Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานกลุ่มนาฏศิลป์ 2

งานกลุ่มนาฏศิลป์ 2

Published by wandee9387a, 2022-11-18 00:40:41

Description: งานกลุ่มนาฏศิลป์ 2

Search

Read the Text Version

วิวัฒนาการ ละครตะวันตก

เกี่ยวกับ วิวัฒนาการของละครตะวันตก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วิวัฒนาการ ละครตะวันตก ประเภทของละคร การนำเสนอละคร

วิวัฒนาการละครตะวันตก ยุคแรกเริ่ม ยุคกลาง ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยา ยุคสมัยใหม่ ละครสมัยกรีก Intermazzi ละครสมัยโรมัน ละครศาสนา Opera ละครแนวสัจนิยม แนวธรรมชาตินิยม ละครที่ไม่เกี่ยว ละครแนวต่อต้าน กับศาสนา สัจธรรม

ละครยุคเริ่มแรก ละครถือกำเนิดขึ้นประมาณ 500 ละครสมัยโรมัน ปีก่อน ค.ศ. โดยเกิดขึ้นในพิธีบวงสรวง เทพเจ้าไดโอนีซุส จัดขึ้นบริเวณแท่น เป็นการนำละครสมัยกรีกโบราณมาปรับปรุง บูชา และได้มีกลุ่ม คอรัส (Chorus) เพื่อแสดงในงานบูชาเทพเจ้าจูปิเตอร์ และอีก มาร้องเล่นเต้นระบำ หลายองค์ ถือเป็นการฉลองแด่เทพเจ้า อีกทั้ง ความมั่งคั่ง และอำนาจของมนุษย์เองด้วย ละครสมัยกรีก ละครโศกอนาฏกรรมโรมัน - เป็นการแสดงที่มี ละครโศกอนาฏกรรมกรีก - เป็นการเล่าชีวิตของ ความโหดร้ายทารุณ หยาบโลน มีการต่อสู้แบบ เทพเจ้าไดโอนีซุส ที่ต่อสู้กับชะตากรรมตั้งแต่ต้นและ นักรบโบราณ ฉากฆ่ารันฟันแทง แสดงให้เห็นภาพ จบด้วยความตายหรือความหายนะของตัวละคร อันน่าสยดสยอง (เพราะอยู่ในยุคสงคราม) บิดาแห่งยุค-เอสคิลลัส (Aeschylus) ละครสุขอนาฏกรรมโรมัน - มีลักษณะคล้ายกันกับ ของกรีก เน้นเรื่องความสนุกสนานขบขัน ละครสุขอนาฏกรรมกรีก - บทละครมีโครงเรื่องที่ ตลกขบขัน เสียดสีสังคม มีลูกคู่ขับร้องท เต้นรำ ใช้ชายล้วน (หากเป็นนักแสดงจะยกเว้นการเกณฑ์ ทหาร) เพราะถือว่าผู้แสดงเป็นทูตถวไมตรี บิดาแห่งยุค-อริสโตฟาเนส (Aristophanes)

ละครยุคกลาง ละครศาสนา ละครที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา พัฒนามาจากการขับร้องเพลงในโบสถ์ 1.ละครพื้นบ้าน (Folk play) กล่าวถึงวีรกรรมของวีรบุรุษ ที่ผจญ จัดแสดงโดยสมาชิกของนักบวช ภัยต่อสู้ด้วยดวลดาบ มีการขับร้องเต้นรำ และนักร้องประสานเสียงในโบสถ์ เรื่องราวที่นิยมในสมัยนั้นเช่น โรบินฮูต เนื้อเรื่องนำมาจากพระคำภีร์ไบเบิล 2.ละครตลกชวนขำ (Farce play) เปลี่ยนภาษาพูดเป็นภาษาพื้นเมือง ได้รับความนิยมมากที่สุดของ ยกตัวอย่าง เช่น - คนเลี้ยงแกะ (second ยุค เพราะเป็นละครเสียดสีสังคม shepherd's play) ของเวคฟิลด์ ตรงกันข้ามกับละครศาสนา

ละครยุคฟื้นฟู อินเตอร์เมทซี ศิลปวิทยา โอเปร่า (Intermazzi) (Opera) เป็นการแสดงสลับฉาก มักเป็นเรื่องราวจาก เกิดขึ้นในประเทศอิตาลี ช่วงปลายศตวรรษ ตำนานกรีกและโรมัน เช่นการต่อสู้กับปีศาจทาง ที่ 16 โดยเป็นการนำดนตรี ขับร้อง การระบำ ทะเล มีการใช้ดนตรีและระบำประกอบ เข้ามารวมกันในรูปของละคร นิยมจัดฉาก หรูหรา

ละครยุคสมัยใหม่ ละครสัจนิยม แนวธรรมชาตินิยม ละครต่อต้านสัจธรรม (Naturalism) (Anti-realism) (Realism) คล้ายคลึงกับสัจจนิยม 1.ละครสัญลักษณนิยม (Symbolism) - เป็นละครที่พยายาม แต่จะเน้นเหตุและผลที่เรา เป็นละครที่ใช้วัตถุหรือการกระทำที่เป็น มองชีวิตเป็นกลาง และ สัมผัสได้จริงจากประสาท สัญลักษณ์ ซึ่งจะกระตุ้นและโยงความรู้สึก สะท้อนออกมาในรูปแบบ สัมผัสทั้ง5 นึกคิดของคนดูเข้ากับความเป็นจริง ของความเป็นจริง ไม่มี การปรุงแต่งให้บิดเบือน 3.ละครเพื่อสังคม 2.ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ (Expressionism) - เนื้อหา ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง (Theatre for Social เป็นละครที่เสนอความเป็นจริงตามความคิดของตัว ชีวิตประจำวันของผู้คน Action) - เป็นละครที่ ละคร มีลักษณะพิเศษที่สะท้อนความรู้สึกภายใน และไม่นิยมแต่เรื่องราว กระตุ้นความสำนึกทาง ของตัวละคร เน้นรูปลักษณะภายนอก สีสัน และ ตามประวัติศาสตร์ สังคม ให้ผู้คนประพฤติ ขนาดที่ผิดปกติไป ตัวดีในสาธารณะ

เกร็ดความรู้ เทพเจ้าไดโอนีซุส คอรัส (Chorus) (Dionysus) คือ กลุ่มนักร้อง นักเต้นระบำ ที่ประกวดร้องรำทำ คือ เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์ เพลงบวงสรวงเป็นหมู่ เรียกการแสดงนั้นว่า ดิธีแรมบ์ (Dithyramb)

อริสโตฟาเนส (Aristophanes) เอสคิลลัส (Aeschylus) นักแต่งละครผู้ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่ง นักแต่งละครผู้ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่ง ยุคโศกอนาฏกรรมกรีก ยุคสุขอนาฏกรรมกรีก

Romeo and Juliet ป็นละครโศกนาฏกรรมอันโด่งดังที่ประพันธ์โดย วิลเลียม เชกสเปียร์ แต่งในปี ค.ศ. 1595 ซึ่งเกิดขึ้นในยุคฟื้ นฟูคิลปวิทยา

1.สมัยน่านเจ้า. วิวัฒนาการละครไทย มีนิยายเรื่อง นามาโนห์รา เป็น นิยาย 2.สมัยสุโขทัย. ของพวกไต หรือคนไทย ใน สมยัน่าน รับวัฒนธรรมของอินเดีย ผสมผสานกับ วัฒนธรรม เจ้าที่มีปรากฏอยู่ก่อน หน้านีค้ื อการ ไทย มีการบัญญัติศัพท์ขึ้นใหม่ เพื่อใช้เรียก ศิลปะการ แสดงพวกระบำ แสดงของไทยว่า โขนละครฟ้อนรำ พบหลักฐาน เช่นระบำหมวก ระบำนกยุง การละครและฟ้อนรำ ปรากฏอยู่ในศิลาจาลึก ของพ่อขุนรามคำแหง กล่าวว่า “เมื่อจักเข้ามาเรียงกันแต่ อรัญญิก พู้นเท้าหัวลาน ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื้อน เสียงขับใครจัก มักเหล้น เหล้นใครจักมักหัว หัวใคร จักมักเลื้อน เลื้อน”

ละครในสมยัอยธุยาได้สูญหายไป สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี 3.สมัยอยุธยา หรือ ทรงรวบรวมศิลปิน บทละคร ที่เหลือมาทรงพระราช เดิมเล่นเป็นละครเร่จะแสดงตามพื้ นที่ว่าง นิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ 5ตอนได้แก่ โดยไม่ต้องมีโรงละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมา ได้มีการวิวัฒนาการ 1.ตอนอนมุานเกี้ยวนางวานริน เป็นละครรา เรียกว่า ละครใน ละครนอก โดยปรับปรุงรูปแบบ ให้มีการ 2.ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ แต่งการ ที่ประณีตงดงามมากขึ้น 3.ตอนทศกันฐ์ตั้งพิธีทรายกรด มีดนตรีและบทร้องและมีการสร้ างโรงแสดง 4.ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท 5.ตอนปล่อยม้าอุปการ -ละครในแสดงในพระราชวังใช้ผ้หูญิงล้วนห้ามไม่ให้ชาวบ้านเล่นเรื่องที่ ทรงฝึกซ้อม ด้วยพระองค์เองอีกด้วย นิยมมาแสดงมี 3 เรื่องคือ อิเหนา รามเกียรติ์ อณุรุท 4.สมัยธนบุรี - ละครนอก ชาวบ้านจะแสดง ใช้ผ้ชู ายล้วนดาเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว. สมยัสมเดจ็พระบรมราชาธิราชที่3เป็นสมยัที่โขนเจริญรุ่งเรื่องเป็นอย่าง มาก มีละครเรื่องใหญ่ๆ อยู่ 4 เรื่อง คือ อิเหนา รามเกียรต์ิ อณุรุท ดาหลัง

5.สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่1 : ฟื้ นฟูรวบรวมสิ่ง สูญหายให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น และรวบรวม ตำราการฟ้อนไว้เป็น ห ลั ก ฐ า น ที่ สำคัญ ที่ สุดใน พระองค์ทรงพัฒโขน โดยให้ผู้เเสดงเปิดหน้าและสวมมงกุฎ หรือชฏา ทรงพระราชนิพนธ์บท ละคร เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก รัชกาลที่2: การละครเจริญถึงขีดสุด - เปลี่ยนแปลงการแต่งกาย ให้เป็นการแต่งยืนเครื่อง แบบใน ละครใน - ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องอิเหนาซึ่งได้รับการยกย่อง จากวรรณคดสีโมสรว่าเป็นยอดของบทละครราคือแสดงได้ครบองค์5 พ.ศ.2511ยเูนสโกได้ถวายพระ เกียรติคุณแด่พระองค์ให้ในฐานะ บุคคลสำคัญที่มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมของโลก รัชกาลที่7: ประสบภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ให้โอนงานช่างกองวงันอกกองมหรสพไปอย่ใูน รัชกาลที่3: ยกเลิกละครหลวงพระบรมวงศานุวงศ์จึงพากันฝึกหัด โขนละครคณะละครที่มี สังกัดของกรมศิลปากรละครแนวใหม่เกิดขึ้นเรียกว่าละครเพลง หรือละครจันทโรภาส แบบแผน ในเชิงฝึกหัด และแสดงทางโขนละครถือเป็นแบบแผนในการ ปฏิบัติสืบต่อมาถึงปัจจุบัน รัชกาลที่4 :ฟื้ นฟูละครหลวงใหม่ อนุญาตให้ราษฎรฝึกละครในได้ รัชกาลที่8:เกิดละครเเบบใหม่ เรียกว่า ละครหลวงวิจิตรวาทการ รัชกาลที่5:ได้รับวัฒนธรรมจากตะวันตก ทำให้ศิลปะการแสดง เป็นละครที่มีแนวคิดปลุกใจให้รักชาติบางเรื่ องเป็นละครพู ด ละครได้มีวิวัฒนาการขึ้นอีกรูปแบบ เช่น เรื่องราชมนู เรื่องศึกถลาง เรื่องพระเจ้ากรุงธนบุรี เเละมีการกาเนิดละครดดึกดำบรรพ์ และละครพันทาง รัชกาลที่9:สืบทอด และ พัฒนาศิลปะการแสดงของ ชาติผ่านการเรียนการสอนใน ระดับการศึกษาทุกระดับ มี รูปแบบในการ แสดงละครไทยที่หลากหลาย ให้เลือกชม เช่น ละครเวที รัชกาลที่6: ในสมัยนี้เป็นสมัยที่โขนละครดนตรีปี่ พาทย์เจริญถึงขีดสุด ละครพดู ละครร้อง ละคร พระราชทาน บรรดาศักดิ์ให้แก่ศิลปินโขนที่มีฝีมือให้เป็นขนุนาง

การบรรยาย เป็ นการพูดหรือเขียนถึงสิ่งที่รับรู้ โครงเรื่อง พิจารณาตามเหตุการณ์ต่างๆใน ฉากองค์ประกอบสอดคล้องกับตัวละครที่สร้าง ละคร  การจบของเรื่องเหมาะสมหรือไม่ บรรยากาศที่เหมาะสมและเป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล ละครน่าสนใจชวนติดตามตลอดเรื่องหรือ หลักการวิจารณ์การแสดง ภาพที่เห็น ด้านองค์ประกอบการแสดง เครื่องแต่งกายการแต่งหน้าระบบเสียงเครื่อง ไม่ ประกอบการแสดงบนเวที หลักการประเมินคุณภาพ ด้านการแสดง ใช้บทเจรจาการกระทำซึ่งสอดคล้องกับบุคลิกลักษณะ ตัวละครบทบาทตัวละครการสร้างตัวละคร การชม วิจารณ์ การน่ าเสนอการแสดงต้องชัดเจนลักษณะการ ของตัวละครนั้น และประเมินการแสดง แสดงความงาม หลักการประเมินการแสดง ลีลาการแสดงถูกต้องตามแบบแผน-ดนตรีการขับ ร้องท่วงทํานองจังหวะของเพลงสอดคล้องสัมพันธ์ กัน แนวคิดความเป็ นแก่นของเรื่อง ผู้ประพันธ์ต้องมีแนวคิดว่าจะให้เรื่องนี้ดาเนินเป้าหมายอย่างไร  ศึกษาหาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการแสดงที่ชม-ศึกษาเอกสาร  แนวคิดของละครเช่นความบันเทิงสะท้อนปั ญหาชีวิต และข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับการแสดง-เมื่อจบการแสดงผู้ชมควร ปรบมือ-มีจิตใจผ่อนคลายมีสมาธิในการชมการแสดง ตัวละคร  เป็ นผู้สร้างและดำเนินเหตุการณ์ไปตามเรื่อง หลักการในการชม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook