัตถปุ ระสงค ์ เพอ่ื ใหร้ ูจ้ กั เคล่ือนไหวลิ้นในลักษณะต่างๆ อุปกรณ์ อมยม้ิ วิธีฝกึ 1. ผสู้ อนออกคำสงั่ “แลบลน้ิ ” พรอ้ มทง้ั แสดงการเคลอ่ื นไหว ให้เด็กดู 2. ผู้สอนสั่งให้เด็กแลบลิ้นตาม ถ้าเด็กทำไม่ได้ กระตุ้นโดย ใหเ้ ด็กแลบลิน้ ออกมาเลียอมยิม้ 3. ผ้สู อนสั่งให้เด็กแลบล้นิ คำแนะนำเพ่ิมเติม - เม่ือเด็กแลบล้ินได้ฝึกการเคลื่อนไหวล้ินในลักษณะต่างๆ ได้แก่ แลบลนิ้ ปดั ลนิ้ ซ้าย-ขวา กระดกล้นิ - ฝึกการปัดล้ินซ้าย-ขวา โดยใช้อมย้ิมแตะมุมปากทั้งสองข้างและ กระต้นุ ใหเ้ ดก็ แลบลิ้นออกมาเลยี - ฝึกการกระดกลิ้น โดยใช้อมยม้ิ แตะริมฝปี ากบน และกระตุ้นให้เดก็ แลบล้ินออกมาเลีย ผสู้ อนแลบลิน้่ ใหเ้ ด็กด ู ผู้สอนกระตุ้นให้เดก็ แลบลิน้ โดยใช้อมยม้ิ

24 การฝึกพดู เบ้อื งตน้ 1.2.3 การเล่นเสยี งทไี่ มม่ ีความหมาย วตั ถปุ ระสงค ์ เพอื่ ใหเ้ ดก็ เรียนรู้การเปล่งเสียง อุปกรณ ์ รางวัล เชน่ ของเลน่ ขนม คำชมเชย วิธีฝกึ 1. สอนทำเสยี ง เปาะปาก กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ สงั เกตการเคลอ่ื นไหว รมิ ฝีปากของผู้สอนและใหเ้ ดก็ ทำตาม 2. ผสู้ อนทำเสยี งเดาะลนิ้ กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ สงั เกตการเคลอื่ นไหว ล้ินของผสู้ อน และใหเ้ ดก็ ทำตาม 3. ผู้สอนทำเสียงจุ๊ปาก กระตุ้นให้เด็กสังเกตการเคล่ือนไหว ริมฝปี ากของผู้สอน และให้เด็กทำตาม คำแนะนำเพมิ่ เติม - ใหร้ างวัลเมอื่ เด็กสามารถทำได ้ - ฝกึ ร่วมไปกับการเลน่ เพื่อให้เดก็ ร้สู ึกสนุกสนาน ทำเสียงเปาะปาก ทำเสยี งเดาะลิ้น ทำเสยี งจุป๊ าก

25การฝกึ พดู เบอ้ื งต้น 1.2.4 การเลียนเสยี งที่ไมใ่ ช่คำพดู วัตถุประสงค ์ เพ่อื ให้เดก็ เรยี นรู้การเปลง่ เสยี ง อุปกรณ์ รางวลั เช่น ของเลน่ ขนม คำชมเชย วธิ ฝี กึ 1. ผู้สอนเอามือปิด-เปิดปากตนเอง และทำเสียง “วา-วา” นำ และเอามือปิด-เปิดปากเด็กให้ทำเสียง “วา-วา” ตาม จากน้ันทำเปน็ แบบอกี คร้ัง และให้เดก็ ทำตาม 2. ผู้สอนใช้ของเล่นท่ีเด็กสนใจ เช่น รถ เครื่องบิน รถไฟ เคล่ือนไหวไปมา และทำเสียง “บรื้นๆ” “บร้ือๆ” “ปู๊นๆ” ให้เด็กออกเสยี งตาม 3. ผู้สอนให้เดก็ ดตู ุ๊กตาสตั ว์ หรือภาพสัตว์ เชน่ หมา แมว หมู ฯลฯ และออกเสียงร้องของสัตว์ชนิดต่างๆ ให้เด็กฟัง พร้อมทัง้ กระต้นุ ใหเ้ ด็กออกเสียงตาม คำแนะนำเพมิ่ เติม - ให้รางวัลเมื่อเดก็ สามารถทำได ้ - ฝกึ ร่วมไปกบั การเล่นเพอ่ื ใหเ้ ด็กรู้สกึ สนุกสนาน เลยี นเสยี ง “วา-วา” เลียนเสียงรถ “บรน้ื บรืน้ ” เลยี นเสยี งรอ้ งของหมา “โฮ่ง โฮง่ ”

26 การฝกึ พดู เบ้อื งต้น 1.2.5 การเลียนเสียงพูด วตั ถปุ ระสงค ์ ฝึกการออกเสียงสระ และพยางคท์ ไ่ี มม่ ีความหมาย อปุ กรณ ์ รางวัล เชน่ ของเล่น ขนม คำชมเชย วิธฝี ึก 1. ผ้สู อนออกเสยี งสระเดยี่ ว เชน่ อา อู อี และกระตนุ้ ใหเ้ ด็ก ออกเสยี งตาม 2. ผู้สอนออกเสยี งพยัญชนะทม่ี องเหน็ รปู ปากงา่ ย เช่น ปาปา มามา และกระตุ้นให้เด็กออกเสยี งตาม 3. ผู้สอนออกเสียงคำง่ายๆ เช่น หม่ำๆ อ๊ัม เอา และกระตุ้น ให้เดก็ ออกเสียงตาม คำแนะนำเพ่มิ เติม - ขณะออกเสียงจับมือเด็กมาแตะบริเวณ ลำคอ ริมฝีปาก เพื่อให้รับรู้ ถึงการส่นั สะเทอื นของอวยั วะท่ีใช้ในการออกเสยี ง - ฝกึ ในสถานการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั เชน่ ระหวา่ งรบั ประทานอาหาร ออกเสยี ง “อ”ู ออกเสียง “ปา ปา” ออกเสยี ง “อ้มั ”

27การฝกึ พดู เบอ้ื งต้น 2. การสอนภาษา 2.1 การร้จู กั คำนาม 2.1.1 หมวดอวยั วะ วัตถุประสงค ์ เพื่อให้เด็กรู้จักคำนามหมวดอวัยวะ และสามารถชี้ อวยั วะได้ถูกตอ้ ง อปุ กรณ์ รางวัล เช่น ของเลน่ ขนม คำชมเชย วิธฝี กึ 1. ผู้สอนพดู “ตา” พร้อมทง้ั จบั มอื เด็กชี้ตา 2. ผู้สอนสั่งใหเ้ ด็กช้ตี า พร้อมท้ังแตะนำบริเวณข้อมือ 3. ผสู้ อนสงั่ ให้เด็กชี้ตา พรอ้ มท้ังชเ้ี ป็นแบบ 4. ผู้สอนส่ังใหเ้ ด็กช้ีตาเอง คำแนะนำเพ่มิ เติม - ให้รางวลั ทนั ทเี มอ่ื เด็กสามารถช้อี วัยวะได้ถูกต้อง - เมือ่ เดก็ สามารถชี้ ตา ได้ถูกตอ้ ง เปลยี่ นสอนช้ีอวัยวะส่วนอ่นื ๆ เชน่ หู จมกู ปาก ผม มือ เท้า โดยใชว้ ิธีการเดียวกัน ผสู้ อนจับมือเด็กช้ตี า ผสู้ อนช่วยแตะขอ้ มือเดก็ ชี้ตา ผู้สอนชีต้ าใหเ้ ด็กดแู ละให้เดก็ ชี้ตาม เด็กชตี้ าตามคำสัง่

28 การฝกึ พูดเบื้องตน้ 2.1.2 หมวดบคุ คล วตั ถุประสงค ์ เพ่ือให้เด็กรู้จักคำนามหมวดบุคคล และช้ีบอกได้ ถูกต้อง อปุ กรณ ์ รางวัล เช่น ของเล่น ขนม คำชมเชย วิธีฝึก 1. ผู้สอนพูด “แม่” พร้อมทง้ั จบั มือเด็กชี้แม่ 2. ผสู้ อนสั่งใหเ้ ด็กชีแ้ ม่ พร้อมทัง้ แตะนำบรเิ วณข้อมือ 3. ผู้สอนส่ังให้เด็กชแ้ี ม่ พรอ้ มท้ังชีเ้ ปน็ แบบ 4. ผ้สู อนส่ังใหเ้ ด็กชแี้ ม่เอง คำแนะนำเพ่มิ เติม - ใหร้ างวลั ทันทีเม่ือเด็กสามารถช้บี คุ คลได้ถูกต้อง - เมอ่ื เดก็ สามารถช้ี แม่ ได้ถกู ตอ้ ง เปลย่ี นสอนช้ีบุคคลอ่ืนๆ ทใ่ี กลต้ ัว เด็ก เชน่ พ่อ พี่ น้อง โดยใช้วธิ ีการเดียวกนั ผสู้ อนจับมือเดก็ ช้แี ม่ ผู้สอนชว่ ยแตะขอ้ มือเดก็ ชแ้ี ม่ ผสู้ อนชแี้ ม่ให้เด็กดูและให้เด็กชี้ตาม เดก็ ชแ้ี ม่ตามคำสง่ั

29การฝึกพดู เบ้ืองต้น 2.1.3 หมวดสตั ว ์ วตั ถุประสงค ์ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ รจู้ กั คำนามหมวดสตั ว์ และชบ้ี อกไดถ้ กู ตอ้ ง อปุ กรณ์ ตุ๊กตาสตั ว์ หรอื ภาพสตั ว์ ชนิดตา่ งๆ วิธีฝกึ 1. ผู้สอนวางตุ๊กตาหมาบนโต๊ะ และพูด “หมา” พร้อมทั้ง จบั มอื เด็กชี้หมา 2. ผู้สอนวางตุ๊กตาสัตว์ 2ชนิด ส่ังให้เด็กช้ีหมา พร้อมจับมือ เดก็ ชี ้ 3. ผู้สอนวางตุ๊กตาสัตว์ 2 ชนิด ส่ังให้เด็กชี้หมา พร้อมท้ัง แตะนำใหเ้ ดก็ ช ้ี 4. ผู้สอนวางตุ๊กตาสัตว์ 2ชนิด สั่งให้เด็กช้ีหมา พร้อมท้ังช้ี เป็นแบบ 5. ผู้สอนวางต๊กุ ตาสตั ว์ 2 ชนิด ส่งั ใหเ้ ดก็ ชีห้ มาเอง คำแนะนำเพม่ิ เตมิ - ให้รางวลั ทนั ทีเมื่อเด็กสามารถชไ้ี ดถ้ กู ต้อง - เมือ่ เด็กสามารถช้ีหมาได้ถูกตอ้ ง จาก 2 ตวั เลอื ก เพ่ิมตวั เลือกเป็น 3 และ 4 ตามลำดบั - เม่ือเด็กสามารถชี้ หมา ได้ถูกต้อง เปล่ียนสอนสัตว์ชนิดอื่นๆ โดย ใชว้ ธิ กี ารเดยี วกนั (ดูบญั ชคี ำศพั ทใ์ นภาคผนวก) ผู้สอนจับมือเดก็ ชี้ตุก๊ ตาหมา ผสู้ อนจบั มือเดก็ ชีต้ ๊กุ ตาหมาจาก 2 ตวั เลอื ก

30 การฝึกพดู เบื้องตน้ ผสู้ อนชว่ ยแตะนำใหเ้ ดก็ ช้ีตุ๊กตาหมา ผ้สู อนชต้ี ุก๊ ตาหมาให้เดก็ ดูและให้เด็กชี้ตาม เด็กชตี้ ุก๊ ตาหมาตามคำสัง่

31การฝึกพดู เบือ้ งตน้ 2.1.4 หมวดสง่ิ ของ วัตถุประสงค ์ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ รจู้ กั คำนามหมวดสง่ิ ของ และชบ้ี อกไดถ้ กู ตอ้ ง อุปกรณ ์ สิ่งของจรงิ หรอื ภาพสิง่ ของ วิธฝี กึ 1. ผสู้ อนวางแก้วบนโตะ๊ และพูด “แกว้ ” พร้อมทงั้ จับมือเด็กชี้แกว้ 2. ผู้สอนวางส่ิงของ 2 ชนิด สง่ั ใหเ้ ด็กชีแ้ กว้ พรอ้ มทั้งจบั มือเด็กชี ้ 3. ผสู้ อนวางสิ่งของ 2 ชนดิ สัง่ ใหเ้ ดก็ ช้ีแกว้ พรอ้ มทงั้ แตะนำให้เด็กช ี้ 4. ผู้สอนวางสิ่งของ 2 ชนดิ สง่ั ใหเ้ ด็กชีแ้ กว้ พร้อมทง้ั ชี้เปน็ แบบ 5. ผู้สอนวางสงิ่ ของ 2 ชนิด สงั่ ใหเ้ ดก็ ช้ีแกว้ เอง คำแนะนำเพม่ิ เตมิ - ให้รางวัลทนั ทเี มอ่ื เด็กสามารถช้ีได้ถูกตอ้ ง - เมอ่ื เดก็ สามารถช้ีแก้วได้ถูกต้องจาก 2 ตวั เลอื ก เพ่มิ ตวั เลือกเป็น 3 และ 4 ตาม ลำดบั - เมื่อเด็กสามารถชี้แก้วได้ถูกต้อง เปลี่ยนสอนสิ่งของชนิดอ่ืนๆ โดยใช้วิธีการ เดยี วกนั (ดบู ัญชีคำศัพทใ์ นภาพผนวก) ผู้สอนจบั มือเด็กชแ้ี ก้ว ผู้สอนจับมอื เดก็ ชแ้ี ก้วจาก 2 ตวั เลือก

32 การฝึกพดู เบื้องตน้ ผสู้ อนชว่ ยแตะนำให้เดก็ ชแี้ กว้ ผ้สู อนชแ้ี กว้ ให้เด็กดู และให้เด็กชี้ตาม เดก็ ชแ้ี กว้ ตามคำส่ัง

33การฝึกพดู เบ้ืองต้น 2.2.5 หมวดผลไม้ วตั ถปุ ระสงค ์ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ รจู้ กั คำนามหมวดผลไม้ และชบี้ อกไดถ้ กู ตอ้ ง อุปกรณ ์ ผลไม้ หรอื ผลไมจ้ ำลอง หรอื ภาพผลไม้ วิธฝี ึก 1. ผู้สอนวางกล้วยไม้บนโต๊ะและพูด “กล้วย” พร้อมทั้งจับมือเด็กชี้ กลว้ ย 2. ผู้สอนวางผลไม้ 2ชนิด สงั่ ให้เด็กช้กี ล้วย พร้อมทั้งจับมอื เด็กช้ี 3. ผู้สอนวางผลไม้ 2 ชนดิ ส่งั ให้เด็กช้กี ล้วย พร้อมทั้งแตะนำให้เด็กชี้ 4. ผู้สอนวางผลไม้ 2 ชนิด ส่ังใหเ้ ดก็ ชี้กลว้ ย พร้อมทงั้ ชเี้ ป็นแบบ 5. ผู้สอนวางผลไม้ 2 ชนิด ส่งั ใหเ้ ดก็ ชี้กลว้ ยเอง คำแนะนำเพม่ิ เติม - ใหร้ างวลั ทันทเี มื่อเด็กสามารถชี้ได้ถกู ้อง - เม่ือเด็กสามารถชี้กล้วยได้ถูกต้องจาก 2 ตัวเลือก เพ่ิมตัวเลือกเป็น 3 และ 4 ตามลำดบั - เม่อื เดก็ สามารถชกี้ ลว้ ยไดถ้ กู ต้อง เปลี่ยนสอนผลไมช้ นิดอืน่ ๆ โดยใชว้ ธิ กี าร เดยี วกัน (ดูบญั ชคี ำศพั ท์ในภาคผนวก) ผูส้ อนจบั มอื เด็กช้กี ล้วย ผู้สอนจบั มือเด็กชก้ี ลว้ ยจาก 2 ตัวเลือก

34 การฝึกพดู เบื้องตน้ ผู้สอนช่วยแตะนำให้เด็กชกี้ ลว้ ย ผ้สู อนชี้กล้วยใหเ้ ดก็ ดู และใหเ้ ดก็ ช้ตี าม เดก็ ชก้ี ล้วยตามคำสง่ั

35การฝึกพดู เบื้องตน้ 2.2 การรู้จกั คำกิริยา วัตถุประสงค ์ เพื่อให้เด็กเข้าใจคำกิริยา และสามารถแสดงกิริยาได้ ตามคำสงั่ อุปกรณ์ ส่งิ ของจรงิ ทใี่ ช้แสดงกริ ิยาตา่ งๆ เช่น ชอ้ น ใช้สำหรบั กินข้าว แปรงสีฟัน ใช้สำหรับแปรงฟัน แก้ว ใช้ สำหรับดมื่ นำ้ ฯลฯ วธิ ฝี กึ 1. ผูส้ อนจบั ช้อน และแสดงกิริยากนิ พรอ้ มทง้ั พูด “กินขา้ ว” 2. ผู้สอนให้เด็กจับช้อน และพูด “กินข้าว” พร้อมทั้งจับมือ เดก็ แสดงกิริยากนิ 3. ผู้สอนให้เด็กจับช้อน และพูด “กินข้าว” พร้อมทั้งแตะนำ ใหเ้ ดก็ แสดงกิรยิ า กิน 4. ผู้สอนให้เด็กจับช้อน และพูด “กินข้าว” พร้อมท้ังแสดง กิริยากนิ เป็นแบบให้เด็กทำตาม 5. ผ้สู อนใหเ้ ดก็ จบั ชอ้ น และส่งั ให้เด็กแสดงกริ ยิ ากนิ เอง คำแนะนำเพิ่มเตมิ - ให้รางวลั ทนั ทเี ม่อื เดก็ สามารถกิรยิ าได้ถูกตอ้ ง - เมื่อเด็กสามารถแสดงกิริยากินได้ถูกต้อง เปล่ียนสอนคำกิริยาอื่นๆ โดยใช้วธิ ีเดยี วกนั (ดูบญั ชีคำศัพท์ในภาคผนวก) ผ้สู อนแสดงกริ ิยากนิ ใหเ้ ดก็ ดู ผสู้ อนจบั มอื เดก็ แสดงกิรยิ ากนิ

36 การฝกึ พูดเบ้อื งต้น ผ้สู อนช่วยแตะนำใหเ้ ดก็ แสดงกริ ยิ ากิน ผ้สู อนแสดงกริ ยิ ากินให้เด็กดแู ละให้เด็กทำตาม เด็กแสดงกิริยากินตามคำสั่ง

37การฝกึ พดู เบือ้ งต้น 3. การสอนพูด 3.1 การพดู คำนาม 3.1.1 หมวดอวยั วะ วัตถุประสงค ์ เพ่อื ให้เด็กพดู ชอื่ อวัยวะไดถ้ กู ตอ้ ง อุปกรณ์ รางวัล เช่น ของเลน่ ขนม วธิ ีฝึก 1. ผู้สอนชต้ี าตนเอง และการกระตุ้นให้เดก็ มอง พรอ้ มทัง้ พูด “ตา” 2. ผู้สอนช้ีตาของเด็ก และถาม “นี่อะไร” พร้อมท้ังตอบนำ “ตา” ให้เด็กพูดตาม 3. ผูส้ อนชตี้ าของเด็ก และถาม “น่อี ะไร” ใหเ้ ดก็ ตอบเอง คำแนะนำเพ่มิ เตมิ - ใหร้ างวลั เมื่อเดก็ พูดชอ่ื อวัยวะได้ถกู ตอ้ ง - เมอ่ื เดก็ พูดช่ือ ตา ได้ถูกต้อง เปลี่ยนสอนการพดู ชื่ออวยั วะส่วนอืน่ ๆ เช่น หู จมูก ปาก เทา้ โดยใช้วธิ กี ารเดยี วกนั สอนการพูดชือ่ อวัยวะ

38 การฝกึ พดู เบือ้ งตน้ 3.1.2 หมวดบุคคล วตั ถุประสงค์ เพ่ือใหเ้ ดก็ เรียกบุคคลไดถ้ ูกตอ้ ง อปุ กรณ ์ รางวัล เชน่ ของเล่น ขนม วธิ ฝี กึ 1. ผ้สู อนช้ีไปท่ีแม่ และพูด “แม”่ 2. ผู้สอนชีไ้ ปที่แม่ และถาม “นี่ใคร” พร้อมทัง้ ตอบนำ “แม่” ใหเ้ ดก็ พดู ตาม 3. ผสู้ อนชีไ้ ปทีแ่ ม่ และถาม “น่ีใคร” ใหเ้ ดก็ ตอบเอง คำแนะนำเพ่มิ เตมิ - ให้รางวัลเมอ่ื เด็กเรยี กบคุ คลได้ถูกตอ้ ง - เม่ือเด็กพูด “แม่” ได้ถูกต้อง เปล่ียนสอนบุคคลอื่นๆ โดยใช้วิธีการ เดียวกัน สอนการเรียกบุคคล

39การฝกึ พดู เบอ้ื งต้น 3.1.3 หมวดสตั ว ์ วตั ถปุ ระสงค ์ เพอ่ื ใหเ้ ด็กพดู ชอื่ สตั วไ์ ดถ้ กู ต้อง อปุ กรณ์ ตุ๊กตาสัตว์ หรือภาพสตั ว์ วธิ ฝี ึก 1. ผสู้ อนช้ีตุ๊กตาหมา และพดู “หมา” 2. ผู้สอนช้ีตุ๊กตาหมา และถาม “ตัวอะไร” พร้อมท้ังตอบนำ “หมา” ไดเ้ ดก็ พูดตาม 3. ผูส้ อนชีต้ กุ๊ ตาหมา และถาม “ตัวอะไร” ใหเ้ ดก็ ตอบเอง คำแนะนำเพิ่มเตมิ - ให้รางวลั เม่อื เด็กพดู ช่อื สัตว์ได้ถูกต้อง - เมื่อเด็กพูดช่ือหมาได้ถูกต้อง เปลี่ยนสอนพูดช่ือสัตว์อื่นๆ โดยใช้ วิธีการเดียวกนั (ดูบัญชคี ำศพั ทใ์ นภาคผนวก) สอนการพูดชอื่ สัตว์

40 การฝกึ พูดเบื้องต้น 3.1.4 หมวดสง่ิ ของ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อใหเ้ ด็กพูดชื่อส่ิงของไดถ้ ูกต้อง อุปกรณ ์ ส่ิงของจรงิ หรือภาพสงิ่ ของ วิธีฝึก 1. ผู้สอนช้แี กว้ และพดู “แก้ว” 2. ผู้สอนชี้แก้ว และถาม “นี่อะไร” พร้อมท้ังตอบนำ “แก้ว” ใหเ้ ดก็ พูดตาม 3. ผสู้ อนช้ีแกว้ และถาม “น่ีอะไร” ให้เด็กตอบเอง คำแนะนำเพ่มิ เติม - ให้รางวัลเมอ่ื เด็กพูดชื่อส่งิ ของไดถ้ ูกต้อง - เม่อื เดก็ พูดชือ่ แกว้ ได้ถกู ต้อง เปล่ียนสอนพูดชอ่ื สง่ิ ของอืน่ ๆ โดยใช้ วธิ กี ารเดียวกนั (ดบู ัญชีคำศพั ท์ในภาคผนวก) สอนการพดู ช่ือส่ิงของ

41การฝึกพดู เบ้อื งต้น 3.1.5 หมวดผลไม ้ วตั ถปุ ระสงค ์ เพอื่ ให้เด็กพูดชื่อผลไมไ้ ด้ถูกตอ้ ง อุปกรณ์ ผลไม้ หรอื ผลไมจ้ ำลอง หรือภาพผลไม้ วธิ ฝี ึก 1. ผสู้ อนช้กี ลว้ ย และพูด “กลว้ ย” 2. ผู้สอนชี้กล้วย และถาม “นี่อะไร” พร้อมทั้งตอบนำ “กล้วย” ให้เดก็ พูดตาม 3. ผูส้ อนช้กี ลว้ ย และถาม “นอี่ ะไร” ให้เดก็ ตอบเอง คำแนะนำเพม่ิ เตมิ - ใหร้ างวลั เมือ่ เดก็ พดู ช่ือผลไมไ้ ดถ้ กู ต้อง - เมอื่ เดก็ พูดชือ่ กลว้ ยไดถ้ กู ต้อง เปล่ยี นสอนพูดชอื่ ผลไม้อื่นๆ โดยใช้ วิธีการเดยี วกัน (ดบู ญั ชคี ำศัพท์ในภาคผนวก) สอนการพดู ชื่อผลไม ้

42 การฝกึ พูดเบอ้ื งตน้ 3.2 การพดู คำกริ ิยา วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือให้เด็กพดู คำกริ ยิ าได้ถกู ตอ้ ง อปุ กรณ ์ สิ่งของจริงท่ีใช้แสดงกิริยา เช่น แก้ว ใช้ในการดื่มน้ำ ช้อนใช้ในการกินข้าว หรือภาพคำกิรยิ า วิธีฝกึ 1. ผสู้ อนจบั ช้อนและแสดงกิรยิ ากนิ พรอ้ มท้ังพดู “กิน” 2. ผู้สอนแสดงกิริยากิน และถาม “ทำอะไร” พร้อมทั้งตอบ นำ “กิน” ใหเ้ ด็กพูดตาม 3. ผสู้ อนแสดงกริ ยิ ากนิ และถาม “ทำอะไร” ให้เดก็ ตอบเอง คำแนะนำเพิม่ เตมิ - ให้รางวลั เมื่อเดก็ พูดคำกริ ิยาได้ถกู ตอ้ ง - เมื่อเด็กพูดกิริยากินได้ถูกต้อง เปลี่ยนสอนพูดคำกิริยาอ่ืนๆ โดยใช้ วธิ กี ารเดยี วกนั (ดูบัญชีคำศัพทใ์ นภาคผนวก) สอนพดู กริ ยิ า

43การฝกึ พูดเบอ้ื งตน้ 3.3 การพดู เป็นวลีหรอื ประโยค วตั ถปุ ระสงค ์ เพื่อใหเ้ ดก็ สามารถพดู เป็นวลี หรอื ประโยคสน้ั ๆ ได้ อปุ กรณ์ ภาพคำนาม เช่น บคุ คล สตั ว์ สง่ิ ของ ภาพคำกิริยา วิธฝี กึ 1. ผู้สอนวางภาพคำนาม และภาพคำกิริยาท่ีจะสอนไว้คู่กัน เช่น วางภาพพอ่ คูก่ บั ภาพกนิ 2. ผู้สอนช้ีภาพพ่อ และภาพกิน ตามลำดับ พร้อมทั้งพูด “พอ่ กิน” 3. ผู้สอนช้ีภาพซ้ำ และถาม “พ่อทำอะไร” พร้อมท้ังตอบนำ “พอ่ กิน” ใหเ้ ดก็ พูดตาม 4. ผู้สอนช้ภี าพซ้ำ และถาม “พอ่ ทำอะไร” ให้ได้ตอบเอง คำแนะนำเพิ่มเตมิ - เมื่อพูดวลี พ่อกินได้ เปลี่ยนภาพและสอนวลีอื่นๆ โดยใช้วิธีการ เดยี วกัน - ก่อนสอนการพูดเป็นวลี หรือประโยค เด็กควรจะรู้จักคำ และ สามารถพดู บอกคำศัพทใ์ นหมวดตา่ งๆ ได้ดี - ฝึกพูดเป็นประโยคท่ียาวขึ้นโดยเพิ่มจำนวนภาพ หรือจำนวนคำ ท่ี ประกอบด้วยประธาน กิริยา และกรรมในประโยค เช่น พ่อกินป ู แมก่ นิ ปลา สอนพดู เป็นวลีหรอื ประโยค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook